พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ยู่มู่ซานเฟิน : เข้าเนื้อไม้ลึกสามเฟิน
    China - Manager Online
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>21 ตุลาคม 2552 09:46 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> 入木三分

    (rù) อ่านว่า ยู่(รู่) แปลว่า เข้า
    (mù) อ่านว่า มู่ แปลว่า ไม้
    (sān) อ่านว่า ซาน แปลว่า สาม
    (fēn) อ่านว่า เฟิน เป็นหน่วยวัด โดย 1 เฟิน ยาวประมาณ 0.33 เซนติเมตร


    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=right border=0><TBODY><TR><TD width=5>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=196 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=196>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left><CENTER>ที่มา tupian.hudong.com</CENTER></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> หวังซีจือ คือนามของศิลปินพู่กันจีนผู้โด่งดังในสมัยราชวงศ์จิ้นตะวันออก พรสวรรค์ในด้านการเขียนอักษรของเขาปรากฏตั้งแต่เยาว์วัย

    เมื่อครั้งหวังซีจืออายุ 12 ขวบ เขาบังเอิญพบตำราการเขียนพู่กันจีนของบิดา จึงได้นำมาอ่านอย่างหลงไหล เมื่อผู้เป็นบิดามาพบก็กล่าวกับเขาว่า "เจ้ายังเด็กเกินไปที่จะอ่านตำราเล่มนี้ รอให้เจ้าเติบโตกว่านี้อีกนิด ข้าจะสอนเคล็ดลับการเขียนพู่กันจีนให้กับเจ้า"

    หวังซีจือตอบผู้เป็นบิดาว่า "หากตอนนี้ข้ายังไม่เข้าใจเรื่องราวในตำราเล่มนี้ เมื่อเติบโตขึ้นกลับมาอ่านจะมีประโยชน์อันใดเล่า" ผู้เป็นบิดารู้สึกว่าคำกล่าวของหวังซีจือมีเหตุผล จึงตัดสินใจสอนวิชาการเขียนพู่กันจีนที่สั่งสมมาหลายปีให้แก่บุตรชาย ตั้งแต่นั้นมา หวังซีจือก็เข้าสู่เส้นทางของพู่กันจีนอย่างถอนตัวไม่ขึ้น เขาเฝ้าศึกษาตำรามากมาย ฝึกหัดเขียนตัวอักษรโดยไม่หยุดหย่อน ไม่นานฝีมือของเขาก็พัฒนาเข้าสู่ขอบเขตของการเป็นศิลปิน

    ผลงานพู่กันจีนของหวังซีจือยิ่งมายิ่งได้รับการยอมรับจากผู้คน จนได้ชื่อว่าเป็น เทพแห่งอักษร บางรายเก็บรักษาผลงานของเขาเอาไว้ในแง่ของงานศิลปะ ต่อมาเขารับราชการตำแหน่งแม่ทัพฝ่ายขวา(โย่วจวิน) ผู้คนจึงพากันเรียกเขาอีกนามหนึ่งว่า หวังโย่วจวิน

    ครั้งหนึ่ง หวังซีจือพบเห็นหญิงชรายากจนผู้หนึ่งกำลังเร่ขายพัด แต่กลับไม่มีผู้ใดสนใจซื้อ เขาจึงเกิดความสงสารและบอกให้คนหาพู่กันและน้ำหมึกมา เมื่อได้มาแล้วจึงเขียนตัวอักษร 5 ตัวลงบนพัด เมื่อหญิงชราเห็นดังนั้นก็โวยวายขึ้นมาว่าพัดเลอะตัวอักษรเช่นนี้จะมีใครซื้อไปอีก ทว่าเมื่อนางเดินทางเข้ามายังเมืองหลวง ผู้คนที่ได้ยืนเรื่องราวนี้ต่างพากันยื้อแย่งกันซื้อพัดดังกล่าวในราคาสูงลิบลิ่วเลยทีเดียว

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=left border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=300 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left><CENTER>หนึ่งในผลงานเด่นของหวังซีจือ</CENTER></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> นอกจากนี้ ครั้งหนึ่งฮ่องเต้ทรงมีพระราชดำริให้จัดงานเฉลิมฉลองยังรอบวังหลวง และให้หวังซีจือเขียนคำอวยพรลงบนป้ายอวยพร ภายหลังเนื่องจากต้องการเปลี่ยนแปลงคำอวยพร ช่างประดับป้ายจึงได้ปลดป้ายที่แขวนไว้เพื่อนำลงมาแก้ไข แต่ที่สร้างความประหลาดใจก็คือตัวอักษรทุกตัวที่หวังซีจือใช้พู่กันจารรึกลงบนแผ่นป้ายนั้นกลับเป็นรอยสลักฝังลึกลงบนเนื้อไม้ถึง 3 เฟิน ราวกับใช้มีดแกะสลักก็ไม่ปาน ผู้คนที่ได้ทราบข่าวต่างพากันยกย่องในฝีมือของศิลปินท่านนี้

    ตำนานดังกล่าวแม้ว่าจะแฝงความเกินจริง แต่ก็เป็นการพรรณาถึงฝีมือการเขียนพู่กันจีนอันแข็งแกร่งของหวังซีจือได้อย่างเห็นภาพ

    สำนวน "ยู่มู่ซานเฟิน" หรือ "เข้าเนื้อไม้ลึกสามเฟิน" นอกจากใช้เพื่อชื่นชมฝีมือการเขียนพู่กันจีนแล้ว ในภายหลังยังใช้เพื่อเปรียบเปรยกับผู้ที่มีความคิดล้ำลึก หรือ วิเคราะห์ แยกแยะประเด็นปัญหาต่างๆ ได้อย่างชัดเจน แจ่มแจ้ง

    สำนวนนี้ใช้ในตำแหน่งภาคแสดง(谓语) ส่วนขยายนาม(定语) ส่วนขยายภาคแสดง(状语) หรือ ส่วนเสริมภาคแสดง(补语)
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. Phocharoen

