พอใจรูม

ในห้อง 'จักรวาลคู่ขนาน' ตั้งกระทู้โดย ppojai, 3 ตุลาคม 2010.

  1. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +16,491
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=6k4kVzyhfzg]เปิดใจยอมรับพร้อมทุกอย่าง-พระไพศาล - YouTube[/ame]​
     
  2. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +16,491
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=LPzAe5yovMM]ปล่อยวาง-พระไพศาลวิสาโล - YouTube[/ame]​
     
  3. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +16,491
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=8p7WX14AfDE]ดนตรีธรรมชาติเพื่อสมาธิ - YouTube[/ame]​
     
  4. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +16,491
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=6Qcyr5Y5-dg]หยุดตรงนี้ที่เธอ บรรเลงดนตรีไทย 3gp - YouTube[/ame]​
     
  5. philosophi

    philosophi เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    883
    ค่าพลัง:
    +1,896
    เพราะเข้าใจชีวิตที่แท้จริง
    จึงเข้าใจทุกสรรพสิ่ง โดยเฉพาะตัวเอง
    ปล..ช่วงนี้มีความสุขค่ะป้าใจ...ขอบคุณป้ามากกกกๆๆ รักและิคิดถึงเสมอ จุ๊บๆ555++
     
  6. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +16,491
    (k):cool:สาธุ ๆ ๆ ยินดีกับน้อง ambu ที่เข้าถึงจิตเดิม..นะคะ
    ธรรมชาติของจิตแท้ ไม่มีการปรุงแต่ง ..โมทนาค่ะ
     
  7. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +16,491
    [​IMG]
    คติธรรม

    จิตมีตัณหาปรุงแต่งเวทนาเป็นเหตุ
    เป็นสมุทัยเหตุแห่งทุกข์


    ผลของจิตมีตัณหาปรุงแต่งเวทนา
    เป็นทุกข์อุปาทาน


    สติเห็นกาย,เวทนา,จิตสังขารหรือธรรม
    เป็นมรรคปฏิบัติ


    ผลของสติเห็นกาย,เวทนา,จิต,ธรรม
    เป็นนิโรธอันพ้นทุกข์



    พนมพร คูภิรมย์

    กล่าวคือ

    จิต,อีกทั้งทวารทั้ง๕ ที่ส่งออกไปฟุ้งซ่านปรุงแต่ง

    ย่อมเป็นเหตุปัจจัยให้เกิดการผัสสะ ย่อมยังให้เกิดเวทนาต่างๆขึ้น เป็นธรรมดา

    อันเวทนาที่ย่อมเกิดขึ้นเหล่านี้นั่นแล อาจเป็นปัจจัยให้เกิดตัณหาขึ้น

    อันเป็นปัจจัยให้เกิดทุกข์อุปปาทานอันแสนเร่าร้อนเผาลนกระวนกระวายยิ่งกว่าทุกข์โดยธรรมชาติ อีกทั้งยังประกอบด้วยการวนเวียนปรุงแต่งเป็นระยะโดยที่ไม่สามารถหยุดได้อีกเสียด้วย

    คติธรรมนี้รวบรวมแก่นธรรมอันสําคัญยิ่งทางพุทธศาสนา

    อันเมื่อบริกรรม ท่องบ่น เพื่อเป็นเครื่องรู้ เครื่องระลึก เครื่องเตือนสติ เครื่องพิจารณา

    อันพึงมีความเข้าใจในความหมายของธรรมเหล่านี้ด้วย จึงจักยังผลอันยิ่งใหญ่ อันมี

    อิทัปปัจจยตา
    แสดงหลักธรรมอิทัปปัจจยตาที่มีใจความอันสำคัญยิ่ง อีกทั้งเป็นจริงทุกกาลสมัยว่า

