พยากรณ์กรรม โดยยึดหลักธรรมคำสอนพระพุทธเจ้า

ในห้อง 'บริการรับดูดวง' ตั้งกระทู้โดย รัตนชาติ, 7 มีนาคม 2011.

  1. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]ตอบพลับพลึง[/FONT]
    -[FONT=&quot]ความก้าวหน้าในการปฎิบัติธรรม[/FONT]
    -[FONT=&quot]จะมีโอกาสทำธุระกิจส่วนตัวใหม.[/FONT]..[FONT=&quot]และควรทำทางด้านใดดี[/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot] การปฏิบัติของคุณก็ดีนะค่ะ แต่จิตต้องนิ่ง อย่าใจร้อน ค่อยเป็นค่อยไป สวดมนต์ดี [/FONT]
    [FONT=&quot] การงานมีโอกาสทำธุรกิจส่วนตัว ติดต่อกับต่างชาติ ทำด้านสื่อสาร วิทยุ ทีวี คอมฯ หนังสือ สวดมนต์ขอพรพระแม่กวนอิม ถือศีลกินเจ ปล่อยสัตว์ ทำบ่อย ๆ จะดีค่ะ ขอพรพระปิยะมหาราชด้วยก็ดี ถ้าจะติดต่อการค้ากับต่างชาติ [/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot] คุณต้องสมาทานศีล 5 สวดมนต์ ทำสมาธิ เข้าวัดปฏิบัติธรรมบ่อย ๆ ชีวิตคุณจะดีขึ้น แผ่เมตตาให้สัมมาอาชีพด้วย[/FONT]
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ตอบkead1
    1 [FONT=&quot]สุขภาพ[/FONT] 2 [FONT=&quot]การงานและตำแหน่ง[/FONT] 3 [FONT=&quot]บุตร ธิดา[/FONT]


    [FONT=&quot]เรื่องสุขภาพต้องระวังของตัวเองและคู่ เวลาไม่สบายบางทีจะเป็นทั้งคู่ สลับกันบ้าง พร้อมกันบ้าง ขอให้คุณและคู่ปล่อยสัตว์บ่อย ๆ เป็นสัตว์น้ำ และสัตว์ปีกก็ได้ค่ะ [/FONT]
    [FONT=&quot] การงานและตำแหน่ง และบุตร ขอให้คุณหมั่นสมาทานศีล 5 สวดมนต์ ปฏิบัติกรรมฐาน แผ่เมตตา อธิษฐานจิต จะดีมาก ถวายผ้าไตร ธูปเทียน ดอกไม้ของหอม สวดมนต์บทสัมพุทเธ ชินบัญชร พาหุง อิติปิโส ธัมจักร พระไตรปิฏก ทำบุญมูลนิธิเด็ก มูลนิธิช่วยเหลือสตรี โรงพยาบาลสงฆ์ พระป่วยอาพาธ[/FONT]
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]ตอบณัฐมณ[/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    1.[FONT=&quot]เรื่องงานใหม่ๆจะได้เริ่มต้นใหม่ที่ดีขึ้นไหม ทำอะไรถึงจะเหมาะกับตัวเองแล้วก็เจริญก้าวหน้าค่ะ [/FONT]2.[FONT=&quot]เรื่องครอบครัวค่ะ [/FONT]3.[FONT=&quot]การปฏิบัติค่ะ [/FONT]
    [FONT=&quot]งานใหม่จะดีนะค่ะ ขอให้ตนเองเชื่อมั่น และคิดบวกไว้เสมอ อย่าใจร้อนเกินไป อย่าคิดเร็ว ทำเร็ว ใช้สติ ไตร่ตรอง [/FONT]
    [FONT=&quot]ส่วนเรื่องครอบครัวก็เหมือนกัน อย่ามัวแต่ต้องการความถูกต้อง เมื่อเราเลือกความถูกต้อง ก็จะไม่ได้ความสุข เพราะเวลาพูดคุยกัน ต่างก็ว่าเหตุผลของตนถูก ถ้าเรายอม ปล่อยวางบ้าง ค่อย ๆ ปรึกษาหารือกัน เรื่องของการปฏิบัติธรรมก็เช่นกัน ค่อยเป็นค่อยไป รีบ ๆ จะไม่ได้ผล สวดมนต์แปลแล้วทำความเข้าใจในความหมายของบทที่สวด ไปวัดที่มีผู้ปฏิบัติมาก ๆ ร่วมปฏิบัติกับพวกเค้า ขอขมากรรมพระรัตนตรัย บิดามารดา ครูบาอาจารย์ผู้มีพระคุณ งดสัตว์ปีกได้ก็ดีค่ะ แล้วปล่อยสัตว์ปีก หรือสัตว์อะไรก็ได้บ่อย ๆ สวดมนต์มาก ๆ[/FONT]
     