    Phocharoen เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    109
    ค่าพลัง:
    +225
    อย่าหัก เลยครับ หรือหักแล้ว ผมขอเอากลับมาบูชา แทนการทิ้งแม่น้ำนะครับ...
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ผมมีเยอะครับ

    ในบางรุ่น ท่านประธานชมรมก็มีเยอะครับ

    เจตนาผมจะให้แก๊งค์บัวใต้น้ำปรามาสองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า 2 พระองค์ คือ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนาม กุกกุสันโธ (ซึ่งพระองค์ท่านมีพระเมตตาอธิษฐานจิตพระสมเด็จ top of the top) และ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนาม สมณโคดม (ซึ่งพระองค์ท่านมีพระเมตตาอธิษฐานจิตพระสมเด็จ top of the top 4) และให้ปรามาสพระอรหันต์ (องค์หลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดร (หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า) ) และให้ปรามาสพระโพธิสัตว์ (สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี)

    เก็บครั้งเดียวให้เบ็ดเสร็จเด็ดขาดกันไป

    .
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    และย้ำว่า พระที่ผมจะนำมานั้น มีการสร้างขึ้นก่อน ปี พ.ศ.2415

    (ส่วนพระพิมพ์ที่ผมจะนำไป ผมจะนำไป 4 องค์
    1.พระสมเด็จ top of the top
    2.พระสมเด็จ top of the top 4
    3.พระสมเด็จ (เนื้อปัญจสิริ)
    4.พระสมเด็จ (เนื้อเจ้าคุณกรมท่า) )

    มาอธิบายเพิ่มเติม
    1.พระสมเด็จ top of the top
    มีการสร้างขึ้นก่อน ปี พ.ศ.2415 สร้างที่วังหน้า นำเข้าพระราชพิธีพุทธาภิเษกหลวงที่วัดบวรสถานสุทธาวาส ผู้สร้างคือ ช่างสิบหมู่แห่งวังหน้า สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ท่านขอพระเมตตาองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนาม กุกกุสันโธ และ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนาม กุกกุสันโธ มีพระเมตตาอธิษฐานจิต

    2.พระสมเด็จ top of the top 4
    มีการสร้างขึ้นก่อน ปี พ.ศ.2415 สร้างที่วังหน้า นำเข้าพระราชพิธีพุทธาภิเษกหลวงที่วัดบวรสถานสุทธาวาส ผู้สร้างคือ ช่างสิบหมู่แห่งวังหน้า สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ท่านขอพระเมตตาองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนาม สมณโคดม และ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนาม สมณโคดม มีพระเมตตาอธิษฐานจิต

    3.พระสมเด็จ (เนื้อปัญจสิริ)
    มีการสร้างขึ้นก่อน ปี พ.ศ.2415 สร้างที่วังหน้า นำเข้าพระราชพิธีพุทธาภิเษกหลวงที่วัดบวรสถานสุทธาวาส ผู้สร้างคือ ช่างสิบหมู่แห่งวังหน้า หลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า และสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี อธิษฐานจิต

    4.พระสมเด็จ (เนื้อเจ้าคุณกรมท่า)
    มีการสร้างขึ้นก่อน ปี พ.ศ.2415 สร้างที่วังหน้า นำเข้าพระราชพิธีพุทธาภิเษกหลวงที่วัดบวรสถานสุทธาวาส ผู้สร้างคือ ช่างสิบหมู่แห่งวังหน้า หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า และสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี อธิษฐานจิต
     
  5. แหน่ง

    แหน่ง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    741
    ค่าพลัง:
    +768
    <TABLE class=tborder border=0 cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%"><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 6 คน ( เป็นสมาชิก 3 คน และ บุคคลทั่วไป 3 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"><CENTER">[ แนะนำเรื่องเด่น ] </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>แหน่ง, sithiphong+, Phocharoen </TD></TR></TBODY></TABLE>
    หวัดดีตอนเช้าครับ
    ทานข้าวเช้าหรือยังครับ
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    แต่ถ้าอยู่ถึงเชียงราย เชียงใหม่ ผมเพิ่มเติมเงินค่ารถค่าเสียเวลาให้ ผมให้คนละ 10,000 บาท

    รีบหน่อยนะครับ อย่าช้า ง่ายๆ ทำตามกติกาที่ผมบอก รับเงินไปได้เลย

    .
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    สวัสดีครับ

    ในวันงาน สมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า มีสิทธิพิเศษเสมอนะครับ ห้ามพลาด เพราะหากพลาด กว่าจะแจกแบบนี้อีกก็อีกนาน กว่าจะมอบพระให้ร่วมทำบุญแบบนี้ก็อีกนานแถมการมอบพระให้ร่วมทำบุญก็คงต้องทำบุญเพิ่มมากขึ้นอีกครับ

    .
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    วันปิยมหาราช

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา

    <!-- start content -->
    [​IMG]

    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว


    วันปิยมหาราช ตรงกับวันที่ 23 ตุลาคม ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงเป็นที่รักใคร่อย่างล้นเหลือของพสกนิกรทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ พระองค์จึงได้รับการถวายพระราชสมัญญานามว่า "สมเด็จพระปิยมหาราช" ซึ่งมีความหมายว่า "พระมหากษัตริย์ที่ทรงเป็นที่รักยิ่งของปวงชน" ด้วยความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ รัฐบาลจึงได้ประกาศให้วันที่ 23 ตุลาคม เป็น "วันปิยมหาราช"
    ในวันปิยมหาราช พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ จะเสด็จฯ ไปวางพวงมาลา ณ พระบรมรูปทรงม้า ซึ่งตั้งอยู่ที่หน้า พระที่นั่งอนันตสมาคม เป็นประจำทุกปี

