สัมมาทิฎฐิเป็นไฉน( ไม่ธรรมดา )

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย ขันธ์, 5 มีนาคม 2009.

  1. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    ให้ผมช่วยตอบ ได้เปล่าหละ
     
  2. ธรรมะสวนัง

    ธรรมะสวนัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,305
    ค่าพลัง:
    +1,255
    55+ถ้าตอบเรื่องข้ามโคตร อันนี้คุณนิวรณ์ถนัดอยู่แล้วววว >_<

    [​IMG]
     
  3. แว๊ด

    แว๊ด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    982
    ค่าพลัง:
    +509
    ได้พี่ แต่เอาแบบ ไม่เยิ่นเย้อ เข้าใจง่ายนะ
     
  4. แว๊ด

    แว๊ด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    982
    ค่าพลัง:
    +509
    ใครเป็นคนป้อนข้อมูลในเครื่องคิดเลข ในเครื่องคอมฯ มนุษย์ไม่ใช่หรอ
     
  5. ๐นัท๐"เอหิปัสสิโก"

    ๐นัท๐"เอหิปัสสิโก" สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    223
    ค่าพลัง:
    +21
    <label for="rb_iconid_31">[​IMG]</label><label for="rb_iconid_31">[​IMG]</label><label for="rb_iconid_31">[​IMG]</label>
    สาธุ อนุโมทามิ...
     
  6. ธรรมะสวนัง

    ธรรมะสวนัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,305
    ค่าพลัง:
    +1,255
    เอ่อ ไม่ได้เข้ามาโต้แย้งที่ยกของหลวงพ่อพุธ มานะคะ
    ก็ยกอีกฝั่งนึงมาให้อ่าน เพื่อดุลยภาพ...กาลามสูตร >_<

    [​IMG] มโนมยิทธิ
    แปลความตามตัวอักษรได้ว่า มีฤทธิ์ทางใจ
    คือ การรู้ เห็น การสัมผัส ตามความเป็นจริงด้วยใจ

    หลักสูตร วิชชา
     
  7. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    อ๋อ..ท่านกัลญาณมิตรจะบอกว่า ต้องทำกินเอง ...แต่อย่างน้อยทำอาหารก็ต้องเอาให้เพื่อนหรือครูหรือคนอื่นชิมหน่อยจะได้รู้ว่ารสชาตินี้ได้เรื่องหรือยัง
     
  8. Phanudet

    Phanudet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    8,434
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +15,646
    สำหรับผมนั้น เซน เป็นอะไรที่หน้าศึกษาเหมือนกันนะครับ......ตอนนี้ทางยุโรป....ก็ให้การศึกษาทางด้านนี้มาก...เหมือนกัน....
     
  9. Phanudet

    Phanudet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    8,434
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +15,646
     
  10. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,181
    ยังไงก็ลองศึกษาดู อ่านดู แต่อย่าไปเชื่อเลย
    เพราะ พระไตรปิฎก ฉบับนี้ครบถ้วนแล้ว
    กับคัมภีร์ที่อยากให้อ่าน คือ วิสุทธิมรรค ของพระพุทธโฆษาจารย์ ผมอ่านของท่านแล้วไม่มีผิดเพี้ยนเช่นกัน

    แต่สำหรับ สูตรอื่นๆ เช่น วัชร และ ปารมิ นั้นเพี้ยนอยู่มาก


    สำหรับคำุถามที่ว่า พระไตรปิฎกไม่เพี้ยนเลยหรือ ตอบว่า ไม่เพี้ยนเลย เพราะพระอรหันต์เป็นผู้สังคยนาครับ การสังคยนาด้วยสติปัญญา และจิตที่ไม่ปรุงแต่งนั้นไม่มีทางที่จะเอาความไม่บริสุทธิ์ ใส่เข้าไปเลย


    จะคัมภีร์อะไรก็ตามควรเอา พระไตรปิฎกเป็นที่ตั้งในการอ้างอิง แล้วจะไม่ผิดทาง

    สำหรับ เรื่องท่านพระพุทธทาส เอาสุญญตา เกี่ยวกับ เซ็นมาแปล นั่นก็ไม่ผิดเป็นเรื่องดีอยู่แล้ว ซึ่งถ้าเป็นผมก็คงทำเช่นนั้น แต่ นั่นคือ การศึกษาที่ควรเลือกเอา
     
  11. แว๊ด

    แว๊ด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    982
    ค่าพลัง:
    +509
    หาซื้อได้ที่ไหนคะ อาจารย์
     