  2. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ตอบArtoon[FONT=&quot][/FONT]
    1.[FONT=&quot]การงาน ขึ้นแล้วลงตลอด ไม่ก้าวหน้า มีศัตรูมาก[/FONT] 2. [FONT=&quot]สุขภาพปวดเข่า ปวดหลัง ปวดท้องประจำ[/FONT]
    [FONT=&quot]การงานคุณต้องระวังเรื่องวจีกรรม ไม่ใช่เรื่องของเราก็ไม่ต้องพูดอะไรมาก แผ่เมตตาให้สัมมาอาชีพ และปัจจัยสี่ที่ประกอบสัมมาอาชีพ เวลามาที่ทำงานก็ไว้พระขอขมากรรมพระรัตนตรัย เทพเทวา เจ้าที่เจ้าทาง เจ้าของบริษัท หัวหน้างานหรือคนที่เรามีปัญหา บุคคลใดในที่ทำงานถ้าล่วงเกินด้วยกาย วาจา ใจ จะด้วยเจตนาหรือไม่ หรือผิดศีลข้อใดต่อท่านทั้งหลาย ก็ขออโหสิกรรม ขอให้มีจิตเมตตาเป็นกุศล คิดดี พูดดี ทำดี ต่อกัน แล้วแต่อธิษฐาน แต่ต้องเป็นสิ่งที่ดี เป็นกุศล ไม่คิดแค้นเคือง พยาบาท[/FONT]
    [FONT=&quot] เรื่องสุขภาพก็ต้องสมาทานศีล5 สวดมนต์ ทำสมาธิ แผ่เมตตาให้สรรพสัตว์ทั้งหลาย(สัพเพ สัตตา)ทำบ่อย ๆ เรื่อย ๆ ขออโหสิกรรม ขอให้หายจากโรคภัย ไข้เจ็บ อุทิศส่วนบุญแผ่เมตตา ให้กระดูก เส้นเอ็น หรือบริเวณที่ปวด ปล่อยชีวิตสัตว์บ่อย ๆ เช่น กบ เขียด โค กระบือ ป[/FONT]
     
  3. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]เมื่อเช้านี้ได้ฟังรายการวิทยุ สังฆทานธรรม พระท่านเล่าให้ฟังว่า มีพระรูปหนึ่งท่านมีโทสะจริต เวลาที่ท่านนั่งสมาธิ ท่านจะคิดแค้น อาฆาต อยากฆ่า ทำอย่างไรก็นั่งไม่ได้ ท่านจึงคิดว่าไม่ได้แล้วถ้าขืนนั่งต่อ ต้องมีบาปเพิ่มแน่ [/FONT]
    [FONT=&quot] ท่านจึงไปนำน้ำมาล้างทำความสะอาดพระพุทธรูปองค์ใหญ่จนสะอาด แล้วท่านก็มานั่งสมาธิต่อ พอตอนนี้ท่านนั่งได้ดีมาก ไม่ฟุ้งอีก [/FONT]
    [FONT=&quot]พระท่านกล่าวว่าการทำบุญบางครั้งเราไม่ทำบุญอย่างอื่นเลย เอาแต่นั่งสมาธิอย่างเดียวก็ไม่ได้ อย่างเช่นพระองค์นี้ ท่านเปลี่ยนมาทำความดี โดยทำความสะอาดพระพุทธรูปท่านได้บุญจากส่วนนี้ ทำให้ท่านนั่งสมาธิได้ดีขึ้น หรือบางท่านป่วยไม่สบาย กินยา หาหมอยังไงก็ไม่หาย แต่พอไปทำสังฆทานกลับหายป่วย หลังจากนั้นก็ทำบุญมาตลอด ใครให้ทำบุญอะไรก็ทำ เพราะรอดมาจากบุญ[/FONT]
     
  4. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 26 เมษายน 2011
  5. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    ธชัคคสูตร-"สวดอิติปิโส"