    กิจกรรม

    ในวันนี้ของทุกปี นิสิตของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะใส่ชุดพิธีการเพื่อเข้าถวายบังคมพระบรมราชานุสรณ์รัชกาลที่ 5 โดยมีวงโยธวาทิต โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CUDMB) เป็นผู้นำขบวน นอกจากนั้นยังมีวงโยธวาทิตของโรงเรียนอื่นๆ หน่วยราชการ พ่อค้า ประชาชน จากทั่วประเทศ จะนำพวงมาลา หรือพุ่มดอกไม้ไปถวายสักการะ พร้อมทั้ง ทำบุญตักบาตร เพื่ออุทิศเป็นพระราชกุศล นอกจากนี้ ยังมีการจัดสัมนาทางวิชาการเพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชประวัติ และพระราชกรณียกิจของรัชกาลที่ 5 อีกด้วย

    [​IMG]

    นิสิตจุฬาฯถวายบังคมวันปิยมหาราช


    [​IMG]

    วงโยธวาทิต โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


    อ้างอิง

    <TABLE style="CLEAR: both; BORDER-RIGHT: #90a0b0 1px solid; BORDER-TOP: #90a0b0 1px solid; FONT-SIZE: 90%; BACKGROUND: #fcfcfc; MARGIN: 10px 0px 0px; BORDER-LEFT: #90a0b0 1px solid; WIDTH: 100%; BORDER-BOTTOM: #90a0b0 1px solid" cellSpacing=0 cellPadding=3><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=40></TD><TD style="COLOR: #696969" align=left>วันปิยมหาราช เป็นบทความเกี่ยวกับ ปี เดือน วัน ศตวรรษ หรือช่วงเวลาต่าง ๆ ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหาหรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น
    <SMALL>ข้อมูลเกี่ยวกับ วันปิยมหาราช ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ</SMALL>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><!-- NewPP limit reportPreprocessor node count: 40/1000000Post-expand include size: 4110/2048000 bytesTemplate argument size: 333/2048000 bytesExpensive parser function count: 0/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:53966-0!1!0!!th!2 and timestamp 20091019213758 -->ดึงข้อมูลจาก "วันปิยมหาราช - วิกิพีเดีย".
    หมวดหมู่: วันสำคัญของไทย | บทความเกี่ยวกับ วันเดือนปี ที่ยังไม่สมบูรณ์
    หมวดหมู่ที่ซ่อนอยู่: บทความที่รอการตรวจสอบรูปแบบ
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา

    <!-- start content -->[​IMG]
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว



    <TABLE style="TABLE-LAYOUT: auto; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>พระบรมนามาภิไธย</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าชายจุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพมหามงกุฎ บุรุษยรัตนราชวรวิวงศ์วรุตมพงศบริพัตร สิริวัฒนราชกุมาร</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>ราชวงศ์</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>ราชวงศ์จักรี</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>ครองราชย์</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>1 ตุลาคม พ.ศ. 2411</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>ระยะครองราชย์</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>42 ปี</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>รัชกาลก่อนหน้า</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>รัชกาลถัดไป</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>วัดประจำรัชกาล</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม</TD></TR></TBODY></TABLE>


    ข้อมูลส่วนพระองค์[ซ่อน]



    <TABLE style="TABLE-LAYOUT: auto; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>พระราชสมภพ</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>20 กันยายน พ.ศ. 2396

    วันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู



    </TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>สวรรคต</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>23 ตุลาคม พ.ศ. 2453
    รวมพระชนมพรรษา 58 พรรษา




    </TD></TR></TBODY></TABLE>​

    <TABLE style="TABLE-LAYOUT: auto; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>พระราชบิดา</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>พระราชมารดา</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>สมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>พระมเหสี</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4>พระราชโอรส/ธิดา</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9>77 พระองค์</TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE style="TABLE-LAYOUT: auto; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=246><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top noWrap width=93 bgColor=#f3f3f4></TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 3px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" vAlign=top bgColor=#f9f9f9></TD></TR></TBODY></TABLE>








    พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ฯ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระพุทธเจ้าหลวง ทรงเป็นรัชกาลที่ 5 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ พระบรมราชสมภพเมื่อ วันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู 20 กันยายน พ.ศ. 2396 เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 9 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นที่ 1 ในสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์ เสวยราชสมบัติ เมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 11 ขึ้น 15 ค่ำ ปีมะโรง (พ.ศ. 2411) รวมสิริดำรงราชสมบัติ 42 ปี เสด็จสวรรคต เมื่อวันเสาร์ เดือน 11 แรม 4 ค่ำ ปีจอ (23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) ด้วยโรคพระวักกะ รวมพระชนมพรรษา 58 พรรษา
    พระองค์ทรงปกครองอาณาประชาราษฎร ให้ร่มเย็นเป็นสุข ทรงโปรดการเสด็จประพาสต้น เพื่อให้ได้ทรงทราบถึงความเป็นอยู่ที่แท้จริงของราษฎร ทรงสนพระทัยในวิชาความรู้ และวิทยาการแขนงต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง และนำมาใช้บริหารประเทศให้ เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็ว พระองค์จึงได้รับถวายพระราชสมัญญานามว่า สมเด็จพระปิยมหาราช และมีความหมายว่า พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นที่รักยิ่งของปวงชน



    <TABLE class=toc id=toc><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>[แก้] พระราชประวัติ