    เพราะเหตุนี้มี
    ผลเหล่านี้จึงเกิดขึ้น

    เพราะเหตุนี้ดับ
    ผลนี้จึงดับ


    ปฏิจจสมุปบาท
    : เวทนาเป็นปัจจัยจึงมีตัณหา หมายถึงเมื่อเกิดเวทนาขึ้นแล้ว อาจเกิดตัณหาชนิดความทะยานอยาก(ภวตัณหา) หรือความไม่อยาก(วิภวตัณหา)ต่อเวทนาต่างๆที่เกิดขึ้นเหล่านั้น เป็นเหตุปัจจัยให้เกิดความทุกข์ชนิดประกอบด้วยอุปาทานอันแสนเร่าร้อน เผาลน กระวนกระวายขึ้น

    สังขาร อันเกิดจาก อาสวะกิเลส เป็นเหตุปัจจัยร่วมกับ อวิชชา เป็นปัจจัยให้เกิด ทุกข์อุปาทาน (รายละเอียดใน ปฏิจจสมุปบาท)

    อริยสัจ ๔
    ทุกข์อันมี ทุกขอริยสัจ และทุกข์อุปาทานอันเป็นทุกข์
    สมุทัยคือเหตุแห่งทุกข์

    นิโรธคือการพ้นทุกข์
    มรรคคือทางปฏิบัติให้พ้นไปจากทุกข์


    สติปัฏฐาน๔
    : ทางสายเอกในการปฏิบัติ อันควรปฏิบัติในการดำเนินชีวิตประจำวัน กล่าวคือ เห็นธรรมใดคือสติระลึกรู้เท่าทันในธรรมคือในกาย หรือ เวทนา หรือจิต หรือธรรมใดก่อน ก็ปฏิบัติไปตามธรรมนั้นๆ อันมี

    สติเห็นเวทนา หรือ เวทนานุปัสสนา(สติระลึกรู้เท่าทันในเวทนา) ในสติปัฏฐาน ๔, อันคือมีสติรู้เท่าทันอย่างเข้าใจในเวทนา

    สติเห็นจิตคือจิตตสังขาร(คิด,โทสะ ฯ.) หรือ จิตตานุปัสสนา (สติระลึกรู้เท่าทันในจิตตสังขาร) ในสติปัฏฐาน๔ อันคือสติรู้เท่าทันอย่างเข้าใจในจิตที่หมายถึงจิตตสังขาร(ราคะ, โทสะ, ฟุ้งซ่าน, หดหู่ ฯลฯ หรือความคิด, ความนึก)

    สติเห็นกาย หรือ กายานุปัสสนา (สติระลึกรู้เท่าทันในกาย) ในสติปัฏาน๔ อันคือฝึกสติและมีสติรู้เท่าทันอย่างเข้าใจใน กายหรือกายสังขาร เช่น สักว่าธาตุ๔ ฯลฯ.

    สติเห็นธรรม ดังเช่น ธรรมานุปัสสนา(สติระลึกรู้เท่าทันในธรรม) ในสติปัฏฐาน๔ หรือสติเห็นปฏิจจสมุปบาท สติเห็นคือรู้เท่าทันและเข้าใจในธรรมดังกล่าวเพื่อเป็นเครื่องรู้ เครื่องระลึก เครื่องเตือนสติ อีกเพื่อให้เกิดปัญญาญาณ(สัมมาญาณ) อันสําคัญยิ่งในการปฏิบัติเพื่อการดับไปแห่งทุกข์

    เมื่อมีสติรู้เท่าทันในธรรมทั้ง๔ คือกาย หรือเวทนา หรือจิต หรือธรรม กล่าวคือสิ่งใดสิ่งหนึ่งในธรรมทั้ง๔ นี้ที่บังเกิดขึ้นนั้นๆแล้ว ก็ให้ไม่ยึดมั่น หมายมั่นในสิ่งนั้นๆดังปรากฏในสติปัฏฐาน๔ ด้วยอาการของการเป็นกลางวางทีเฉย(อุเบกขา) โดยการปฏิบัติก็คือ การไม่เอนเอียงไปแทรกแซงคิดนึกปรุงแต่งในเรื่องหรือกิจที่สติเท่าทันนั้นๆ แม้ทั้งทางดีหรือชั่ว อันหมายถึงไม่ยึดมั่นถือมั่นใดๆ กล่าวคือไม่ไปยึดแม้ทั้งในด้านดี(กุศล)หรือด้านร้าย(อกุศล)ในเรื่องนั้นๆ เพราะต่างล้วนเป็นเหตุเป็นปัจจัยกันให้เกิดการปรุงแต่งจนๆเกิดเวทนาต่างๆขึ้น อันอาจเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้เกิดตัณหา อันยังให้เกิดทุกข์อุปาทานอันเร่าร้อนเผาลนขึ้นในที่สุดโดยไม่รู้ตัว อันดำเนินเป็นไปตามหลักปฏิจจสมุปบาทนั่นเอง