    ธชัคคสูตร พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถาวรรค ธชัคคสูตร เป็นพระสูตรที่ว่าด้วยอานุภาพแห่งการระลึกถึง พระรัตนตรัย ที่พระพุทธองค์ทรงนำเอาเรื่องการทำสงครามระหว่างเทพกับเทพอสูรมาเป็นข้อ เปรียบเทียบ เพื่อเตือนใจภิกษุผู้ไปทำความเพียร อยู่ตามป่าเขาลำเนาไพรอันเงียบสงัด ห่างไกลจากผู้คนสัญจรไปมา การ อยู่ท่ามกลางป่ากว้างดงลึกของภิกษุผู้ยังเป็นปุถุชนเช่นนั้น ย่อมจะก่อให้เกิดความหวาดกลัวขนผองสยองเกล้า เมื่อเกิดความรู้สึก หวาดกลัว พระพุทธองค์แนะนำให้ภิกษุระลึกถึงธง คือ พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ หรือพระสังฆคุณ แล้วจะสามารถข่มใจระงับความหวาดกลัวบำเพ็ญเพียร ต่อไปได้ การสวดธชัคคสูตรก็เพื่อเป็นการทำลายความหวาดกลัวขนพองสยองเกล้า สำหรับผู้ที่ต้องเดินทางไปอยู่ต่างถิ่น หรือในสถานที่ที่ไม่ คุ้นเคย โดยน้อมเอาคุณของพระรัตนตรัยมาสร้างเสริมกำลังใจให้เกิด ความอาจหาญแกล้วกล้าในการต่อสู่อันตรายและอุปสรรคนานาประการ นอกจากนั้น ธชัคคสูตรยังช่วยคุมครองป้องกันอันตรายจากที่สูง หรืออันตรายทางอากาศ เช่น อันตรายจากการขึ้นต้นไม้สูง อันตรายจากการเดินทางที่ต้องผ่านหุบเขาเหวผาสูงชัน อันตรายจากสิ่งที่ตกหล่นมาจากอากาศ และในปัจจุบันยังนิยมใช้สวดเพื่อป้องกันอันตรายอันจะเกิดจากการเดินทางโดย เครื่องบิน โดยทั่วไปการสวดบทธชัคคสูตรไม่นิยมสวดทั้งสูตร แต่จะสวดเฉพาะบทสรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ ซึ่งเป็นหัวใจของพระสูตรนี้ เราเรียกกันโดยทั่วไปว่า "สวดอิติปิโส" เว้นไว้แต่มีเวลามากและต้องการสวดเป็นกรณีพิเศษจึงจะสวดทั้งสูตร
    ธชัคคสูตร
    ( เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเม ฯ ตัตระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ ฯ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุง ฯ ภะคะวา เอตะทะโวจะ ภูตะปุพพัง ภิกขะเว เทวาสุระสังคาโม สะมุปัพะยุฬโห อะโหสิฯ อะถะโข ภิกขะเว สักโก เทวานะมินโท เทเว ตาวะติงเส อามันเตสิ สะเจ มาริสา เทวานัง สังคามะคะตานัง อุปปัชเชยยะ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา มะเมวะ ตัสะมิง สะมะเย ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ มะมัง หิ โว ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ โน เจ เม ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ อะถะ ปะชาปะติสสะ เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ ปะชาปะติสสะ หิ โว เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ โน เจ ปะชาปะติสสะ เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ อะถะ วะรุณัสสะ เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ วะรุณัสสะ หิ โว เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ โน เจ วะรุณัสสะ เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ อะถะ อีสานัสสะ เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ อีสานัสสะ หิ โว เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะตีติ ฯ ตัง โข ปะนะ ภิกขะเว สักกัสสะ วา เทวานะมินทัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ปะชาปะติสสะ วา เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง วะรุณัสสะ วา เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง อีสานัสสะ วา เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยเยถาปิ โนปิ ปะหิยเยถะ ตัง กิสสะ เหตุ สักโก หิ ภิกขะเว เทวานะมินโท อะวีตะราโค อะวีตะโทโส อะวีตะโมโห ภิรุฉัมภี อุตะราสี ปะลายีติ ฯ อะหัญจะ โข ภิกขะเว เอวัง วะทามิ สะเจ ตุมหากัง ภิกขะเว อะรัญญะคะตานัง วา รุกขะมูละคะตานัง วา สุญญาคาระคะตานัง วา อุปปัชเชยยะ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา มะเมวะ ตัสะมิง สะมะเย อะนุสสะเรยยาถะ อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะ - สัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ มะมัง หิ โว ภิกขะเว อะนุสสะระตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ โน เจ มัง อะนุสสะเรยยาถะ อะถะ ธัมมัง อะนุสสะเรยยาถะ สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ ธัมมัง หิ โว ภิกขะเว อะนุสสะระตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ โน เจ ธัมมัง อะนุสสะเรยยาถะ อะถะ สังฆัง อะนุสสะเรยยาถะ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ สังฆัง หิ โว ภิกขะเว อะนุสสะระตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ ตัง กิสสะ เหตุ ตะถาคะโต หิ ภิกขะเว อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วีตะราโค วีตะโทโส วีตะโมโห อะภิรุ อัจฉัมภี อะนุตราสี อะปะลายีติ ฯ อิทะมะโวจะ ภะคะวา อิทัง วัตะวานะ สุคะโต อะถาปะรัง เอตะทะโวจะ สัตถา อะรัญเญ รุกขะมูเล วา สุญญาคาเร วะ ภิกขะโว อะนุสสะเรถะ สัมพุทธัง ภะยัง ตุมหากะ โน สิยา โน เจ พุทธัง สะเรยยาถะ โลกะเชฏฐัง นะราสะภัง อะถะ ธัมมัง สะเรยยาถะ นิยยานิกัง สุเทสิตัง โน เจ ธัมมัง สะเรยยาถะ นิยยานิกัง สุเทสิตัง อะถะ สังฆัง สะเรยยาถะ ปุญญักเขตตัง อะนุตตะรัง เอวัมพุทธัง สะรันตานังธัมมัง สังฆัญจะ ภิกขะโว ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วาโลมะหังโส นะ เหสสะตีติ ฯ