    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2396 เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่กรมสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์ (ต่อมาภายหลังในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้มีการเปลี่ยนแปลงพระนามเจ้านายฝ่ายในให้ถูกต้องชัดเจนตามโบราณราชประเพณีนิยมยุคถัดมาเป็น สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี) ได้รับพระราชทานนามว่า สมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพมหามงกุฎ บุรุษยรัตนราชรวิวงศ์วรุตมพงศบริพัตร สิริวัฒนราชกุมาร
    พระองค์ทรงมีพระขนิษฐาและพระอนุชารวม 3 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทรมณฑล กรมหลวงวิสุทธิกระษัตริย์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ และ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช
    วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2404 สมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฬาลงกรณ์ ได้รับการสถาปนาให้ขึ้นทรงกรมเป็น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมหมื่นพิฆเนศวรสุรสังกาศ <SUP class=reference id=cite_ref-0>[1]</SUP> และเมื่อ พ.ศ. 2409 พระองค์ทรงผนวชตามราชประเพณี ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ภายหลังจากการทรงผนวช พระองค์ได้รับการเฉลิมพระนามาภิไธยขึ้นเป็น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิตประชานาถ เมื่อปี พ.ศ. 2410 โดยทรงกำกับราชการกรมมหาดเล็ก กรมพระคลังมหาสมบัติ และกรมทหารบกวังหน้า <SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.AB.E0.B8.99.E0.B8.B1.E0.B8.87.E0.B8.AA.E0.B8.B7.E0.B8.AD_1-0>[2]</SUP>
    วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตภายหลังทรงเสด็จออกทอดพระเนตรสุริยุปราคา โดยก่อนที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจะสวรรคตนั้น ได้มีพระราชหัตถเลขาไว้ว่า "พระราชดำริทรงเห็นว่า เจ้านายซึ่งจะสืบพระราชวงศ์ต่อไปภายหน้า พระเจ้าน้องยาเธอก็ได้ พระเจ้าลูกยาเธอก็ได้ พระเจ้าหลานเธอก็ได้ ให้ท่านผู้หลักผู้ใหญ่ปรึกษากันจงพร้อม สุดแล้วแต่จะเห็นดีพร้อมกันเถิด ท่านผู้ใดมีปรีชาควรจะรักษาแผ่นดินได้ก็ให้เลือกดูตามสมควร" ดังนั้น เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเสด็จสวรคต จึงได้มีการประชุมปรึกษาเรื่องการถวายสิริราชสมบัติแด่พระเจ้าแผ่นดินพระองค์ใหม่ ซึ่งในที่ประชุมนั้นประกอบด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ และพระสงฆ์ โดยพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงเทเวศร์วัชรินทร์ ได้เสนอสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิตประชานาถ พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดิน ซึ่งที่ประชุมนั้นมีความเห็นพ้องเป็นเอกฉันท์ ดังนั้น พระองค์จึงได้รับการทูลเชิญให้ขึ้นครองราชสมบัติต่อจากสมเด็จพระราชบิดา <SUP class=reference id=cite_ref-2>[3]</SUP> โดยในขณะนั้น ทรงมีพระชนมายุเพียง 15 พรรษา ดังนั้น จึงได้แต่งตั้งเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ จนกว่าพระองค์จะทรงมีพระชนมพรรษครบ 20 พรรษา โดยทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งแรก เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 โดยได้รับการเฉลิมพระปรมาภิไธยว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ฯ พระจุฬาลงกรณ์เกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีพระนามตามจารึกในพระสุบรรณบัฎว่า<SUP class=reference id=cite_ref-.E0.B8.AB.E0.B8.99.E0.B8.B1.E0.B8.87.E0.B8.AA.E0.B8.B7.E0.B8.AD_1-1>[2]</SUP>
    "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพยมหามงกุฏ บุรุษรัตนราชรวิวงศ วรุตมพงศบริพัตร วรขัติยราชนิกโรดม จาตุรันบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาติสังสุทธเคราะหณี จักรีบรมนาถ อดิศวรราชรามวรังกูร สุภาธิการรังสฤษดิ์ ธัญลักษณวิจิตรโสภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางคประนตบาทบงกชยุคล ประสิทธิสรรพศุภผลอุดม บรมสุขุมมาลย์ ทิพยเทพาวตารไพศาลเกียรติคุณอดุลยวิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ์ วิสิษฐศักดิ์สมญาพินิตประชานาถ เปรมกระมลขัติยราชประยูร มูลมุขราชดิลก มหาปริวารนายกอนันต มหันตวรฤทธิเดช สรรพวิเศษสิรินทร อเนกชนนิกรสโมสรสมมติ ประสิทธิ์วรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปดลเศวตฉัตราดิฉัตร สิริรัตโนปลักษณมหาบรมราชาภิเษกาภิลิต สรรพทศทิศวิชิตชัย สกลมไหสวริยมหาสวามินทร์ มเหศวรมหินทร มหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติอาชาวศรัย พุทธาทิไตยรัตนสรณารักษ์ อดุลยศักดิ์อรรคนเรศราธิบดี เมตตากรุณาสีตลหฤทัย อโนปมัยบุญการสกลไพศาล มหารัษฎาธิบดินทร ปรมินทรธรรมิกหาราชาธิราช บรมนาถบพิตร พระจุฬาลงกรณ์เกล้าเจ้าอยู่หัว"​