  12. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,181
    คัมภีร์ วิสุทธิมรรค ของพระพุทธโฆษาจารย์ นี้ ท่านเป็นพระอรหันต์ปฏิสัมภิทาญาณ
    บ้านเราเอาคัมภีร์นี้ บรรจุไว้ในหลักสูตรเปรียญ
    น่าจะมีขายอยู่ตาม ธรรมสภา

    ผมอ่านมานานมาก ยังไม่จบเลย เพราะอะไรรู้ไหมครับ เพราะว่า ในส่วนสุดท้ายนั้นเรียกว่า ปัญญานิเทสนั้น ปัญญาผมเข้าไม่ถึง เพราะยังไม่ผ่านปฏิเวธธรรมในส่วนนั้น

    ในส่วนของสมาธินิเทศ ท่านก็กล่าวไว้ครบบริบูรณ์ในกรรมฐาน 40 กอง
    ในส่วนปัญญานิเทส ท่านก็กล่าวไว้ครบถ้วน และชัดเจน

    ลองไปอ่านดู นั่นแหละเอาเป็นตัวอ้างอิงได้ แต่ อย่างไรการฝึกปฏิเวธธรรมก็ต้อง คอยหมั่นถามจึงจะปรับความเข้าใจ และภูมิรู้เราให้มากขึ้นไปได้
     
  13. แว๊ด

    แว๊ด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    982
    ค่าพลัง:
    +509
    ขอบคุณค่ะ ที่วัดอาจจะมีขาย จะไปลองหาดูค่ะ
     
  14. แว๊ด

    แว๊ด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    982
    ค่าพลัง:
    +509
  15. แว๊ด

    แว๊ด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    982
    ค่าพลัง:
    +509
    รับทราบขอรับ

    ถ้าหายไป ไปนั่งมุดอ่านคัมภีร์ นะขอรับ เจ้าคะ
     
  16. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,181
    ก็มาดูถึงเรื่องเซ็น เรื่องเซ็นนี้ ใครได้เข้าใจจะตื่นตาตื่นใจมาก จนถึงกับอุทานว่านี่แหละ ทางเลย เพราะอะไร เพราะว่าทัสนะของคนที่ได้แบบเซ็น นั้นเปลี่ยนไปแทบพลิกแผ่นดิน
    กล่าวคือ คำสอนของเซ็นนั้นแทงออกจากสมมติทุกประการ เพื่อให้ปัญญานั้นหลุดออกจากอวิชชาที่หุ้มอยู่

    ใครอยากสนทนาแบบเซ็น ก็ให้ทำใจให้วิมุตติให้มากที่สุด แล้วมองด้วยกลางสุดโต่ง อย่าจำนะ ต้องเอามาจากใจ เช่น

    ถ้าผมบอกว่า นิพพานต้องไปดำเนินการศีล สมาธิ ปัญญา แต่พวกเซ็นก็จะบอกว่าจะต้องไปเคลื่อนจิตทำไม ในเมื่อมันดีอยู่แล้ว

    ถ้าผมบอกว่า สมาธิต้องทำ เซ็นก็จะบอกว่า นั่นแหละ คือการนั่งหลับตาตัวแข็ง สมาธิที่ถูกจะต้อง ไม่ไหวไปและไม่หยุด

    หรือใครจะถามว่า แล้วต้องพิจารณาอย่างไร เซ็นก็จะบอกว่า ไปพิจารณาทำไมในเมื่อมันไม่มีอะไรให้พิจารณา

    ทีนี้ ปัญหาก็คือว่า ความลืมตัวของผุ้สอนเซ็นนั่นคือ แม้ทัสนะตนเองได้ แต่จิตอกุศลนั้นยังมีทางของมันอยู่มาก ข้อนี้ทำให้ แม้ว่าเราจะมีทัสนะแจ่มแจ้งเท่าไร ก็ห้ามใจตนเองไม่ได้หลายอย่าง นั่นแหละ ที่เรียกว่า สังโยชน์ัยังอยู่

    ตรงนี้ ใครสนใจจะศึกษาผมยินดีจะบอกทุกประการ
     
  17. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,181
    ธรรม จะเปรียบกับ ต้นไม้่คือ
    ทัสนะและอายตนะมันจะเป็นชั้นๆ

    ซึ่งความแข็งแกร่งของใจที่มีธรรมนี้อัศจรรย์ที่สุด คือ มันจะต้องสร้าง เพื่อให้สิ่งภายนอก หรือสมมติบัญญัติภายนอก ไม่มีทางวิ่งเข้าสู่ใจให้ใจนั้นถูกกระทบเลย

