พระอภิธรรมปิฎก อ่านออกเสียงยาก เชิญสมาชิกสอบถามคำอ่านได้ที่นี่

ในห้อง 'พระไตรปิฎก เสียงอ่าน' ตั้งกระทู้โดย ผ่อนคลาย, 4 กุมภาพันธ์ 2007.

  1. Siranya

    Siranya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    2,051
    ค่าพลัง:
    +9,004
    ขอคำอ่านด้วยค่ะไม่แน่ใจว่าอ่านถูกหรือเปล่า

    <CENTER>สังสัฏฐวาร
    </CENTER>[๖๒๑] นีวรณสัมปยุตตธรรม คลุกเคล้ากับนีวรณสัมปยุตตธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย// อ่านว่า เพราะ เห ตุ ปัด ใจ
    [๖๒๒] ในเหตุปัจจัย//อ่านว่า ใน เห ดุ ปัด ใจ มีหัวข้อปัจจัย ๒
    ในอารัมมณปัจจัย มี " ๒
    ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๒
    ในวิปากปัจจัย มี " ๑
    ในอวิคตปัจจัย มี " ๒
    [๖๒๓] นีวรณสัมปยุตตธรรม คลุกเคล้ากับ นีวรณสัมปยุตตธรรม
    เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย//อ่านว่า เห ตุ ปัด ใจ
    คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ คลุกเคล้ากับ
    ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
    คลุกเคล้ากับ นีวรณวิปปยุตตธรรม ฯลฯ
    [๖๒๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย//เห ตุ ปัด ใจ มีหัวข้อปัจจัย ๒
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๒
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๒
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๒
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๒
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๒
    การนับทั้งสอง นอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี พึงกระทำอย่างนี้

    ขอบคุณมากค่ะ

    อนุโมทนาจ้ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 17 เมษายน 2011
  2. Siranya

    Siranya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    2,051
    ค่าพลัง:
    +9,004
    ขอคำอ่านค่ะพี่ผ่อน

    <CENTER>ปัญหาวาร
    </CENTER>[๖๒๕] นีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ นิวรณสัมปยุตตธรรม
    โดยเหตุปัจจัยเห ตุ ปัด ไจ
    คือ เหตุ เหด ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต
    ขันธ์ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย



    <CENTER>พึงถามถึงมูล
    </CENTER>เหตุทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
    ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย เห ตุ ปัด ไจ เหตุ เหด ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่
    สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย
    นีวรณวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ นีวรณวิปปยุตตธรรม โดยเหตุปัจจัย
    คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นนีวรณวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต
    ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย เห ตุ ปัด ไจ ปฏิสนธิ ปะ ติ สน ทิ
    [๖๒๖] นีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมปยุตตธรรม โดย
    อารัมมณปัจจัย
    คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งราคะ เพราะปรารภราคะ ปรา รบ รา คะ นั้น
    ราคะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ โทมนัส โทม มะ นัด เกิดขึ้น
    บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งทิฏฐิ เพราะปรารภทิฏฐิ ปรา รบ ทิด ถิ นั้น ราคะ
    ทิฏฐิ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ โทมนัส เกิดขึ้น
    เพราะปรารภวิจิกิจฉา วิจิกิจฉา ทิฏฐิ อุทธัจจะ โทมนัส เพราะปรารภ
    อุทธัจจะ อุทธัจจะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา เกิดขึ้น เพราะปรารภโทมนัส ปรา รบ โทม มะ นัด
    โทมนัส เกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ เกิดขึ้น
    นีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณวิปปยุตตธรรม โดยอารัมมณ-
    *ปัจจัย
    คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม
    พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน
    บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม โดยความ
    เป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา
    บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม
    โดยเจโตปริยญาณ เจ โต ปะ ริ ยะ ยาน
    ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ อิด ทิ วิท ทะ ยาน แก่
    เจโตปริยญาณ แก่บุพเพนิวาสานุสสติญาณ บุบ เพ นิ วา สา นุด สะ ติ ยาน แก่ยถากัมมุปคญาณ ยะ ถา กำ มุ ปะ คะ ยาน แก่อนาคตังสญาณ อะ นา คะ ตัง สะ ยาน
    แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย
    นีวรณวิปปยุตตธรรมเป็นปัจจัยแก่นีวรณวิปปยุตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    คือ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ แล้ว พิจารณากุศล-
    *กรรมนั้น
    กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
    ออกจากฌาน ฌาน ฯลฯ ชาน ชาน และอื่น ๆ
    พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค มรรค ฯลฯ พิจารณาผล นิพพาน ฯลฯ
    นิพพาน เป็นปัจจัยแก่ โคตรภู โคด ตะ ระ พู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล แก่
    อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย
    จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณ
    วิปปยุตตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา
    บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ตลอดถึงอาวัชชนะ
    นีวรณวิปปยุตตธรรมเป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมปยุตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    คือ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม อุ โบ สด ถะ กำ ฯลฯ
    กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
    จากฌาน ฯลฯ
    จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง
    ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณวิปปยุตตธรรม เพราะปรารภจักขุเป็นต้นนั้น ราคะ
    ทิฏฐิ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ โทมนัส เกิดขึ้น
    [๖๒๗] นีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมปยุตตธรรม โดย
    อธิปติปัจจัย
    มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ
    ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลกระทำราคะให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
    แน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำความยินดีนั้นให้เป็นอารมณ์
    อย่างหนักแน่น ราคะ ทิฏฐิ เกิดขึ้น
    ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็น
    ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมโดยอธิปติปัจจัย
    นีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณวิปปยุตตธรรมโดยอธิปติปัจจัย
    มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตต-
    *ธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย



    <CENTER>พึงถามถึงมูล
    </CENTER>อธิปติธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
    จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย
    นีวรณวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณวิปปยุตตธรรม โดยอธิปติปัจจัย
    มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ
    ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม
    ฯลฯ แล้ว กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา
    กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ใน กาน ก่อน ฯลฯ
    ออกจากฌาน ฌาน ฯลฯ
    พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
    แน่น ฯลฯ ผล ฯลฯ นิพพาน ฯลฯ
    นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล โดยอธิปติปัจจัย
    ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นนีวรณวิปปยุตตธรรม เป็น
    ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย
    นีวรณวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมปยุตตธรรม โดยอธิปติปัจจัย
    มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ ทาน ฯลฯ
    กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
    ฌาน ฯลฯ
    จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณวิปป-
    *ยุตตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ
    กระทำจักขุเป็นต้นนั้นให้หนักแน่น ราคะ ทิฏฐิ เกิดขึ้น
    [๖๒๘] นีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมปยุตตธรรม
    โดยอนันตรปัจจัย
    คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย
    แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย



    <CENTER>พึงถามถึงมูล
    </CENTER>ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ โดย
    อนันตรปัจจัย
    ในที่นี้ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ ไม่มี