    ในขณะที่กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. ๑๒๗ ปรากฏพระปรมาภิไธยต่างออกไปเล็กน้อย ดังนี้<SUP class=reference id=cite_ref-3>[4]</SUP>
    "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพยมหามงกุฏ บุรุษยรัตนราชรวิวงศ์ วรุตมพงศบริพัตร วรขัติยราชนิกโรดม จาตุรันตบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาติสังสุทธเคราะหณี จักรีบรมนาถ มหามงกุฎราชวรางกูร สุจริตมูลสุสาธิต อรรคอุกฤษฏไพบูลย์ บุรพาดูลย์กฤษฎาภินิหาร สุภาธิการรังสฤษดิ์ ธัญลักษณวิจิตร โสภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางคประณต บาทบงกชยุคล ประสิทธิสรรพศุภผลอุดมบรมสุขุมมาลย์ ทิพยเทพาวตารไพศาลเกียรติคุณอดุลยพิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ์ วิสิษฐศักดิ์สมญาพินิตประชานาถ เปรมกระมลขัติยราชประยูร มูลมุขมาตยาภิรมย์ อุดมเดชาธิการ บริบูรณ์คุณสารสยามาทินครวรุตเมกราชดิลก มหาปริวารนายกอนันต์มหันตวรฤทธิเดช สรรพวิเศษสิรินธร อเนกชนนิกรสโมสรสมมติ ประสิทธิ์วรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปฎลเศวตฉัตราดิฉัตร สิริรัตโนปลักษณมหาบรมราชาภิเษกาภิลิต สรรพทศทิศวิชิตชัย สกลมไหศวริยมหาสวามินทร์ มเหศวรมหินทรมหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติอาชาวศรัย พุทธาทิไตรรัตนสรณารักษ์ อดุลยศักดิ์อรรคนเรศราธิบดี เมตตากรุณาสีตลหฤทัย อโนปมัยบุญการ สกลไพศาลมหารัษฎาธิบดินทร ปรมินทรธรรมิกหาราชาธิราช บรมนาถบพิตร พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว"
    เมื่อพระองค์ทรงมีพระชนมายุครบ 20 พรรษา จึงทรงลาผนวชเป็นพระภิกษุ และได้มีการจัดพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งที่ 2 ขึ้น เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2416 โดยได้รับการเฉลิมพระปรมาภิไธยในครั้งนี้ว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ฯ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีพระนามตามจารึกในพระสุบรรณบัฎว่า
    "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพยมหามงกุฏ บุรุษรัตนราช รวิวงศ วรุตมพงศบริพัตร วรขัติยราชนิกโรดม จาตุรันตบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาติสังสุทธเคราะหณี จักรีบรมนาถ อดิศวรราชรามวรังกูร สุจริตมูลสุสาธิต อรรคอุกฤษฏไพบูลย์ บุรพาดูลย์กฤษฎาภินิหาร สุภาธิการรังสฤษดิ์ ธัญลักษณวิจิตรโสภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางคประณต บาทบงกชยุคล ประสิทธิสรรพศุภผลอุดมบรมสุขุมมาลย์ ทิพยเทพาวตารไพศาลเกียรติคุณอดุลยพิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ์ วิสิษฐศักดิ์สมญาพินิตประชานาถ เปรมกระมลขัติยราชประยูร มูลมุขมาตยาภิรมย์ อุดมเดชาธิการ บริบูรณ์คุณสารสยามาทินครวรุตเมกราชดิลก มหาปริวารนายกอนันต์ มหันตวรฤทธิเดช สรรวิเศษสิรินทร อเนกชนนิกรสโมสรสมมติ ประสิทธิ์วรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปดลเศวตฉัตราดิฉัตร สิริรัตโนปลักษณมหาบรมราชาภิเษกาภิลิต สรรพทศทิศวิชิตชัย สกลมไหศวริยมหาสวามินทร์ มเหศวรมหินทรมหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติอาชาวศรัย พุทธาทิไตรรัตนสรณารักษ์ อดุลยศักดิ์อรรคนเรศราธิบดี เมตตากรุณาสีตลหฤทัย อโนปมัยบุญการ สกลไพศาลมหารัษฎาธิบดินทร ปรมินทรธรรมิกหาราชาธิราช บรมนาถบพิตร พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว"
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตด้วยโรคพระวักกะ เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 เวลา 2.45 นาฬิกา รวมพระชนมายุได้ 58 พรรษา <SUP class=reference id=cite_ref-4>[5]</SUP>
    <SUP></SUP>
    [แก้] พระราชลัญจกรประจำพระองค์

    [​IMG]
    พระราชลัญจกรประจำรัชกาลที่ 5


    พระราชลัญจกรประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัว เป็นตรางา ลักษณะกลมรี กว้าง 5.5 ซ.ม. ยาว 6.8 ซ.ม. โดยมีตรา พระเกี้ยว หรือ พระจุลมงกุฏ ซึ่งประดิษฐานบนพานแว่นฟ้า 2 ชั้น มีฉัตรบริวารตั้งขนาบทั้ง 2 ข้าง ถัดออกไปจะมีพานแว่นฟ้า 2 ชั้น ทางด้านซ้ายวางสมุดตำรา และทางด้านขวาวางพระแว่นสุริยกานต์เพชร โดยพระราชลัญจกรของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้นเป็นการเจริญรอยจำลองมาจากพระราชลัญจกรของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    การสร้างพระลัญจกรประจำพระองค์นั้น จะใช้แนวคิดจากพระบรมนามาภิไธยก่อนทรงราชย์ นั่นคือ "จุฬาลงกรณ์" ซึ่งแปลว่า เครื่องประดับศีรษะ หรือ จุลมงกุฎ ดังนั้น จึงเลือกใช้ พระเกี้ยว หรือ จุลมงกุฎ มาใช้เป็นพระราชลัญจกรประจำพระองค์ <SUP class=reference id=cite_ref-5>[6]</SUP> <SUP class=reference id=cite_ref-6>[7]</SUP>
    <SUP></SUP>
    [แก้] พระมเหสี พระราชินี เจ้าจอม พระราชโอรส และ พระราชธิดา




    <DL><DD>ดูบทความหลักที่ พระมเหสี เจ้าจอม พระราชโอรส และ พระราชธิดา ในพระพุทธเจ้าหลวง



    </DD></DL>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระมเหสี และ เจ้าจอม รวมทั้งหมด 92 พระองค์ โดย 36 พระองค์มีพระราชโอรส-ธิดา อีก 56 พระองค์ไม่มี และพระองค์ทรงมีพระราชโอรส-ธิดา รวมทั้งสิ้น 77 พระองค์