    ทีนี้ในส่วนภายนอกจะเป็นอย่างไรมันก็รับกันเฉพาะภายนอก แต่ภายในนี้ไม่สะเทือนไม่ได้รับ

    เช่นมีคนด่า มันด่าเรานี่ เราได้ยินเฉยๆ เข้าใจคำที่มันด่า แต่มันตกลงที่ภายนอกนั้น อาการเวทนานี้เข้าไม่ถึงใจ ถัดไปอีกชั้นคือ ไม่เข้ามาสู่สังขารธรรมภายในใจ ถัดมาอีกชั้นหนึ่งคือ ไม่ติดไม่หลงในใจ ในคำด่า เพราะฉะนั้นใจในส่วนลึกจะไม่ได้รับผลกระทบอะไรเลย

    ทีนี้ คนที่ไม่มีธรรมนี้ พอด่าปั๊บ เขาไปถึงสุดส่วนเลย ทั้งดิ้นทั้งร้อน ทั้งฝังจำสาระพัด

    และย้อนมาที่เซ็น เซ็นนี้ยังไม่เท่าทันเพราะในส่วนแต่ละส่วนนั้น เขายังไม่ได้ฝึกลึกเข้าไป จนเห็นแจ้งแทงตลอด ในด้านจิต ยังเป็นแค่ความคิด และสังขารในส่วนต้น อันเป็นเพียงทัสนะ

    เอาหละครับ เอาไว้ผมจะมาอธิบายให้ฟัง ในส่วนการหยุดสมมติ และ การหยุดให้อาหารอวิชชา อันจะทำให้ จิตใจเบิกบาน และ เที่ยง แทบจะตลอดเวลา
    ทุกข์หายไปกองเท่าภูเขา แล้วมันจะไปกลัวอะไรหละชีวิตนี้
     
  18. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    ตอบคุณแว็ด

    ได้คัมภีร์ไปแล้วนะ เรื่อง มรรค เรื่อง ผล แต่ผมขอตอบสั้นให้ฟัง

    จะสั้นเปล่า ยังไม่รู้นะ มันขึ้นกับนิ้วที่จิ้ม

    เวลาเราสนทนาธรรม คนถามมักเอา ผลมารายงาน คนตอบควรตอบ มรรค

    แต่ถ้าตอนนั้น คนถามอธิบายมรรคที่ตนปฏิบัติ คนตอบควรตอบเอื้อให้เห็นผล

    ตรงคำว่า ตอบเอื้อให้เห็นผล อันนี้สำคัญ คนที่สอนเป็นจะไม่ชี้ผลที่เกิดตามมรรค
    ของคนปฏิบัติที่ถามโดยตรง แต่จะตอบนำหน้าไปสักสองสามก้าว ทั้งนี้เป็นเพราะ
    คนปฏิบัตินั้นเห็นผลการปฏิบัติของตนอยู่แล้ว แต่ลังเลที่จะก้าวไปทางนั้น

    ดังนั้นคนตอบต้องตอบเอื้อ เพื่อให้เกิดมุมมองที่แยบคายของผู้ปฏิบัติ ที่จะก้าว
    ไปทางที่ตนเห็นด้วยตัวเอง พอก้าวไปก็จะเห็นสิ่งที่คนสอนได้กล่าว ก็จะจดจำ
    ทางของตนได้ แถมมีกำลังใจมากกว่า ที่จะชี้ให้ตรงๆ หรือ ชี้แล้วก็ไปด่าเขาหาก
    เขาไม่เห็นตาม

    เช่นเดียวกัน เวลา เราเอา ผลมาคุย คนตอบจะไม่ยืนยันว่าถูกหรือไม่ถูก แต่จะ
    ตอบเอื้อทางปฏิบัติขั้นถัดๆไปสักสองสามก้าวให้ เพื่อให้เล็งเห็นเองว่า ผลที่ปฏิบัติ
    ได้นั้นมีเหลี่ยมมุมอย่างไร ที่จะเดินไปในทางที่สดับมาได้ ก็จะทำให้ภูมิใจที่ผล
    การปฏิบัติมี และเติมเต็มทางปฏิบัติที่ขาดหายไปได้ และเป็นการตัดสินและเห็น
    ด้วยตัวเอง ซึ่งมีกุศลแรงกว่า