    <CENTER>พึงถามถึงมูล
    </CENTER>ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณวิปปยุตตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่
    ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณวิปปยุตตธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลม
    เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย
    นีวรณวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมปยุตตธรรม โดยอนันตร-
    *ปัจจัย
    คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม
    โดยอนันตรปัจจัย
    นีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมปยุตตธรรม โดยสมนันตร
    ปัจจัย
    ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย
    ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอัญญมัญญปัจจัย
    ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยนิสสยปัจจัย
    [๖๒๙] นีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมปยุตตธรรม โดย
    อุปนิสสยปัจจัย
    มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ปะ กะ ตู ปะ นิด สะ ยะ
    ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยราคะแล้ว ฆ่าสัตว์
    ฯลฯ ทำลายสงฆ์
    บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะ ฯลฯ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนา
    แล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์
    ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา
    โดยอุปนิสสยปัจจัย
    นีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณวิปปยุตตธรรม โดยอุปนิสสย
    ปัจจัย
    มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ
    ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยราคะแล้ว ให้ทาน
    ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ยังฌาน วิปัสสนา มรรค อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้
    เกิดขึ้น
    บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ
    ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น
    ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่
    สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย
    นีวรณวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณวิปปยุตตธรรม โดยอุปนิสสย
    ปัจจัย
    มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ
    ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ให้
    ทาน รักษาศีล ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น
    บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ เสนาสนะ แล้วให้ทาน
    ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น
    ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่
    มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย
    นีวรณวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมปยุตตธรรม โดยอุปนิสสย
    ปัจจัย
    มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ
    ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อมานะ
    ถือทิฏฐิ
    บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ
    แล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์
    ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะ แก่โทสะ แก่โมหะ
    แก่มานะ แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย
    [๖๓๐] นีวรณวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณวิปปยุตตธรรม โดย
    ปุเรชาตปัจจัย
    มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต
    ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่จักขุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นหทัยวัตถุ
    โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา
    บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
    รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ โผด ถับ พา ยะ ตะ นะ เป็นปัจจัยแก่
    กายวิญญาณ
    ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ
    กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
    นีวรณวิปปยุตตธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย
    นีวรณวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมปยุตตธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย
    มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต วัด ถุ ปุ เร ชา ตะ
    ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ บุคคลย่อมยินดี ย่อม
    เพลิดเพลินยิ่งซึ่งหทัยวัตถุ เพราะปรารภความยินดีนั้น ราคะ โทสะ โมหะ
    เกิดขึ้น
    ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
    นีวรณสัมปยุตตธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย
    [๖๓๑] นีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณวิปปยุตตธรรม
    โดยปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ นัย
    ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๒ นัย
    [๖๓๒] นีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมปยุตตธรรม
    โดยกัมมปัจจัย เจตนาที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
    ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย



    <CENTER>พึงกระทำมูล
    </CENTER>มี ๒ อย่าง คือ สหชาต สะ หะ ชา ตะ นานาขณิก นา นา ขะ นิ กะ
    ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่
    จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย
    ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัย
    แก่วิบากขันธ์ วิ บาก ขัน และ กฏัตตารูป กะ ตัด ตา รูบ ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย
    เจตนาที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
    จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย
    นีวรณวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณวิปปยุตตธรรม โดยกัมมปัจจัย
    มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ฯลฯ
    ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยวิปากปัจจัย มี ๑ นัย
    [๖๓๓] นีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมปยุตตธรรม
    โดยอาหารปัจจัย
    ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย
    ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย
    ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย
    ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ นัย
    [๖๓๔] นีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณวิปปยุตตธรรม โดย
    วิปปยุตตปัจจัย
    มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ
    นีวรณวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณวิปปยุตตธรรม โดยวิปปยุตต-
    *ปัจจัย
    มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ
    นีวรณวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมปยุตตธรรม โดยวิปปยุตต-
    *ปัจจัย
    มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย
    ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย
    [๖๓๕] นีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมปยุตตธรรม โดย
    อัตถิปัจจัย อัด ถิ ปัด ไจ
    คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย
    อัตถิปัจจัย
    นีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณวิปปยุตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย
    มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต
    ที่เป็นสหชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัย
    แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย
    ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็น
    ปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย
    นีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมปยุตตธรรม และนีวรณ-
    *วิปปยุตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย
    คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
    จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดย
    อัตถิปัจจัย
    นีวรณวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณวิปปยุตตธรรม โดยอัตถิ
    ปัจจัย
    มี ๕ อย่าง คือ สหชาต สะ หะ ชา ตะ ปุเรชาต ปุ เร ชา ตะ ปัจฉาชาต ปัด ฉา ชา ตะ อาหาร อา หา ระ อินทรีย์ อิน ซี ฯลฯ
    นีวรณวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมปยุตตธรรม โดย
    อัตถิปัจจัย
    มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ บุคคลย่อมยินดี ย่อม
    เพลิดเพลินยิ่งซึ่งหทัยวัตถุ เพราะปรารภจักขุ ปรา รบ จัก ขุ เป็นต้นนั้น ราคะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา
    อุทธัจจะ โทมนัส เกิดขึ้น หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณ
    สัมปยุตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย
    นีวรณสัมปยุตตธรรม และนีวรณวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณ-
    *สัมปยุตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย
    มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต
    ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม และหทัยวัตถุ
    เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
    ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย
    นีวรณสัมปยุตตธรรม และนีวรณวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณ-
    *วิปปยุตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย
    มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์
    ที่เป็นสหชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม และ
    มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย
    ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม และ
    กวฬิงการาหาร กะ วะ ลิง กา รา หาน เป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอัตถิปัจจัย
    ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม และ
    รูปชีวิตินทรีย์ รูบ ชี วิ ติน ซี เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป กะ ตัด ตา รูบ ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย
    [๖๓๖] ในเหตุปัจจัย เห ตุ ปัด ไจ มีหัวข้อปัจจัย ๔
    ในอารัมมณปัจจัย มี " ๔
    ในอธิปติปัจจัย มี " ๕
    ในอนันตรปัจจัย มี " ๔
    ในสมนันตรปัจจัย มี " ๔
    ในสหชาตปัจจัย มี " ๕
    ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๒
    ในนิสสยปัจจัย มี " ๗
    ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๔
    ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๒
    ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๒
    ในอาเสวนปัจจัย มี " ๒
    ในกัมมปัจจัย มี " ๔
    ในวิปากปัจจัย มี " ๑
    ในอาหารปัจจัย อา หา ระ ปัด ไจ มีหัวข้อปัจจัย ๔
    ในอินทริยปัจจัย มี " ๔
    ในฌานปัจจัย มี " ๔
    ในมัคคปัจจัย มี " ๔
    ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๒
    ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๓
    ในอัตถิปัจจัย มี " ๗
    ในนัตถิปัจจัย มี " ๔
    ในวิคตปัจจัย มี " ๔
    ในอวิคตปัจจัย มี " ๗
    [๖๓๗] นีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมปยุตตธรรม
    โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย
    นีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณวิปปยุตตธรรม โดยอารัมมณ-
    *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย
    โดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย
    นีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมปยุตตธรรม และนีวรณ-
    *วิปปยุตตธรรม โดยสหชาตปัจจัย
    นีวรณวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณวิปปยุตตธรรม โดยอารัมมณ-
    *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย
    โดยปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย
    เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย อา หา ระ ปัด ไจ เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย
    นีวรณวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมปยุตตธรรม โดยอารัมมณ-
    *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย
    นีวรณสัมปยุตตธรรม และนีวรณวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณ-
    *สัมปยุตตธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย
    นีวรณสัมปยุตตธรรม และนีวรณวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณ-
    *วิปปยุตตธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัย
    โดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย
    [๖๓๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย เห ตุ ปัด ไจ มีหัวข้อปัจจัย ๗
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๗
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๗
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๗
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๗
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่สหชาตปัจจัย มี " ๕
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๕
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่นิสสยปัจจัย มี " ๕
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๗
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๖
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๗
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๕
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๔
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย มี " ๔
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๗
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๗
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๔
    [๖๓๙] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย
    กับ เหตุปัจจัย เห ตุ ปัด ไจ มีหัวข้อปัจจัย ๔
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย
    กับ ฯลฯ กับ และอื่น ๆ มี " ๔ มี หัว ข้อ ปัด ไจ สี่
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย
    กับ ฯลฯ มีหัวข้อปัจจัย ๔
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย
    กับ ฯลฯ มี " ๔
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย
    กับ ฯลฯ มี " ๒
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย
    กับ ฯลฯ มี " ๔
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย
    กับ ฯลฯ มี " ๔
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย
    กับ ฯลฯ มี " ๒
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย
    กับ ฯลฯ มี " ๒
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย
    กับ ฯลฯ มี " ๔
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย
    กับ ฯลฯ มี " ๔
    [๖๔๐] ในอารัมมณปัจจัย
    กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๔
    ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕



    <CENTER>พึงกระทำการนับโดยอนุโลม
    </CENTER>ในอวิคตปัจจัย
    กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มี " ๗

    เครื่อ่งหมาย " อ่าน มี หัว ข้อ ปัด ไจ ทุกอัน



    <CENTER>นีวรณสัมปยุตตทุกะ จบ
    </CENTER>

    ขอบพระคุณมากเจ้าค่ะพี่ผ่อน:d
    ;41

    อนุโมทนาจ้ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 เมษายน 2011
  3. Charmaar

    Charmaar เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    78
    ค่าพลัง:
    +341
    ฯลฯ ต้องอ่านไหมคะ ไม่ทราบว่าอ่านอย่างไร

    ต้องอ่านจ้ะ




    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="98%" align=center><TBODY><TR><TD style="BACKGROUND-REPEAT: repeat-y" vAlign=top background=../../images/bgnew/nl_1.gif width=7>[​IMG]</TD><TD style="BACKGROUND-REPEAT: repeat-x" bgColor=#ffffff vAlign=top background=../../images/bgnew/nc.gif width=683><TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=1 width="100%"><TBODY><TR><TD align=right><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="98%" align=center><TBODY><TR><TD width=9>[​IMG]</TD><TD style="BACKGROUND-REPEAT: repeat-x" background=../../images/bgnew/h_c.gif align=right>การอ่านเครื่องหมายไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่</TD><TD width=9>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="96%" align=center><TBODY><TR><TD>
    การอ่านเครื่องหมายไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่
    ๕.๑ เครื่องหมายไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่ ที่อยู่ข้างท้ายข้อความ ให้อ่านว่า ละ หรือ และอื่นๆ เช่น
    สิ่งของที่ซื้อขายกันในตลาดมี เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ น้ำตาล น้ำปลา ฯลฯ
    อ่านว่า สิ่ง-ของ-ที่-ซื้อ-ขาย-กัน...
    น้ำ- ปฺลา ละ
    หรือ สิ่ง-ของ-ที่-ซื้อ-ขาย-กัน...
    น้ำ- ปฺลา และ-อื่น-อื่น
    ๕.๒ เครื่องหมายไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่ ที่อยู่ตรงกลางข้อความ อ่านว่า ละถึง เช่น
    พยัญชนะไทย ๔๔ ตัว มี ก ฯลฯ ฮ
    อ่านว่า พะ-ยัน-ชะ-นะ-ไท-สี่-สิบ-สี่-ตัว มี กอ ละ-ถึง ฮอ
    ที่มา หนังสือ อ่านอย่างไร และ เขียนอย่างไร ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พิมพ์ครั้งที่ ๑๖, กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖ หน้า ๘๒

    </TD></TR><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    อัพยากฤต = อับ พะ ยา กะ ริด ? หรือ อับ พะ ยา กิด?

    อับ พะ ยา กริด

    กริด ออกเสียงกล้ำร.เรือ


    ต้องขอโทษด้วยค่ะที่ถามซ้ำ เพราะว่าปวดตากับการจ้องคอมส์พิวเตอร์มาก
    ทำให้สืบค้นลำบากค่ะ

    ขอบคุณค่ะ

    อนุโมทนาจ้ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 18 เมษายน 2011
  4. Kob