    คำแปล
    ข้าพเจ้า ได้สดับมาอย่างนี้ สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จประทับอยู่ที่พระเชตวันวิหาร อารามของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีใกล้พระนครสาวัตถี ใน เวลานั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า "ภิกษุทั้งหลาย" ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า "พระพุทธเจ้าข้า" ดังนี้แล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสพระพุทธพจน์ต่อไปว่า ภิกษุทั้งหลาย เรื่องราวในอดีตกาลอันไกลโพ้นเคยมีมา แล้ว ได้เกิดสงครามระหว่างเหล่าเทวดากับเหล่าอสูรขึ้น ครั้งนั้น ท้าวสักกเทวราช ผู้เป็นใหญ่ในหมู่เทพ ตรัสเรียกเทวดาในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์มาสั่งว่า ท่านผู้นิรทุกข์ทั้งหลาย ถ้าพวกเทวดาเข้าสู่สงครามแล้วเกิดความกลัว หวาดสะดุ้ง ขนพองสยองเกล้า ขอให้ท่านทั้งหลายแลดูยอดธงของเรา เพราะเมื่อพวกท่านแลดูยอดธงของเราแล้วความกลัว ความหวาดสะดุ้ง ความขนพองสยองเกล้าที่มีอยู่จักหายไป ถ้าพวกท่านทั้งหลายแลดูยอดธงเราไม่ได้ ก็ขอให้แลดูยอดธงของเทวราชชื่อปชาบดี เพราะเมื่อท่านทั้งหลายมองดูยอดธงของเทวราชชื่อปชาบดีแล้ว ความกลัว ความหวาดสะดุ้ง ความขนพองสยองเกล้าที่มีอยู่จักหายไป ถ้าท่านทั้งหลายแลดูยอดธงของเทวราชชื่อปชาบดีไม่ได้ ก็ให้แลดูยอดธงของเทวราชชื่อวรุณ เพราะเมื่อท่านแลดูยอดธงของเทวราช ชื่อวรุณแล้ว ความกลัว ความหวาดสะดุ้ง ความขนพองสยองเกล้าที่มีอยู่จักหายไป ถ้าท่านทั้งหลายแลดูยอดธงของเทวราชชื่อวรุณไม่ได้ ก็ให้ แลดูยอดธงของเทวราชชื่ออีสาน เพราะเมื่อท่านแลดูยอดธงของเทวราชชื่ออีสานแล้ว ความกลัว ความหวาดสะดุ้ง ความขนพองสยองเกล้าที่มีอยู่จักหายไป ภิกษุทั้งหลาย แท้จริงแล้ว เมื่อเหล่าเทวดาทั้งหลายแลดูยอดธงของท้าวสักกเทวราช แลดูยอดธงของเทวราชชื่อปชาบดี แลดูยอดธงของเทวราชชื่อวรุณ หรือแลดูยอดธงของเทวราชชื่ออีสาน ความกลัว ความหวาดสะดุ้ง ความขนพองสยองเกล้าที่มีอยู่ บางทีก็หายได้ บางทีก็ไม่หาย เพราะเหตุไร ภิกษุทั้งหลาย เพราะว่าท้าวสักกเทวราชยังไม่สิ้นราคะ ยังไม่สิ้นโทสะ ยังไม่สิ้นโมหะ ยังกลัว ยังหวาดสะดุ้ง ยังต้องหนี ภิกษุทั้งหลาย ส่วนเราตถาคตกล่าวอย่างนี้ว่า ถ้าพวกเธอ ทั้งหลายไปอยู่ตามป่า ตามโคนไม้ ตามบ้านร้าง หรือที่อื่นใดแล้วเกิด ความกลัว หวาดสะดุ้ง ขนพองสยองเกล้า ขอให้เธอทั้งหลายระลึกถึงเราตถาคตว่า "เพราะเหตุอย่างนี้ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เองทรงถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดีแล้ว ทรงรู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า ทรงเป็นครูของเหล่าเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม ทรงมีความสามารถในการจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ ฯ" ภิกษุทั้งหลาย เพราะเมื่อเธอทั้งหลายระลึกถึงตถาคตอยู่ ความกลัว ความหวาดสะดุ้ง ความขนพองสยองเกล้าที่มีอยู่จักหายไป ถ้าระลึกถึงตถาคตไม่ได้ ก็ให้ระลึกถึงพระธรรมว่า "พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว ผู้ศึกษาและปฏิบัติพึงเห็นได้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล สามารถ แนะนำผู้อื่นให้มาพิสูจน์ได้ว่า "ท่านจงมาดูเถิด" ควรน้อมนำมาไว้ในตัว ผู้รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน ฯ" ภิกษุทั้งหลาย เพราะเมื่อท่านทั้งหลายระลึกถึงพระธรรมอยู่ ความกลัว ความหวาดสะดุ้ง ความขนพองสยองเกล้าที่มีอยู่จักหายไป ถ้าระลึกถึงพระธรรมไม่ได้ ก็ให้ระลึกถึงพระสงฆ์ว่า "พระสงฆ์เป็นสาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าปฏิบัติดีแล้ว ปฏิบัติตรงแล้วปฏิบัติ เพื่อรู้ธรรมเป็นเครื่องออกจากทุกข์ ปฏิบัติเหมาะสม ได้แก่บุคคล เหล่านี้คือ คู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับเรียงลำดับได้ ๘ ท่าน นั่นแหละพระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ซึ่งเป็นผู้ควรแก่สักการะที่เขาน้อมนำมาบูชา ควรแก่สักการะที่เขาเตรียมไว้ต้อนรับ ควรรับทักษิณาทาน เป็น ผู้ที่บุคคลทั่วไปควรให้ความเคารพ เป็นเนื้อนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ฯ" ภิกษุทั้งหลาย เพราะเมื่อเธอทั้งหลาย ระลึกถึงพระสงฆ์แล้ว ความกลัว ความหวาดสะดุ้ง ขนพองสยองเกล้าที่มีอยู่จักหายไป ที่เป็นเช่นนี้เพราะตถาคตเป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าสิ้นราคะ สิ้นโทสะ สิ้นโมหะ ไม่มีความกลัว ไม่หวาดสะดุ้ง ไม่หนี พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้สุคตศาสดา ครั้นตรัสพุทธพจน์นี้แล้วจึงตรัสนิคมคาถาประพันธ์ ต่อไปอีกว่า ภิกษุทั้งหลาย เมื่อเธอทั้งหลายไปอยู่ตามป่า ตามโคนไม้ หรือตามบ้านร้าง ให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าแล้วพวกเธอก็จะไม่มี ความหวาดกลัว ถ้าพวกเธอทั้งหลายไม่สามารถระลึกถึงพระพุทธเจ้า ผู้เป็นใหญ่ในโลก ผู้แกล้วกล้ากว่านรชน ก็ให้ระลึกถึงพระธรรม อันสามารถนำสัตว์ออกจากทุกข์ ที่เราแสดงไว้ดีแล้วเถิด ถ้าพวกเธอไม่สามารถระลึกถึงพระธรรมที่สามารถนำสัตว์ออกจากทุกข์อันเราแสดง ไว้ดีแล้ว ต่อจากนั้น ก็ให้ระลึกถึงพระสงฆ์ผู้เป็นเนื้อนาบุญของโลกไม่มี นาบุญอื่นยิ่งกว่า ภิกษุทั้งหลาย เมื่อท่านทั้งหลายน้อมรำลึกถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์อยู่อย่างนี้ ความกลัว ความหวาดสะดุ้ง ความขนพองสยองเกล้าก็จักไม่มีแล ฯ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 27 เมษายน 2011
  6. arisara70