    * * *

    ดังนั้น คุณแว็ดก็ต้องดูบริบทของตนเองให้ดี ว่าตอนนี้ กำลัง ยก วิธีปฏิบัติมาถาม
    หรือ ยก ผลการปฏฺบัติมาให้ยืนยัน มันจะใกล้กันมาก แยกไม่ออก เพราะต้องพูด
    ไปพร้อมๆกันในบางประเด็น ดังนั้น ต้องเข้าใจจุดประสงค์ของการถาม และเข้า
    ใจจุดประสงค์ของผู้ตอบ วนๆ นั้นแหละ เป็นการเอื้อ

    แต่ วนๆ นี่ก็ทำให้ ตัดสินใจผิดได้ จึงขึ้นกับความกล้า และศรัทธา

    สายพระป่านี่ เขาไม่แนะเพียงก้าวสองก้าวนะ เขาจะแนะทีไป 10 ก้าว คำสอน
    จึงสั้นๆ แต่ต้องไปทำ ยาวววววววว
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 มีนาคม 2009
  19. แว๊ด

    แว๊ด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    982
    ค่าพลัง:
    +509
    เวลาเราสนทนาธรรม คนถามมักเอา ผลมารายงาน คนตอบควรตอบ มรรค

    คนถามเอาที่ปฏิบัติมาถาม แล้วตอบมรรคมันเป็นยังไง

    แต่ถ้าตอนนั้น คนถามอธิบายมรรคที่ตนปฏิบัติ คนตอบควรตอบเอื้อให้เห็นผล

    ตอนไหนถึงรู้ว่า ตอนถามอธิบายถึงมรรคที่กำลังปฏิบัติ เพราะยังไม่รู้เลยอะไรมรรค อะไรผล รู้แต่ว่าปฏิบัติแล้วมันเกิดอาการงี้ ๆ แค่นี้อะ

    * * *

    ดังนั้น คุณแว็ดก็ต้องดูบริบทของตนเองให้ดี ว่าตอนนี้ กำลัง ยก วิธีปฏิบัติมาถาม
    หรือ ยก ผลการปฏฺบัติมาให้ยืนยัน มันจะใกล้กันมาก แยกไม่ออก เพราะต้องพูด
    ไปพร้อมๆกันในบางประเด็น ดังนั้น ต้องเข้าใจจุดประสงค์ของการถาม และเข้า
    ใจจุดประสงค์ของผู้ตอบ วนๆ นั้นแหละ เป็นการเอื้อ

    อันนี้ทั้งสองอย่าง เพราะปฏิบัติแล้ว มันออกมางี้ ไม่รู้จะถามใคร เมื่อมีโอกาสแล้ว ก็บอกสิ่งที่ตัวเองเจอมา เขาเรียกสภาวะธรรมใช่ม๊ะ (เริ่มเก่งอีกหน่อยป่าวนี่ อิอิ) ถามให้แน่ใจ ยืนยันไปเลย ว่าตอนนี้เป็นไง ถึงไหนแล้ว เพราะคนรู้จริงมี แต่ก็ต้องพิจารณาเอา คิดแค่เนี้ยะอะ

    เข้าใจคำว่า ถามแบบลองภูมิ อยากลอง กับถามแบบไม่รู้ แล้วมันอยากรู้

    เป็นเช่นนี้นั่นแล

    แต่ก็ยังไม่เข้าใจ มรรค กับ ผล อยู่ดี
     
  20. แว๊ด

    แว๊ด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    982
    ค่าพลัง:
    +509
    อ้าว มนุษย์ไม่ได้เป็นคนทำเครื่องคิดเลขขึ้นมาเรอะ หรือว่ามันอยู่ ๆ ก็ผุดขึ้นมาเอง ขนาดจะทำอะไร ยังต้องสะสมการกระทำ เหมือนสั่งสมข้อมูล เพิ่งรู้นะนี่ ว่าเครื่องคิดเลขมันผุดขึ้นมาเองได้ เหอะ ๆ ๆ ๆ

    พูดอะไรก็พูดตรง ๆ ไม่ต้องกำกวม ประเภท พูดไม่ตรงรู้มาก พูดมาก อ้างอิงมากก็ไปนู่นไปคุยกับประเภทนู้น คนจริงก็พูดจริงๆ มาเลย จะอะไรก็ว่ามา ไม่ต้องทำอม เหมือนรู้มาก รู้เกิน รู้ ๆ ๆ แต่จริงๆ ตรูก็ไม่เห็นจะรู้อะไร ตรูไม่รู้ก็บอกไม่รู้ ไม่ใช่ประเภท ชอบอยากลอง อยากทดสอบ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 มีนาคม 2009

แชร์หน้านี้

Loading...