    [แก้] พระราชกรณียกิจที่สำคัญ




    <DL><DD>ดูบทความหลักที่ เหตุการณ์สำคัญในรัชกาลที่ 5



    </DD></DL>พระราชกรณียกิจที่สำคัญของรัชกาลที่ 5 ได้แก่ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีเลิกทาส การป้องกันการเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส และจักรวรรดิอังกฤษ ได้มีการประกาศออกมาให้มีการนับถือศาสนาโดยอิสระในประเทศ โดยบุคคลศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลามสามารถปฏิบัติการในศาสนาได้อย่างอิสระ นอกจากนี้ได้มีมีการนำระบบจากทางยุโรปมาใช้ในประเทศไทย ได้แก่ระบบการใช้ธนบัตรและเหรียญบาท ใช้ระบบเขตการปกครองใหม่ เช่น มณฑลเทศาภิบาล จังหวัดและอำเภอ และได้มีการสร้างรถไฟ สายแรก คือ กรุงเทพฯ ถึง เมืองนครราชสีมา ลงวันที่ 1 มีนาคม ร.ศ.109 ซึ่งตรงกับ พุทธศักราช 2433 นอกจากนี้ได้มีงานพระราชนิพนธ์ ที่สำคัญ


    [แก้] การเสียดินแดน




    <DL><DD>ดูบทความหลักที่ การเสียดินแดนของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์



    </DD></DL>[​IMG]
    ภาพการรบระหว่างไทย-ฝรั่งเศส ในวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 ที่ปากน้ำเมืองสมุทรปราการ ซึ่งนำไปสู่การเสียดินแดนของไทยให้แก่ฝรั่งเศสเป็นจำนวนมาก


    [​IMG]
    พระบรมราชนุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ป้อมพระจุลจอมเกล้า ปากน้ำเมืองสมุทรปราการ


    [แก้] การเสียดินแดนให้ฝรั่งเศส

    รวมแล้วในคราวนี้ ไทยเสียเนื้อที่ประมาณ 66,555 ตารางกิโลเมตร
    [แก้] การเสียดินแดนให้อังกฤษ

    [แก้] พระราชนิพนธ์




    ทรงมีพระราชนิพนธ์ ทั้งหมด 10 เรื่อง<SUP class=reference id=cite_ref-7>[8]</SUP>
    [แก้] ราชตระกูล




    <CENTER><TABLE class=wikitable><CAPTION>พระราชตระกูลในสามรุ่นของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</CAPTION><TBODY><TR><TD align=middle rowSpan=8>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว



    </TD><TD align=middle rowSpan=4>พระชนก:
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว


    </TD><TD align=middle rowSpan=2>พระอัยกาฝ่ายพระชนก:
    พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย


    </TD><TD align=middle>พระปัยกาฝ่ายพระชนก:
    พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก


    </TD></TR><TR><TD align=middle>พระปัยยิกาฝ่ายพระชนก:
    สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี


    </TD></TR><TR><TD align=middle rowSpan=2>พระอัยยิกาฝ่ายพระชนก:
    สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี


    </TD><TD align=middle>พระปัยกาฝ่ายพระชนก:
    เจ้าขรัวเงิน


    </TD></TR><TR><TD align=middle>พระปัยยิกาฝ่ายพระชนก:
    สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์


    </TD></TR><TR><TD align=middle rowSpan=4>พระชนนี:
    สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี


    </TD><TD align=middle rowSpan=2>พระอัยกาฝ่ายพระชนนี:
    สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์
    กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์



    </TD><TD align=middle>พระปัยกาฝ่ายพระชนนี:
    พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว


    </TD></TR><TR><TD align=middle>พระปัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
    เจ้าจอมมารดาทรัพย์


    </TD></TR><TR><TD align=middle rowSpan=2>พระอัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
    พระชนนีน้อย


    </TD><TD align=middle>พระปัยกาฝ่ายพระชนนี:
    ไม่ทราบ


    </TD></TR><TR><TD align=middle>พระปัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
    คุณม่วง


    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>[แก้] อ้างอิง




    1. <LI id=cite_note-0>^ จิรวัฒน์ อุตตมะกุล, สมเด็จพระภรรยาเจ้าและสมเด็จเจ้าฟ้าในรัชกาลที่ 5, สำนักพิมพ์มติชน, 2546 ISBN 974-322-964-7 <LI id=cite_note-.E0.B8.AB.E0.B8.99.E0.B8.B1.E0.B8.87.E0.B8.AA.E0.B8.B7.E0.B8.AD-1>^ <SUP>2.0</SUP> <SUP>2.1</SUP> วุฒิชัย มูลศิลป์ และคณะ, พระมหากษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์, อัลฟ่า มิเล็นเนียม, ISBN 974-91048-5-4 <LI id=cite_note-2>^ แน่งน้อย ศักดิ์ศรี, หม่อมราชวงศ์, พระอภิเนาว์นิเวศน์ พระราชนิเวศน์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, สำนักพิมพ์มติชน, 2549 ISBN 974-323-641-4 <LI id=cite_note-3>^ ประมวลกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. ๑๒๗ <LI id=cite_note-4>^ ราชกิจจานุเบกษา, ข่าวสวรรคต พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, เล่ม 27, ตอน 0ง, 30 ตุลาคม พ.ศ. 2453, หน้า 1782 <LI id=cite_note-5>^ ตราราชวงศ์จักรี และพระราชลัญจกร ประจำพระมหากษัตริย์ในรัชกาลต่าง ๆ จากเว็บไซต์ บ้านฝันดอตคอม <LI id=cite_note-6>^ สนเทศน่ารู้ : พระราชลัญจกรประจำรัชกาล, สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยรามคำแหง
    2. ^ พระปิยมหาราช ทรงเป็นกวีเอก อีกพระองค์หนึ่ง ชึ่งมีผลงานพระราชนิพนธ์ ทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง
    [แก้] ดูเพิ่ม