    arisara70 สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มกราคม 2009
    โพสต์:
    4
    ค่าพลัง:
    +0
    รบกวนด้วยค่ะ
    ส่งวันเดือนปีเกิดไปทาง pm แล้วค่ะ
    จะถามเรื่อง
    1.หนี้สิน
    2.การงาน
    3.การปฏิบัติธรรมที่เหมาะกับตนเองค่ะ

    ขอบคุณค่ะ
     
  7. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    ความกลัวในจิตใจของเราทำให้เกิดทุกข์

    เมื่อพิจารณาถึงสิ่งที่ทำให้เกิ<wbr>ดความทุกข์นั้น มีสิ่งหนึ่งที่เรียกว่าความกลัว เวลาจิตเราอ่อนแอ ไม่เข้มแข็ง และเกิดความกลัวขึ้นมา ทำให้เราเกิดความคิดมากมาย คิดทั้งเรื่องที่ผ่านมา เรื่องปัจจุบัน เรื่องอนาคตที่ยังไม่เกิด วิตกกังวล ทำให้เป็นเกิดเหตุแห่งความทุกข์ เช่น ความรัก ความโลภ ความโกรธ ความหลง และอะไรได้อีกมากมาย
    กลัวแฟนไม่รัก กลัวแฟนไปรักคนอื่นมากกว่า กลัวพ่อแม่ไม่รัก รักลูกไม่เท่ากัน กลัวไม่ได้ความรัก (รัก)
    กลัวความลำบาก กลัวจน กลัวเงินไม่พอใช้ กลัวคนแย่งสมบัติ สิ่งของของตน (โลภ)
    กลัวไม่ได้ดังใจ ไม่ถูกใจ ก็โกรธ (โกรธ)
    กลัวความผิด ทำสิ่งผิดกฏหมาย ทำสิ่งผิด แต่คิดว่าถูก (หลง)
    ถ้าเราหมั่นฝึกจิตใจตนให้เข้<wbr>มแข็ง ไม่หวั่นไหวต่อปัจจัยที่เข้<wbr>ามา กระทบทางกาย วาจา ใช้สติรู้ว่า เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ให้ไว ให้เร็ว ใช้ศีล สมาธิ ปัญญา มาพิจารณา และดับความกลัวนั้นให้เร็วที่สุ<wbr>ด ปิดกั้นไม่ให้เข้ามารบกวนจิ<wbr>ตใจของเรา ขอให้มีความเพียรในการฝึกปฏิบั<wbr>ติ จนเกิดเป็นความเคยชิน เป็นนิสัย ปล่อยวาง คิดและบอกตนเองเสมอว่า เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ทั้งกับตนเองและผู้อื่น และสังคม เร่งขนขวายสร้างสมบุญ สร้างกุศล บำเพ็ญบารมี ตามพระธรรมคำสอนองค์สมเด็จพระสั<wbr>มมาสัมพุทธเจ้า พระอริยสงฆ์ และอริยบุคคล ในสมัยพุทธกาล ที่ปฏิบัติ ถวายชีวิต เป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา ไม่หวั่นไหว ต่อสิ่งใด ไม่ว่าจะเป็นเทวดา เป็นมาร หรือสิ่งใด ก็ไม่สามารถมาขัดขวางการปฏิบัติ การสร้างกุศล บำเพ็ญบารทีของเราได้
     
  8. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ. เธอย่อมระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมา

    [๑๖๘] ภิกษุนั้นเมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน
    ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อปุพเพนิ<wbr>วาสานุสสติญาณ.
    เธอย่อมระลึกชาติก่อนได้เป็นอั<wbr>นมาก คือ ระลึกได้ชาติหนึ่งบ้าง สองชาติบ้าง สามชาติบ้าง

    สี่ชาติบ้าง ห้าชาติบ้าง สิบชาติบ้าง ยี่สิบชาติบ้าง สามสิบชาติบ้าง สี่สิบชาติบ้าง
    ห้าสิบชาติบ้าง ร้อยชาติบ้าง พันชาติบ้าง แสนชาติบ้าง ตลอดสังวัฏกัปเป็นอันมากบ้าง ตลอด
    วิวัฏกัปเป็นอันมากบ้าง ตลอดสังวัฏวิวัฏกัปเป็นอันมากบ้<wbr>าง ว่าในภพโน้นเรามีชื่ออย่างนั้น มีโคตร

    อย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้นๆ มีกำหนดอายุเพียง
    เท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ว ได้ไปเกิดในภพโน้น แม้ในภพนั้นเราก็มีชื่ออย่างนั้<wbr>น มีโคตร
    อย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้นๆ มีกำหนดอายุ

    เพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ว ได้มาเกิดในภพนี้ เธอย่อมระลึกถึงชาติก่อนได้เป็<wbr>นอันมาก
    พร้อมทั้งอาการ พร้อมทั้งอุเทศ ด้วยประการฉะนี้ ข้อนั้นเพราะเหตุไร ดูกรภัททาลิ ข้อนั้น
    เป็นเพราะภิกษุทำให้บริบูรณ์<wbr>ในสิกขาในศาสนาของพระศาสดา.

    ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส
    อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อรู้จุติ<wbr>และอุปบัติของ
    สัตว์ทั้งหลาย. เธอเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณ

    ทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็น
    ไปตามกรรมว่า สัตว์เหล่านี้ประกอบด้วยกายทุ<wbr>จริต วจีทุจริต มโนทุจริต ติเตียนพระอริยเจ้า
    เป็นมิจฉาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจมิจฉาทิ<wbr>ฏฐิ เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก เขาเข้าถึง

    อบาย ทุคติ วินิบาต นรก ส่วนสัตว์เหล่านี้ ประกอบด้วยกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต
    ไม่ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นสัมมาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจสัมมาทิ<wbr>ฏฐิ เบื้องหน้า
    แต่ตายเพราะกายแตก เขาย่อมเข้าถึงสุคติ โลก สวรรค์ ดังนี้ เธอย่อมเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุ<wbr>ติ

    กำลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุ
    อันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็<wbr>นไปตามกรรม ด้วยประการฉะนี้
    ข้อนี้เพราะเหตุไร ดูกรภัททาลิ ข้อนั้นเป็นเพราะภิกษุทำให้บริ<wbr>บูรณ์ในสิกขาในพระศาสนาของ

    พระศาสดา.
    ภิกษุนั้นเมื่อจิ<wbr>ตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน
    ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่ออาสวั<wbr>กขยญาณ.
    ย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา

    เหล่านี้อาสวะ นี้อาสวสมุทัย นี้อาสวนิโรธ นี้อาสวนิโรธคามินีปฏิปทา เมื่อเธอรู้เห็นอย่างนี้
    จิตย่อมหลุดพ้น แม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว
    ก็มีญาณรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว

    กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิ<wbr>ได้มี ข้อนั้นเพราะเหตุไร ดูกรภัททาลิ ข้อนั้นเป็นเพราะภิกษุ

    ทำให้บริบูรณ์ในสิ<wbr>กขาในศาสนาของพระศาสดา.</pre>
     
  9. tonmay

    tonmay สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 เมษายน 2011
    โพสต์:
    12
    ค่าพลัง:
    +2
    คำถาม
    1. เพื่อน
    2. ครอบครัวมีหนี้สิน
    3. อื่นๆที่สัมผัสได้
    ขอบคุณล่วงหน้าค่ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 พฤษภาคม 2011
  10. LIEWnetwork

    LIEWnetwork สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 เมษายน 2011
    โพสต์:
    16
    ค่าพลัง:
    +2
    เข้ามาเป็นกำลังใจให้ครับ ของผมอยากถามท่านเหมือนกันแต่แอบกลัว คิดเอาว่ากรรมของเราเราอยู่แก่ตนเอง
     
  11. madsai

    madsai Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 เมษายน 2011
    โพสต์:
    67
    ค่าพลัง:
    +43
    ส่ง พีเอ็มไปแล้วนะคะ ขอบคุณมากคะ
     