    Kob เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    6,161
    ค่าพลัง:
    +19,894
    <CENTER>อุปปาทนิโรธวาร อุบ ปา ทะ นิ โร ทะ วา ระ
    </CENTER>[๑๑๘๒] กายสังขาร กาย ยะ สัง ขาน ย่อมเกิดขึ้นแก่สัตว์ใด วจีสังขารของสัตว์นั้น ย่อมดับไป
    หรือ?
    หามิได้.
    หรือว่า วจีสังขาร วะ จี สัง ขาน ของสัตว์ใด ย่อมดับไป กายสังขารย่อมเกิดขึ้นแก่สัตว์นั้น?
    หามิได้.
    กายสังขารย่อมเกิดขึ้นแก่สัตว์ใด จิตตสังขารของสัตว์นั้นย่อมดับไปหรือ?
    หามิได้.
    หรือว่า จิตตสังขาร จิด ตะ สัง ขาน ของสัตว์ใด ย่อมดับไป กายสังขารย่อมเกิดขึ้นแก่สัตว์นั้น?
    หามิได้.
    วจีสังขารย่อมเกิดขึ้นแก่สัตว์ใด จิตตสังขารของสัตว์นั้นย่อมดับไปหรือ?
    หามิได้.
    หรือว่า จิตตสังขารของสัตว์ใด ย่อมดับไป วจีสังขารย่อมเกิดขึ้นแก่สัตว์นั้น?
    หามิได้.
    กายสังขารย่อมเกิดขึ้นในภูมิใด วจีสังขารในภูมินั้น ย่อมดับไปหรือ?
    กายสังขารย่อมเกิดขึ้นในภูมินั้น คือ ในทุติยฌาน ในตติยฌาน แต่วจีสังขารในภูมินั้น
    ย่อมดับไป ก็หาไม่ ฯลฯ คำว่า ยตฺถ ยัด ถะ นอกจากนี้ เป็นเช่นเดียวกัน.
    กายสังขารย่อมเกิดขึ้นแก่สัตว์ใด ในภูมิใด ฯลฯ คำว่า ยสฺส ยัด สะ ก็ดี คำว่า ยสฺส
    ยตฺถ ยัด สะ ยัด ถะ ก็ดี เป็นเช่นเดียวกัน.
    [๑๑๘๓] กายสังขารย่อมไม่เกิดขึ้นแก่สัตว์ใด วจีสังขารของสัตว์นั้น ย่อมไม่ดับ
    ไปหรือ?
    กายสังขารย่อมเกิดขึ้นแก่สัตว์เหล่านั้น ในภังคขณะ พัง คะ ขะ หนะ แห่งวิตกและวิจาร แต่วจีสังขาร
    ของสัตว์เหล่านั้นย่อมไม่ดับไปก็หาไม่ กายสังขารย่อมไม่เกิดขึ้นแก่สัตว์เหล่านั้น ในอุปปาทขณะแห่งจิต อุบ ปา ทะ ขะ หนะ แห่ง จิต เว้นลมอัสสาสะปัสสาสะ ในภังคขณะแห่งจิต เว้นวิตกและวิจาร ผู้เข้านิโรธ
    ผู้เป็นอสัญญสัตว์ และวจีสังขารก็ย่อมไม่ดับไป.
    หรือว่า วจีสังขารของสัตว์ใดย่อมไม่ดับไป กายสังขารย่อมไม่เกิดขึ้นแก่สัตว์นั้น?
    วจีสังขารของสัตว์เหล่านั้น ในอุปปาทขณะแห่งลมอัสสาสะปัสสาสะ ย่อมไม่ดับไป แต่
    กายสังขารย่อมไม่เกิดขึ้นแก่สัตว์เหล่านั้นก็หาไม่ วจีสังขารของสัตว์เหล่านั้น ในอุปปาทขณะแห่ง
    จิตเว้นลมอัสสาสะปัสสาสะ ในภังคขณะแห่งจิต เว้นวิตกและวิจาร ผู้เข้านิโรธและผู้เป็น
    อสัญญสัตว์ ย่อมไม่ดับไป และกายสังขารก็ย่อมไม่เกิดขึ้น.
    [๑๑๘๔] กายสังขารย่อมไม่เกิดขึ้นแก่สัตว์ใด จิตตสังขารของสัตว์นั้น ย่อมไม่
    ดับไปหรือ?
    กายสังขารย่อมไม่เกิดขึ้นแก่สัตว์เหล่านั้นทั้งหมด ในภังคขณะแห่งจิต แต่จิตตสังขาร
    ของสัตว์เหล่านั้น ย่อมไม่ดับไปก็หาไม่ กายสังขารย่อมไม่เกิดขึ้นแก่สัตว์เหล่านั้น ในอุปปาทขณะ
    แห่งจิตเว้นลมอัสสาสะปัสสาสะ ผู้เข้านิโรธผู้เป็นอสัญญสัตว์ และจิตตสังขารก็ย่อมไม่ดับไป.
    หรือว่า จิตตสังขารของสัตว์ใด ย่อมไม่ดับไป กายสังขารย่อมไม่เกิดขึ้นแก่สัตว์
    นั้น?
    จิตตสังขารของสัตว์เหล่านั้น ในอุปปาทขณะแห่งลมอัสสาสะปัสสาสะ ย่อมไม่ดับไป
    แต่กายสังขารย่อมไม่เกิดขึ้นแก่สัตว์เหล่านั้นก็หาไม่ จิตตสังขารของสัตว์เหล่านั้น ในอุปปาท
    ขณะแห่งจิต เว้นลมอัสสาสะปัสสาสะ ผู้เข้านิโรธ ผู้เป็นอสัญญสัตว์ ย่อมไม่ดับไป และ
    กายสังขารก็ย่อมไม่เกิดขึ้น.
    [๑๑๘๕] วจีสังขารย่อมไม่เกิดขึ้นแก่สัตว์ใด จิตตสังขารของสัตว์นั้น ย่อมไม่ดับ
    ไปหรือ?
    วจีสังขารย่อมไม่เกิดขึ้นแก่สัตว์เหล่านั้นทั้งหมด ในภังคขณะแห่งจิต แต่จิตตสังขาร
    ของสัตว์เหล่านั้นย่อมไม่ดับไปก็หาไม่ วจีสังขารย่อมไม่เกิดขึ้นแก่สัตว์เหล่านั้น ในอุปปาทขณะ
    แห่งจิต เว้นวิตกและวิจาร ผู้เข้านิโรธ ผู้เป็นอสัญญสัตว์ และจิตตสังขารก็ย่อมไม่ดับไป.
    หรือว่า จิตตสังขารของสัตว์ใด ย่อมไม่ดับไป วจีสังขารย่อมไม่เกิดขึ้นแก่
    สัตว์นั้น?
    จิตตสังขารของสัตว์เหล่านั้น ในอุปปาทขณะแห่งวิตกและวิจารย่อมไม่ดับไป แต่
    วจีสังขารย่อมไม่เกิดขึ้นแก่สัตว์เหล่านั้นก็หาไม่ จิตตสังขารของสัตว์เหล่านั้น ในอุปปาทขณะ
    แห่งจิต เว้นวิตกและวิจาร ผู้เข้านิโรธ ผู้เป็นอสัญญสัตว์ ย่อมไม่ดับไป และวจีสังขารก็ย่อม
    ไม่เกิดขึ้น.
    [๑๑๘๖] กายสังขารย่อมไม่เกิดขึ้นในภูมิใด ฯลฯ.
    [๑๑๘๗] กายสังขารย่อมไม่เกิดขึ้นแก่สัตว์ใด ในภูมิใด ฯลฯ.
    ข้อว่า ยสฺส ยัด สะ (แก่สัตว์ใด) ก็ดี ข้อว่า ยสฺส ยตฺถ ยัด สะ ยัด ถะ (ของสัตว์ใด ในภูมิใด) ก็ดี เป็น
    เช่นเดียวกัน.
    บทว่า นิโรธสมาปนฺนานํ นิ โร ทะ สะ มา ปัน นา นัง ย่อมไม่ได้ในข้อว่า ยสฺส ยตฺถ (ของสัตว์ใด ในภูมิใด).
    [๑๑๘๘] กายสังขารเคยเกิดขึ้นแล้วแก่สัตว์ใด วจีสังขารของสัตว์นั้น เคยดับไป
    แล้วหรือ?
    ถูกแล้ว.
    คำถามที่เป็นอดีต ในอุปปาทวาร ก็ดี ในนิโรธวาร ก็ดี ในอุปปาทนิโรธวาร ก็ดี
    พึงให้พิสดารเช่นเดียวกัน.
    [๑๑๘๙] กายสังขารจักเกิดขึ้นแก่สัตว์ใด วจีสังขารของสัตว์นั้น จักดับไปหรือ?
    ถูกแล้ว.
    หรือว่า วจีสังขารของสัตว์ใด จักดับไป กายสังขารจักเกิดขึ้นแก่สัตว์นั้น?
    วจีสังขารของสัตว์เหล่านั้น ผู้เกิดในกามาวจรภูมิ ในอุปปาทขณะแห่งปัจฉิมจิต ผู้เกิด
    ในกามาวจรภูมิ ที่จักมีปัจฉิมจิตเกิดขึ้น ในลำดับแห่งจิตใด ผู้เป็นปัจฉิมภวิกสัตว์ ในรูปาวจรภูมิ
    ในอรูปาวจรภูมิ ผู้เข้าถึงรูปาวจรภูมิ อรูปาวจรภูมิ แล้วจักปรินิพพาน ที่กำลังจุติอยู่จักดับไป
    แต่กายสังขารจักเกิดขึ้นแก่สัตว์เหล่านั้นก็หาไม่ วจีสังขารของสัตว์ทั้งหลาย นอกนี้ จักดับไป
    และกายสังขารก็จักเกิดขึ้น.
    [๑๑๙๐] กายสังขารจักเกิดขึ้นแก่สัตว์ใด จิตตสังขารของสัตว์นั้น จักดับไปหรือ?
    ถูกแล้ว.
    หรือว่า จิตตสังขารของสัตว์ใด จักดับไป กายสังขารจักเกิดขึ้นแก่สัตว์นั้น?
    จิตตสังขารของสัตว์เหล่านั้น ผู้เกิดในกามาวจรภูมิ ในอุปปาทขณะแห่งปัจฉิมจิต
    ผู้เกิดในกามาวจรภูมิ ที่จักมีปัจฉิมจิตเกิดขึ้น ในลำดับแห่งจิตใด ผู้เป็นปัจฉิมภวิกสัตว์
    ในรูปาวจรภูมิ ในอรูปาวจรภูมิ ผู้เข้าถึงรูปาวจรภูมิ รู ปา วะ จอน พูม อรูปาวจรภูมิ อะ รู ปา วะ จอน พูม แล้วจักปรินิพพาน ที่กำลังจุติ
    อยู่จักดับไป แต่กายสังขารจักเกิดขึ้นแก่สัตว์เหล่านั้นก็หาไม่ จิตตสังขารของสัตว์ทั้งหลาย
    นอกนี้ จักดับไป และกายสังขารก็จักเกิดขึ้น.