    [แก้] แหล่งข้อมูลอื่น

    <TABLE class=wikitable style="BORDER-RIGHT: #aaa 1px solid; BORDER-TOP: #aaa 1px solid; FONT-SIZE: 95%; MARGIN: 0px auto; BORDER-LEFT: #aaa 1px solid; WIDTH: 80%; BORDER-BOTTOM: #aaa 1px solid; BORDER-COLLAPSE: collapse; BACKGROUND-COLOR: #f7f8ff"><TBODY><TR><TH>สมัยก่อนหน้า</TH><TH></TH><TH>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TH><TH></TH><TH>สมัยถัดไป</TH></TR><TR style="VERTICAL-ALIGN: middle; TEXT-ALIGN: center"><TD style="WIDTH: 26%; BACKGROUND-COLOR: #ffcc00">พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD style="WIDTH: 4%"></TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.5em; WIDTH: 40%; PADDING-TOP: 0.5em">
    พระมหากษัตริย์ไทย
    (ราชวงศ์จักรี)
    (พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2453)


    </TD><TD style="WIDTH: 4%"></TD><TD style="WIDTH: 26%; BACKGROUND-COLOR: #ffcc00">พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD></TR></TBODY></TABLE>


    <TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable0 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title colSpan=2>[แสดง]








    </TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">ทวีปเอเชีย</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">พระเจ้าพรหมมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนเม็งรายมหาราชสมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระเจ้าเซจงมหาราชพระเจ้าอโศกมหาราชพระเจ้าอโนรธามังช่อพระเจ้าบุเรงนองพระเจ้าอลองพญาจักรพรรดิเฉียนหลงจิ๋นซีฮ่องเต้เจงกีส ข่านฮั่นอู่ตี้จักรพรรดิคังซีพระเจ้ากนิษกะพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2พระเจ้าชัยวรมันที่ 7พระเจ้าไชยเชษฐาพระเจ้าราชาราชะมหาราชอัคบาร์มหาราชพระเจ้ายู้พระเจ้ากวางแกโตมหาราชพระเจ้าแทโจมหาราชพระเจ้าจางซูมหาราชพระเจ้าซองด๊อกมหาราชจักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอสพระเจ้าดงเมียงยอง



    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">ทวีปยุโรป</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">อเล็กซานเดอร์มหาราชจักรพรรดินโปเลียนที่ 1พระเจ้าอัลเฟรดมหาราชแคทเธอรีนมหาราชินีพระเจ้าฟรีดริชมหาราชซาร์ปีเตอร์มหาราชสมเด็จพระเจ้าคานูทมหาราชพระเจ้าอองรีมหาราชพระเจ้าไทกราเนสมหาราชพระเจ้าอีวานมหาราชวลาดิเมียร์มหาราชคอนสแตนตินมหาราชธีโอโดเซียสมหาราชจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1พระเจ้าธีโอดอริคมหาราชจักรพรรดิออตโตที่ 1



    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">ทวีปแอฟริกา</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">ฟาโรห์รามเสสมหาราชแอสเกียมหาราช



    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">ตะวันออกกลาง</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">แฮรอดมหาราชไซรัสมหาราชดาไรอัสมหาราชแอนทิโอคัสมหาราชมิทริเดทีสมหาราชซาปูร์มหาราชอับบาสมหาราชเซอร์ซีสมหาราชกาหลิบอูมัวร์สุลต่านสุลัยมานมหาราช



    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable1 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title style="BACKGROUND: #817565; COLOR: #fefefe" colSpan=3>[แสดง]








    </TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">พระมหากษัตริย์</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช



    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 0px; WIDTH: 0%; PADDING-TOP: 0px" rowSpan=7></TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">พระบรมวงศานุวงศ์</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ · สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ · สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส · พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ · สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก · สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี · พระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท



    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">บุคคลสำคัญ</TH><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">สุนทรภู่ · พระยาอนุมานราชธน · ปรีดี พนมยงค์ · หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล · กุหลาบ สายประดิษฐ์ · พุทธทาสภิกขุ



    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-group style="WHITE-SPACE: nowrap">รอการรับรองจากยูเนสโก</TH><TD class="navbox-list navbox-even" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; BORDER-LEFT: #fdfdfd 2px solid; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px; TEXT-ALIGN: left">เอื้อ สุนทรสนาน · หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช



    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-abovebelow colSpan=3>ดูเพิ่ม: สถานีย่อย · มรดกโลกในไทย</TH></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=navbox cellSpacing=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px"><TABLE class="nowraplinks collapsible autocollapse" id=collapsibleTable2 style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; WIDTH: 100%" cellSpacing=0><TBODY><TR><TH class=navbox-title colSpan=2>







    </TH></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TD class="navbox-list navbox-odd" style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; WIDTH: 100%; PADDING-TOP: 0px" colSpan=2><CENTER>กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส · กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร · กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์ · กรมขุนพินิตประชานาถ · กรมหลวงวิสุทธิกระษัตริย์ · กรมพระจักรพรรดิพงษ์ · กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช · กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ · กรมหลวงพิชิตปรีชากร · กรมหลวงอดิศรอุดมเดช · กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์ · กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม · กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ · กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร · กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ · กรมขุนสิริธัชสังกาศ · กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ · กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ · กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ · กรมพระยาวชิรญาณวโรรส · กรมพระสมมตอมรพันธ์ · กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา · กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป · กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ · กรมพระยาดำรงราชานุภาพ · กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา · กรมขุนขัตติยกัลยา · กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ · กรมขุนมรุพงศ์สิริพัฒน์ · กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินี · กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ · กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย
    </CENTER>​