  12. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    นิทานในธรรมบท

    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]ต่อไปจะเสนอนิทานในธรรมบท ที่ได้อ่านมา เพื่อมาเผยแพร่เป็นธรรมทานกับทุกท่าน โดยจะมีเรื่องราวที่เกิดขึ้นในสมัยพุทธกาล โดยจะหยิบยกบทสรุปของแต่ละเรื่องมานำเสนอก่อน ว่าเป็นบทสรุปของเรื่องใดในนิทานธรรมบท ส่วนเนื้อเรื่องนั้นจะนำเสนอในกลุ่มชมรมปัตจะตังพยากรณ์กรรม-หัวข้อคือ เรื่องพระธรรมคำสอนพระพุทธเจ้า เป็นลำดับต่อไป สามารถติดตามอ่านได้นะค่ะ[/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot] [/FONT]
    [FONT=&quot] ผลของการชักชวนมหาชนทำบุญ เป็นบุพกรรมในอดีตของสันตติมหาอำมาตย์ ได้ป่าวร้องให้มหาชนทำบุญทำกุศล ว่า [/FONT][FONT=&quot]“ท่านทั้งหลาย จงทำบุญอย่างนี้ จงสมาทานอุโลสถศีลอย่างนี้[/FONT]
    [FONT=&quot]ในวันอุโบสถ จงถวายทานและฟังธรรม ชื่อว่า รัตนะอย่างอื่นเช่นกับพุทธรัตนะเป็นต้นไม่มี พวกท่านจงทำสักการบูชาพระรัตนะทั้งสามเถิด[/FONT][FONT=&quot]” ท่านได้สำเร็จ อรหันตผล จึงมีหัวข้อสนทนากัน[/FONT]
    [FONT=&quot]ในหมู่พระสงฆ์ ว่าขณะที่ท่านฟังธรรมพระพุทธเจ้าจบและยังอยู่ในเครื่องประดับอาภรณ์เครื่องแต่งกายของคฤหัสถ์อยู่ แต่ทำไมจึงเหาะขึ้นกลางอากาศทำการปรินิพานเช่นนี้ จะเรียกท่านว่า[/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]เป็น สมณะ หรือ เรียกว่า พราหมณ์[/FONT][FONT=&quot] [/FONT]
    [FONT=&quot] พระศาสดาทรงทราบความนั้น จึงตรัสกับพระสงฆ์ว่าจะเรียกบุตรของเราว่า สมณะ ก็ควร จะเรียกว่า พราหมณ์ ก็ควร [/FONT][FONT=&quot]“แม้ว่าบุคคลจะประดับด้วยเครื่องแต่งกายของคฤหัสถ์ [/FONT]
    [FONT=&quot]แต่ประพฤติตนเหมาะสม เป็นผู้สงบ ฝึกตนดีแล้ว มีความเที่ยงธรรม มีปกติประพฤติประเสริฐ วางเสียซึ่งอาชญาในสัตว์ทุกจำพวก บุคคลนั้นเป็นพราหม์ก็ได้ เป็นสมณะก็ได้ เป็นภิกษุก็ได้[/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot](นิทานในธรรมบท เรื่องสันตติมหาอำมาตย์-ผู้ได้เสวยราชย์เพียง 7 วัน แล้วบรรลุพระอรหัตตผล)[/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อกรรมให้ผลคนโง่จึงเห็นความถูกต้อง[/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot] พระศาสดาเมื่อจะทรงให้โอวาทเศรษฐีและเทวดา ด้วยอำนาจวิบากแห่งกรรมดีและชั่ว จึงตรัสว่า “คฤหบดี” บุคคลผู้ทำบาปในโลกนี้ย่อมเห็นว่าบาปดีตลอดเวลาที่บาปยังใม่ให้ผล [/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]แต่เมื่อใดบาปให้ผลแล้ว จึงเห็นว่าบาปชั่วช้าแท้ ๆ ฝ่ายผู้ทำกรรมดีเห็นกรรมดีว่าชั่ว ตลอดเวลาที่กรรมดียังไม่ให้ผล แต่เมื่อกรรมดีให้ผล เมื่อนั้นเขาย่อมเห็นกรรมว่าดีจริง ๆ “แล้วตรัสว่า[/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot] ถ้าคนทำบาปย่อมเห็นบาปว่าดี ตลอดกาลที่บาปยังไม่ให้ผล แต่เมื่อใดบาปให้ผล เมื่อนั้นเขาย่อมเห็นบาปว่าชั่ว ฝ่ายคนทำกรรมดี ย่อมเห็นกรรมดีว่าชั่ว ตลอดกาลที่กรรมดียังไม่ให้ผล[/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]แต่เมื่อใดกรรมดีให้ผล เมื่อนั้น เขาย่อมเห็นกรรมดีว่าดี[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot](นิทานในธรรมบท เรื่องอนาถบิณฑิกเศรษฐี-อัครมหาอุบาสก)[/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot] [/FONT]
    [FONT=&quot]ผู้ใดประทุษร้ายต่อนรชนผู้ไม่ประทุษร้าย ผู้บริสุทธิ์ ไม่มีกิเลส บาปย่อมกลับถึงผู้นั้น ซึ่งเป็นคนพาลนั่นเอง เหมือนธุลีอันละเอียดที่เขาซัดทวนลมไป ฉะนั้น[/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot](นิทานในธรรมบท เรื่องนายพรานสุนัขชื่อโกกะ-ผู้ประทุษร้ายต่อผู้บริสุทธิ์ได้รับผลทันตาเห็น)[/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot] [/FONT]
     
  13. Wanwin

    Wanwin สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    19
    ค่าพลัง:
    +5
    รออ่านเรื่องราวดีๆอีกค่ะ แต่คงอีกนานกว่าจะจำบทสวดธชัคคสูตรได้
     
  14. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    รบกวนส่ง วดป.เกิดให้ใหม่นะค่ะ เพราะยังไม่ได้รับค่ะ
     
  15. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    วดป.เกิดที่ส่งมาขาดวันที่ กับเวลานะค่ะ ช่วยส่งมาใหม่นะค่ะ
     
  16. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
    พิมพ์แพร ช่วยส่ง วดป.เกิดมาให้ใหม่ด้วยค่ะ
     
  17. nachabhol

    nachabhol สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    171
    ค่าพลัง:
    +27
    ได้ส่ง วดป ให้ทาง PM แล้ว
    ช่วยตอบให้ด้วย
    ช่วงนี้รู้สึกไม่อยากทำงานแล้ว
    เพราะมีเรื่องทุกข์ใจมากระทบ

    ขอบคุณ ครับ
     
  18. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
  19. รัตนชาติ

    รัตนชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +93
  20. arisara70

    arisara70 สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มกราคม 2009
    โพสต์:
    4
    ค่าพลัง:
    +0
    ส่งวันเกิดไปทาง PM ให้อีกครั้งแล้วค่ะ
    ขอบคุณค่ะ
     

แชร์หน้านี้

Loading...