    ฯลฯ

    อนุโมทนาจ้ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 20 เมษายน 2011
  5. wvichakorn

    wvichakorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    3,681
    ค่าพลัง:
    +9,239
    พี่ผ่อนคะ..

    เหตุปัจจัย..อ่านว่า..เห ตุ ปัด จัย
    หรืออ่านว่า ..เหด ปัด จัย ..คะ..

    ขอบคุณค่ะ
     
  6. Siranya

    Siranya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    2,051
    ค่าพลัง:
    +9,004
    บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะ ฯลฯ โมหะ// อ่าน ละถึง โมหะ มานะ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนา//อ่านว่า ละ ถึง ความ ปาด ถะ หนา
    แล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์//อ่านว่า ละถึง ทำ ลาย สงฆ์

    ขอบคุณมากค่ะเดี๋ยว หมาน้อยไปทำเครื่องหมายไว้ในถามคำอ่านนะค่ะ

    http://palungjit.org/threads/หลักเกณฑ์ต่างๆ-ของราชบัณฑิตยสถาน-ที่นำมาใช้กับการอ่านพระไตรฯ.191433/

    อนุโมทนาจ้ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 24 เมษายน 2011
  7. Siranya

    Siranya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    2,051
    ค่าพลัง:
    +9,004
    ถามคำอ่านค่ะพี่ผ่อน

    <CENTER>นีวรณนีวรณียทุกะ นี วอ ระ นะ นี วอ ระ นี ยะ ทุ กะ


    </CENTER><CENTER>ปฏิจจวาร ปะ ติด จะ วา ระ
    </CENTER>[๖๔๑] ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณียธรรม นี วอ ระ นี ยะ ทำ อาศัยธรรมที่เป็น
    ทั้งนีวรณธรรมและนีวรณียธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    คือ ถีนมิทธนิวรณ์ ถี นะ มิด ทะ นิ วอน อุทธัจจนิวรณ์ อวิชชานิวรณ์ อะ วิด ชา นิ วอน อาศัย กามฉันทนิวรณ์ กาม มะ ฉัน ทะ นิ วอน
    การนับทั้งหมดพึงกระทำอย่างนี้ เหมือนกับ นีวรณทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน
    [​IMG]
    <!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 27 เมษายน 2011
  8. Siranya

    Siranya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    2,051
    ค่าพลัง:
    +9,004
    ถามคำอ่านค่ะ

    <CENTER>ปัญหาวาร
    </CENTER>[๖๔๒] ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณียธรรม นี วอ ระ นี ยะ ทำ เป็นปัจจัยแก่
    ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณียธรรม โดยเหตุปัจจัย
    คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณียธรรม เป็นปัจจัยแก่
    สัมปยุตตนีวรณธรรมทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย
    ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณียธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น
    นีวรณียธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดยเหตุปัจจัย
    คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณียธรรม เป็นปัจจัยแก่
    สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย
    ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณียธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น
    ทั้งนีวรณธรรมและนีวรณียธรรม และธรรมที่เป็นนีวรณียธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณ-
    *ธรรม โดยเหตุปัจจัย
    คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณียธรรม เป็นปัจจัยแก่
    สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และนีวรณธรรม และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดย
    เหตุปัจจัย
    ธรรมที่เป็นนีวรณียธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่
    เป็นนีวรณียธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดยเหตุปัจจัย
    คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นนีวรณียธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัย
    แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ปฏิสนธิ
    [๖๔๓] ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณียธรรม เป็นปัจจัยแก่
    ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณียธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    คือ เพราะปรารภนีวรณธรรมทั้งหลาย นีวรณธรรมทั้งหลาย เกิดขึ้น


    <CENTER>พึงถามถึงมูล
    </CENTER>เพราะปรารภนีวรณธรรมทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณียธรรม แต่
    ไม่ใช่นีวรณธรรม เกิดขึ้น