    </TD></TR><TR style="DISPLAY: none; HEIGHT: 2px"><TD></TD></TR><TR style="DISPLAY: none"><TH class=navbox-abovebelow colSpan=2>เจ้าต่างกรม ใน รัชกาลที่ 1รัชกาลที่ 2รัชกาลที่ 3รัชกาลที่ 4รัชกาลที่ 5วังหน้าและวังหลัง</TH></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><!-- NewPP limit reportPreprocessor node count: 2622/1000000Post-expand include size: 105280/2048000 bytesTemplate argument size: 93984/2048000 bytesExpensive parser function count: 5/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:4253-0!1!0!!th!2 and timestamp 20091016045411 -->ดึงข้อมูลจาก "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว - วิกิพีเดีย".​
    หมวดหมู่: บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2396 | บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2453 | พระราชโอรสในรัชกาลที่ 4 | รัชกาลที่ 5 | พระมหากษัตริย์ไทย | มหาราช | นักเขียนชาวไทย | ฐานันดรศักดิ์ชั้นเจ้าฟ้า | ราชวงศ์จักรี | พระราชบุตรในสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี | กวีชาวไทย | สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.จ.ก. | สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ น.ร. | กษัตริย์ที่ครองราชย์ตั้งแต่เยาว์วัย | พระราชนัดดาในรัชกาลที่ 2
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 5-2.JPG
      5-2.JPG
      ขนาดไฟล์:
      53.5 KB
      เปิดดู:
      8,545
    • 5-1.JPG
      5-1.JPG
      ขนาดไฟล์:
      36.5 KB
      เปิดดู:
      7,686
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 ตุลาคม 2009
  10. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,438
    พรุ่งนี้จะเดินทางไปทอดกฐินวัดหลวงปู่สอ กับวัดป่าสายกรรมฐาน ไปกันเรื่อยๆ แว่วๆว่านอนวัดกันครับ หุหุ กลับอีกทีวันอาทิตย์ ... จะทำบุญถวายแด่ ร.5 เนื่องในวาระวันปิยะมหาราช 2552 กับในหลวงของเราอีกด้วยครับ
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพยมหามงกุฏ บุรุษรัตนราชรวิวงศ วรุตมพงศบริพัตร วรขัติยราชนิกโรดม จาตุรันบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาติสังสุทธเคราะหณี จักรีบรมนาถ อดิศวรราชรามวรังกูร สุภาธิการรังสฤษดิ์ ธัญลักษณวิจิตรโสภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางคประนตบาทบงกชยุคล ประสิทธิสรรพศุภผลอุดม บรมสุขุมมาลย์ ทิพยเทพาวตารไพศาลเกียรติคุณอดุลยวิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ์ วิสิษฐศักดิ์สมญาพินิตประชานาถ เปรมกระมลขัติยราชประยูร มูลมุขราชดิลก มหาปริวารนายกอนันต มหันตวรฤทธิเดช สรรพวิเศษสิรินทร อเนกชนนิกรสโมสรสมมติ ประสิทธิ์วรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปดลเศวตฉัตราดิฉัตร สิริรัตโนปลักษณมหาบรมราชาภิเษกาภิลิต สรรพทศทิศวิชิตชัย สกลมไหสวริยมหาสวามินทร์ มเหศวรมหินทร มหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติอาชาวศรัย พุทธาทิไตยรัตนสรณารักษ์ อดุลยศักดิ์อรรคนเรศราธิบดี เมตตากรุณาสีตลหฤทัย อโนปมัยบุญการสกลไพศาล มหารัษฎาธิบดินทร ปรมินทรธรรมิกหาราชาธิราช บรมนาถบพิตร พระจุฬาลงกรณ์เกล้าเจ้าอยู่หัว

    [​IMG]

    [​IMG]
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    โมทนาสาธุครับ
    :cool:
    .
     
  13. แหน่ง

    แหน่ง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    741
    ค่าพลัง:
    +768

    โมทนาสาธุครับ
    คุณสมบัติส่งเลขบัญชีให้ผมหน่อยครับผมจะโอนเงินไปร่วมทำบุญด้วยครับ
     
  14. พรสว่าง_2008

    พรสว่าง_2008 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 เมษายน 2008
    โพสต์:
    356
    ค่าพลัง:
    +402
    __/|\__


    ..โมทนาสาธุครับพี่สมบัติ..
    ....ส่วนผม วันที่ 25 ต.ค. นี้ จะไปร่วมทอดกฐินที่วัดป่าภูผาผึ้ง (ลป.อ้ม) อ.ดงหลวง จ.มุกดาหารครับ..โมทนาสาธุทุกประการครับ...
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 ตุลาคม 2009
  15. แหน่ง

    แหน่ง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    741
    ค่าพลัง:
    +768
    <TABLE class=tborder border=0 cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%"><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 32 คน ( เป็นสมาชิก 2 คน และ บุคคลทั่วไป 30 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"><CENTER">[ แนะนำเรื่องเด่น ] </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>แหน่ง, พรสว่าง_2008 </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ดีครับคุณพรสว่าง
    ฝนตกทุกวันไหมครับแถวนั้น
     
  16. พรสว่าง_2008

    พรสว่าง_2008 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 เมษายน 2008
    โพสต์:
    356
    ค่าพลัง:
    +402
    .....

    ฝนตกเมื่อวานครับ คุณแหน่ง แต่วันนี้แดดเปรี้ยงเลยครับ
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    [​IMG]
    ดาวน์โหลด 229 ครั้ง

    [​IMG]
    ดาวน์โหลด 230 ครั้ง
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
  19. พรสว่าง_2008

    พรสว่าง_2008 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 เมษายน 2008
    โพสต์:
    356
    ค่าพลัง:
    +402
    '''

    หวัด D ครับพี่หนุ่ม วันนัดอย่าลืมเอา ต....+ ไ..... ไปให้ชมเป็นบุญตาด้วยนะครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 ตุลาคม 2009
  20. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,438
    สวัสดีตอนบ่ายโมงครึ่งครับ วันนี้ที่ Office ผมเงียบๆ เพราะกลับบ้านกันหมด ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ใน กทม. ครับ

    ไปวัดป่าสายอิสานหนนี้ จะอาราธนา Top4 ประกบปัญจสิริ หรือไม่ก็กลักไม้ขีด อย่างใดอย่างหนึ่งครับ และจะนำ Top4 ไปถวายหลวงปู่ด้วย :cool:
     

แชร์หน้านี้

Loading...