    หลักปฏิบัติอันสำคัญยิ่งอย่างหนึ่ง และมักเป็นไปกันโดยไม่รู้ตัว คือ

    อย่าจิตส่งใน ไปแช่นิ่งหรือเสพรส

    และอย่าส่งจิตออกนอก ไปฟุ้งซ่านปรุงแต่ง (เพราะย่อมเกิดการผัสสะ ให้เกิดเวทนาต่างๆนาๆ อันเวทนาเหล่านั้นอาจเป็นปัจจัยให้เกิดทุกข์อุปาทานขึ้น อันย่อมต้องเป็นไปตามปฏิจจสมุปบันธรรม)



    ปฏิจจสมุปบาท

    กระบวนธรรมของการเกิดขึ้นและดับไปแห่งทุกข์



     
  8. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +16,491
    [​IMG]
    จิตเดิมที่ปภัสสร แต่หมองเพราะกิเลสที่จรมา

    จิตที่หมองหม่น, หดหู่, ขุ่นมัว, หรือเศร้าหมองเพราะอาสวะกิเลสความจําอันเจือด้วยกิเลสเป็นปัจจัย อันล้วนเกิดมาแต่ความเศร้าใจ(โสกะ), ครํ่าครวญ อาลัย รําพันในสุข(ปริเทวะ), ทุกข์ทางกาย(ทุกข์), ทุกข์อันเกิดแต่ใจ(โทมนัส), ความคับแค้นขุ่นข้องใจ(อุปายาส) อันเกิดมาจากความทุกข์และสุขทางโลกๆตามที่ได้เคยสั่งสม อบรม ประพฤติ ปฏิบัติมาแต่อดีต, จึงได้ครอบงํา หมักหมม ราวกับ เป็น ตัณหา และ อุปาทาน ที่นอนเนื่องอยู่ในจิต ที่ท่านกล่าวว่า" อาสวะกิเลส" ซึ่งเมื่อผุดขึ้นมา หรือเจตนาขึ้นมา

    อันไปเป็นเหตุปัจจัยแก่กันและกัน ร่วมกับ

    ความไม่รู้ตามความเป็นจริง, สติไม่รู้เท่าทัน ตามที่มันเกิด ตามความเป็นจริงแห่งธรรม(ธรรมชาติ) อันคือ อวิชชา ความไม่รู้, ความไม่รู้เท่าทันตามความเป็นจริงแห่งธรรมในการดับทุกข์

    จึงเป็นปัจจัยที่ยังให้เกิด

    สังขาร การกระทําทางกาย, วาจา หรือใจ(ความคิดนึก)ต่างๆ ตามที่ได้เคยสั่งสม อบรม เคยประพฤติ ปฏิบัติ เคยชิน มาแต่อดีต หรือจะเรียกสังขารกิเลส หรือสังขารวิบากก็ยังได้

    อันเมื่อเกิดสังขารแล้ว ย่อมเป็นปัจจัยให้เกิด

    วิญญาณ การรับรู้ใน "สังขาร" ดังกล่าว ที่ได้เกิดขึ้นมานั้นๆ

    อันเป็นปัจจัยให้

    นาม-รูป ครบองค์ประกอบของขันธ์๕ หรือชีวิต อันตื่นตัวพร้อมทํางานตามหน้าที่ของตน

    อันย่อมเป็นปัจจัยทําให้

    สฬายตนะ อันมี ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ซึ่งเป็นอวัยวะส่วนต่างๆของนาม-รูปตามธรรมชาติจึงตื่นตัวทํางานตามหน้าที่แห่งตน รับการกระทบสัมผัสใน รูป, เสียง, กลิ่น, รส, สัมผัส, ธรรมารมณ์(คิด,นึก) ที่มากระทบนั้นๆ