    <CENTER>พึงถามถึงมูล
    </CENTER>เพราะปรารภนีวรณธรรมทั้งหลาย นีวรณธรรม และสัมปยุตตขันธ์
    ทั้งหลาย เกิดขึ้น
    ธรรมที่เป็นนีวรณียธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น
    นีวรณียธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    คือ ทาน ฯลฯ และอื่น ๆ ศีล ฯลฯ และอื่น ๆ บุคคลกระทำอุโบสถกรรมแล้วพิจารณา
    กุศลกรรมนั้นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภความยินดีนั้น
    ราคะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ โทมนัส เกิดขึ้น
    กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ และอื่น ๆ
    จากฌาน ฯลฯ จาก ชาน และอื่น ๆ
    พระอริยะทั้งหลายพิจารณาโคตรภู โวทาน ฯลฯ และอื่น ๆ กิเลสที่ละแล้ว ฯลฯ และอื่น ๆ
    กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ และอื่น ๆ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ และอื่น ๆ
    จักขุ ฯลฯ และอื่น ๆ หทัยวัตถุ ฯลฯ และอื่น ๆ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็น
    นีวรณียธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ และอื่น ๆ ย่อมยินดี
    ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ฯลฯ และอื่น ๆ โทมนัส ฯลฯ และอื่น ๆ
    ด้วยทิพพจักขุ ฯลฯ และอื่น ๆ พึงกระทำตลอดถึงอาวัชชนะ
    ธรรมที่เป็นนีวรณียธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น
    ทั้งนีวรณธรรมและนีวรณียธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    คือ ทาน ฯลฯ และอื่น ๆ ศีล ฯลฯ และอื่น ๆ อุโบสถกรรม ฯลฯ และอื่น ๆ
    กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ และอื่น ๆ
    จากฌาน ฯลฯ และอื่น ๆ
    จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง
    ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณียธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เพราะปรารภจักขุเป็นต้น
    นั้น ราคะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ โทมนัส เกิดขึ้น
    ธรรมที่เป็นนีวรณียธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น
    ทั้งนีวรณธรรมและนีวรณียธรรม และธรรมที่เป็นนีวรณียธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม
    โดยอารัมมณปัจจัย
    คือ ทาน ฯลฯ และอื่น ๆ ศีล ฯลฯ และอื่น ๆ อุโบสถกรรม ฯลฯ และอื่น ๆ
    กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ และอื่น ๆ
    จากฌาน ฯลฯ และอื่น ๆ
    จักขุ ฯลฯ และอื่น ๆ หทัยวัตถุ ฯลฯ และอื่น ๆ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง
    ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณียธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เพราะปรารภจักขุ
    เป็นต้นนั้น นีวรณธรรมและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น
    ทั้ง ๓ นัยแม้นอกนี้ พึงกระทำอย่างนี้
    อธิปติปัจจัย เหมือนกับ อารัมมณปัจจัย
    แม้ปุเรชาตปัจจัย ก็เหมือนกับ อารัมมณปัจจัย
    ส่วนในนิสสยปัจจัย ไม่พึงกระทำ โลกุตตระ


    <CENTER>ฯลฯ ละ

    </CENTER><CENTER>พึงให้พิสดารอย่างนี้

    </CENTER><CENTER>นีวรณทุกะ ฉันใด พึงพิจารณา แล้วกระทำฉันนั้น

    </CENTER><CENTER>นีวรณนีวรณียทุกะ จบ
    </CENTER>
    [​IMG]
    งงๆกับ เครื่อง ฯลฯ นี้นะค่ะพี่ผ่อน

    อนุโมทนาจ้ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 27 เมษายน 2011
  9. Siranya

    Siranya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    2,051
    ค่าพลัง:
    +9,004
    ถามคำอ่านจ้าพี่ผ่อน

    <CENTER>นีวรณนีวรณสัมปยุตตทุกะ นี วอ ระ นะ นี วอ ระ นะ สำ ปะ ยุด ตะ ทุ กะ


    </CENTER><CENTER>ปฏิจจวาร
    </CENTER>[๖๔๔] ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัย
    ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    คือ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ อวิชชานิวรณ์ อาศัย
    กามฉันทนิวรณ์



    <CENTER>พึงผูกจักรนัย พึงทำนิวรณ์ทั้งหมด
    </CENTER>ธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม อาศัยธรรมที่เป็น
    ทั้งนีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยนีวรณธรรมทั้งหลาย
    ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็น
    นีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม
    และนีวรณสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    คือ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ อวิชชานิวรณ์ และสัมปยุตตขันธ์
    ทั้งหลาย อาศัยกามฉันทนิวรณ์



    <CENTER>พึงผูกจักรนัย
    </CENTER>ธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม อาศัยธรรมที่เป็น
    นีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่
    นีวรณธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ เจอแบบนี้ ก็อ่าน ขัน สอง และอื่น ๆ
    ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็น
    นีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    คือ นีวรณธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม
    แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม
    ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็น
    นีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม อาศัยธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม
    แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    คือ ขันธ์ ๓ และนีวรณธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
    นีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ
    ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็น
    ทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม
    แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    คือ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ อวิชชานิวรณ์ อาศัยกามฉันทนิวรณ์
    และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย



    <CENTER>พึงผูกจักรนัย
    </CENTER>ธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม อาศัยธรรม
    ที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตต-
    *ธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่
    นีวรณธรรม และนีวรณธรรมทั้งหลาย ขันธ์ ๒ ฯลฯ
    ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็น
    นีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและ
    นีวรณสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    คือ ขันธ์ ๓ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ อวิชชานิวรณ์ อาศัย
    ขันธ์ ๑ ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม และกามฉันทนิวรณ์
    ขันธ์ ๒ ฯลฯ


    (สรุป ขันธ์ ๒ ฯลฯ เจอแบบนี้ ก็อ่าน ขัน สอง และอื่น ๆ )


    <CENTER>พึงผูกจักรนัย


    </CENTER><CENTER>ฯลฯ ละ
    </CENTER>[๖๔๕] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
    ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙
    ในอธิปติปัจจัย มี " ๙
    ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙
    ในกัมมปัจจัย มี " ๙
    ในอาหารปัจจัย มี " ๙
    ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
    [๖๔๖] ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัย
    ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ
    เหตุปัจจัย
    คือ อวิชชานิวรณ์ อาศัยวิจิกิจฉานิวรณ์ อวิชชานิวรณ์ อาศัย
    อุทธัจจนิวรณ์
    ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็น
    นีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
    คือ อวิชชานิวรณ์ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต
    ด้วยอุทธัจจะ
    ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็น
    ทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม
    แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
    คือ อวิชชานิวรณ์ อาศัยวิจิกิจฉานิวรณ์ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
    อวิชชานิวรณ์ อาศัยอุทธัจจนิวรณ์ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย



    <CENTER>ฯลฯ ละ
    </CENTER>[๖๔๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๙
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๙
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๙
    [๖๔๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย
    กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ฯลฯ ละถึง
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย
    กับ ฯลฯ และอื่น ๆ มี " ๙
    [๖๔๙] ในอารัมมณปัจจัย
    กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
    ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ และอื่น ๆมี " ๓
    ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ และอื่น ๆมี " ๓
    ในปัจจัยทั้งปวง กับ ฯลฯ และอื่น ๆมี " ๓
    ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ และอื่น ๆมี " ๓
    ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ และอื่น ๆมี " ๓
    สหชาตวารก็ดี ปัจจัยวารก็ดี นิสสยวารก็ดี สังสัฏฐวาร สัง สัด ถะ วา ระ ก็ดี สัมปยุตตวาร
    ก็ดี เหมือนกับ ปฏิจจวาร ไม่มีแตกต่างกัน​

    [​IMG]
    เครื่องหมาย ฯลฯ นี้อีกแล้วค่ะพี่
    ขอบคุณมากนะค่ะ

    <!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 29 เมษายน 2011
  10. Siranya

    Siranya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    2,051
    ค่าพลัง:
    +9,004
    สุดท้ายแล้วค่ะพี่ผ่อนคำถาม แต่วันนี้ขอพักก่อนค่ะ

    <CENTER>ปัญหาวาร
    </CENTER>[๖๕๐] ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็น
    ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม โดยเหตุปัจจัย
    คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม
    เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตนีวรณธรรมทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย
    ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่
    ธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดยเหตุปัจจัย
    คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม
    เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม โดยเหตุปัจจัย
    ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม
    ที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตต-
    *ธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดยเหตุปัจจัย
    คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม
    เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และนีวรณธรรมทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย
    [๖๕๑] ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็น
    ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม โดยอารัมมณ-
    *ปัจจัย
    คือ เพราะปรารภนีวรณธรรมทั้งหลาย นีวรณธรรมทั้งหลาย เกิดขึ้น



    <CENTER>พึงถามถึงมูล
    </CENTER>เพราะปรารภนีวรณธรรมทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตต-
    *ธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เกิดขึ้น



    <CENTER>พึงถามถึงมูล
    </CENTER>เพราะปรารภนีวรณธรรมทั้งหลาย นีวรณธรรม และสัมปยุตตขันธ์
    ทั้งหลาย เกิดขึ้น
    ธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม
    ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่
    นีวรณธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม
    เกิดขึ้น



    <CENTER>พึงถามถึงมูล
    </CENTER>เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่
    นีวรณธรรม นีวรณธรรมทั้งหลาย เกิดขึ้น
    เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่
    นีวรณธรรม นีวรณธรรมและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น
    ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็น
    นีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้ง
    นีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย
    [๖๕๒] ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็น
    ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม โดยอธิปติปัจจัย
    มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ มี ๓ นัย พึงกระทำว่า กระทำ
    ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นนั้นเทียว
    ธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม
    ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดยอธิปติปัจจัย
    มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ
    ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณ-
    *สัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลาย
    ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เกิดขึ้น
    ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม
    แต่ไม่ใช่นีวรณธรรมเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย



    <CENTER>พึงถามถึงมูล
    </CENTER>เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม
    ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นีวรณธรรมทั้งหลาย เกิดขึ้น
    ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม
    แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตนีวรณธรรมทั้งหลาย โดยอธิปติ-
    *ปัจจัย
    เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณ-
    *ธรรมให้หนักแน่น นีวรณธรรมและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น
    ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นนิวรณสัมปยุตตธรรม
    แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และนีวรณธรรมทั้งหลาย
    โดยอธิปติปัจจัย
    ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็น
    นีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม
    และนีวรณสัมปยุตตธรรม โดยอธิปติปัจจัย
    มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ มี ๓ นัย
    [๖๕๓] ฯลฯ ละ เป็นปัจจัย โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนะก็ดี วุฏฐานะ
    ก็ดี ไม่มี พึงกระทำว่า ที่เกิดก่อนๆ ในที่ทั้งปวง
    ฯลฯ ละ เป็นปัจจัย โดยสมนันตรปัจจัย มี ๙ นัย
    ฯลฯ ละ เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย มี ๙ นัย
    ฯลฯ ละ เป็นปัจจัย โดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ นัย
    ฯลฯ ละ เป็นปัจจัย โดยนิสสยปัจจัย มี ๙ นัย
    ฯลฯ ละ เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ นัย
    ฯลฯ ละ เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย เหมือนกับอารัมมณปัจจัย วิภังค์
    ไม่มี
    [๖๕๔] ธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม
    เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดยกัมมปัจจัย
    คือ เจตนาที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัย
    แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย



    <CENTER>พึงถามถึงมูล
    </CENTER>เจตนาที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่
    สัมปยุตตนีวรณธรรมทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย
    เจตนาที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่
    สัมปยุตตขันธ์ และนีวรณธรรมทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย
    [๖๕๕] ธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็น
    ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรมแต่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดยอาหารปัจจัย
    มี ๓ นัย
    ฯลฯ ละ เป็นปัจจัย โดยอินทริยปัจจัย มี ๓ นัย
    ฯลฯ ละ เป็นปัจจัย โดยฌานปัจจัย มี ๓ นัย
    ฯลฯ ละ เป็นปัจจัย โดยมัคคปัจจัย มี ๓ นัย
    ฯลฯ ละ เป็นปัจจัย โดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ นัย
    ฯลฯ ละ เป็นปัจจัย โดยอัตถิปัจจัย มี ๙ นัย
    ฯลฯ ละ เป็นปัจจัย โดยนัตถิปัจจัย มี ๙ นัย
    ฯลฯ ละ เป็นปัจจัย โดยวิคตปัจจัย มี ๙ นัย
    ฯลฯ ละ เป็นปัจจัย โดยอวิคตปัจจัย มี ๙ นัย
    [๖๕๖] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
    ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙
    ในอธิปติปัจจัย มี " ๙
    ในอนันตรปัจจัย มี " ๙
    ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙
    ในสหชาตปัจจัย มี " ๙
    ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๙
    ในนิสสยปัจจัย มี " ๙
    ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙
    ในอาเสวนปัจจัย มี " ๙
    ในกัมมปัจจัย มี " ๓
    ในอาหารปัจจัย มี " ๓
    ในอินทริยปัจจัย มี " ๓
    ในฌานปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
    ในมัคคปัจจัย มี " ๓
    ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๙
    ในอัตถิปัจจัย มี " ๙
    ในนัตถิปัจจัย มี " ๙
    ในวิคตปัจจัย มี " ๙
    ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
    [๖๕๗] ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรม และนีวรณสัมปยุตตธรรม เป็น
    ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งนีวรณธรรมและนีวรณสัมปยุตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย
    หัวข้อปัจจัย ๙ พึงเปลี่ยนแปลงใน ๓ บทอย่างนี้
    [๖๕๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๙
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๙
    [๖๕๙] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย
    กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย
    กับ ฯลฯ ละ มี " ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย
    กับ ฯลฯ ละ มี " ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย
    กับ ฯลฯ ละ มี " ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย
    กับ ฯลฯ ละ มี " ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย
    กับ ฯลฯ ละ มีหัวข้อปัจจัย ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย
    กับ ฯลฯ ละ มี " ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย
    กับ ฯลฯ ละ มี " ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย
    กับ ฯลฯ ละ มี " ๓
    [๖๖๐] ในอารัมมณปัจจัย
    กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
    ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ ละ มี " ๙



    <CENTER>พึงกระทำอนุโลมมาติกา
    </CENTER>ในอวิคตปัจจัย
    กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มี " ๙



    <CENTER>นีวรณนีวรณสัมปยุตตทุกะ จบ
    [​IMG]
    ดีใจจังพี่กบ พี่ผ่อนใกล้ความเป็นจริงแล้ว เดี๋ยวถ้ามีเวลาจะขอมาแก้ไขทุกๆหัวข้อค่ะ......โชคดีมีพี่สาวและพี่ชายช่วย
    :cool:ขอบคุณในความเมตตาเจ้าค่ะ:cool:

    อนุโมทนาจ้ะ
    <!-- google_ad_section_end --></CENTER>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 29 เมษายน 2011
  11. Siranya

    Siranya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    2,051
    ค่าพลัง:
    +9,004
    ขอบพระคุณมากเจ้า.....

    [​IMG]
    [​IMG]
     
  12. Siranya

    Siranya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    2,051
    ค่าพลัง:
    +9,004
    พี่ผ่อนค่ะ เหตุปัจจัย // อ่านว่า เหด ปัด จัย
    หรือ อ่านว่า เห ตุ ปัด จัย

    อ่านแบบสีเขียวถูก



    ขอบคุณมากค่ะ

    อนุโมทนาจ้ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 14 พฤษภาคม 2011
  13. Kob

    Kob เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    6,161
    ค่าพลัง:
    +19,894
    สวัสดีค่ะพี่ผ่อน ถามคำอ่านค่ะ


    อภิชฌากายคันถะ อ่าน อะ พิด ชา กาย ยะ คัน ถะ
    สีลัพพตปรามาสกายคันถะ อ่าน สี ลับ พะ ตะ ปรา มา สะ กาย ยะ คัน ถะ
    อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ อ่าน อิ ทัง สัด จา พิ นิ เว สะ กาย ยะ คัน ถะ
    พึงผูกจักรนัย อ่าน
    จัก กระ นัย
    เนื้อหาประกอบดังนี้

    คันถทุกะ
    ปฏิจจวาร
    [๔๙๘] คันถธรรม อาศัยคันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    คือ อภิชฌากายคันถะ อาศัยสีลัพพตปรามาสกายคันถะ สีลัพพต-
    *ปรามาสกายคันถะ อาศัยอภิชฌากายคันถะ อภิชฌากายคันถะ อาศัยอิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ อาศัยอภิชฌากายคันถะ
    ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยคันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    คือ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย อาศัยคันถธรรม
    ทั้งหลาย
    คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยคันถธรรม เกิดขึ้น
    เพราะเหตุปัจจัย
    คือ อภิชฌากายคันถะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป
    อาศัยสีลัพพตปรามาสกายคันถธรรม


    พึงผูกจักรนัย

    ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะ
    เหตุปัจจัย
    คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่คันถธรรม
    ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย
    อาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ



    อนุโมทนาจ้ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 17 พฤษภาคม 2011
  14. Siranya

    Siranya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    2,051
    ค่าพลัง:
    +9,004
    สวัสดีค่ะพี่กบ พี่ผ่อน
    วี ยังพอมีเวลา ที่จะช่วยอ่านได้อีกค่ะ แต่ขอเป็นหัวข้อไม่ยาวมาก
    ยังเหลืออีกเยอะไหมค่ะ
     
  15. Kob

    Kob เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    6,161
    ค่าพลัง:
    +19,894

    สวัสดีค่ะน้องวี ตอนนี้งานใกล้เสร็จแล้วค่ะ มีบางคนที่ไม่ติดต่อกลับมา พี่กบเข้าไปทะยอยอ่านแทนแล้ว เหลืออีกไม่มากใกล้สิ้นเดือนก็จะเข้าไปอ่านแทนที่เหลือเลย และมีสมาชิกหลายท่านติดต่อกลับมากำลังอ่านกันอยู่ค่ะ ขอบคุณสำหรับความช่วยเหลือค่ะ
     
  16. Siranya

    Siranya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    2,051
    ค่าพลัง:
    +9,004
    ไม่เป็นไรจ้าพี่กบ วี จะคอยเป็นกำลังใจให้ทุกคนที่กำลังอ่านอยู่จ้ะ

    [​IMG]
     
  17. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    ถามคำอ่านค่ะ :)

    [​IMG]
    V
    V

    ๑ รูปขันธ์ -- รูบ ปะ ขัน
    ๒ ปวัตติวาร -- ปะ วัด ติ วา ระ
    นิโรธวาร -- นิ โร ทะ วา ระ
    ๔ อุปปาทวาร -- อุบ ปา ทะ วา ระ
    ๕ อุปปาทนิโรธวาร -- อุบ ปา ทะ นิ โร ทะ วา ระ
    ๖ ปัณณัตติวาร -- ปัน นัด ติ วา ระ
    ๗ อุทเทสวาร -- อุด เทด สะ วา ระ
    ๘ นิทเทสวาร -- นิด เทด สะ วา ระ
    ๙ ปทโสธนวาร -- ปะ ทะ โส ทะ นะ วา ระ
    ๑๐ ปทโสธนมูลจักกวาร-- ปะ ทะ โส ทะ นะ มู ละ จัก กะ วา ระ
    ๑๑ สุทธายตนมูลจักกวาร -- สุด ทา ยะ ตะ นะ มู ละ จัก กะ วา ระ
    ๑๒ ปัจฉิมภวิกสัตว์ -- ปัด ฉิ มะ ภะ วิ กะ สัด
    ๑๓ อสัญญสัตว์ -- อะ สัน ยะ สัด
    ๑๔ อรูปภูมิ -- อะ รูบ ปะ พูม
    ๑๕ สัตตภูมิ -- สัด ตะ พูม
    ๑๖ อสัญญสัตตภูมิ -- อะ สัน ยะ สัด ตะ พูม
    ๑๗ ปัญจโวการภูมิ -- ปัน จะ โว กา ระ พูม
    ๑๘ จตุโวการภูมิ -- จะ ตุ โว กา ระ พูม
    ๑๙ อายตนยมก -- อา ยะ ตะ นะ ยะ มะ กะ
    ๒๐ อรรถรส -- อัด ถะ รด
    ๒๑ ธรรมรส-- ทำ มะ รด
    ๒๒ วิมุตติรส -- วิ มุด ติ รด
    ๒๓ จักรนัย -- จัก กระ ไน
    <o></o>

    ขอบพระคุณค่ะ


    อนุโมทนาจ้ะ

    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 17 มิถุนายน 2011
  18. ผ่อนคลาย

    ผ่อนคลาย Super Moderator ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    5,775
    ค่าพลัง:
    +12,934
    เช้า ๆ จะบอกให้จ้า .................
     
  19. Kob

    Kob เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    6,161
    ค่าพลัง:
    +19,894
  20. Siranya

    Siranya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    2,051
    ค่าพลัง:
    +9,004
    [​IMG]


    อนุโมทนาสาธุๆๆ ค่ะ
     

แชร์หน้านี้

Loading...