    อันย่อมเป็นปัจจัยให้เกิด

    ผัสสะ การประจวบรวม(กระทบ)กันของปัจจัย ๓ อย่างอันมี สังขารอันมีทางกาย,วาจา,ใจ + วิญญาณ + สฬายตนะ ดังกล่าวข้างต้น อันล้วนแต่เกิดขึ้นแล้วและพร้อมทําหน้าที่แห่งตน

    จึงย่อมเป็นปัจจัยให้เกิด

    เวทนา การเสวยอารมณ์(ความรู้สึกรับรู้สิ่งที่มากระทบสัมผัสเช่น ความคิด รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส พร้อมทั้งจําและเข้าใจขั้นพื้นฐานในสิ่งที่มากระทบนั้น)

    อันเป็นสาเหตุปัจจัยหลักให้เกิด

    ตัณหา ความรู้สึกทะยานอยาก,หรือไม่อยาก ต่อความรู้สึกรับรู้สิ่งที่กระทบสัมผัสนั้นๆ(เวทนา)

    ซึ่งเป็นปัจจัยที่ทําให้เกิด

    อุปาทาน ที่นอนเนื่องนั้น เกิดการทํางาน ในความยึดมั่น ถือมั่นที่จะสนองต่อความรู้สึกตัณหานั้น เพื่อให้เกิดความพึงพอใจในตน,ของตนเป็นหลัก

    อันเป็นปัจจัยให้ต้องเลือก

    ภพ การเลือกบทบาทหรือสภาวะ หรือการตกลงใจ(ในขณะจิต)ที่จะกระทําใดๆ อันเนื่องมาจากอิทธิพลของอุปาทานความยึดมั่นถือมั่นในความพึงพอใจแห่งตนนั้น จะได้รับการตอบสนองเยี่ยงใด

    จึงเป็นปัจจัยให้เกิด

    ชาติ การเกิดขึ้นของทุกข์ หรือการเริ่มกระทําทางกาย หรือทางวาจา หรือทางใจ ตามภพอันคือสภาวะหรือบทบาทที่ได้ตกลงใจเลือกโดยขาดสติเพราะถูกครอบงําแล้วโดยอุปาทาน

    ซึ่งย่อมเป็นปัจจัยให้มี

    ชรา-มรณะ อันคือการแปรปรวน เปลี่ยนแปลง ไปๆมาๆ ของทุกข์ตามกฎอนิจจัง และการดับไปของทุกข์ในที่สุดตามกฎทุกขัง, แต่ก็ยังให้เกิด อาสวะกิเลส ตกตะกอนนอนเนื่องอยู่ในจิตใต้สํานึกอีกด้วย อันเป็นสิ่งที่ทําให้จิตขุ่นมัวและเศร้าหมอง และนอนเนื่องหมักหมมอยู่ในจิต(ใต้สํานึก)สืบต่อไป

    ชึ่งย่อมเป็นปัจจัยที่จักไปกระตุ้นให้เกิด

    อวิชชา ความไม่รู้, ความไม่รุ้เท่าทัน ตามที่มันเกิด ตามความเป็นจริงของธรรม(ชาติ) ทําให้ตัณหา แล อุปาทานที่นอนเนื่องหมักหมมอยู่ในจิต กําเริบ เกิดทํางานขึ้นใหม่อีก

    ชึ่งย่อมเป็นปัจจัยให้เกิด สังขาร วิญญาณ.......

    เป็นวงจร วงจักรอุบาทที่ไม่วันจบสิ้น เวียนว่าย ตายเกิด อยู่ในสังสารวัฏ...........



    อ่านรายละเอียดใน

    ปฏิจจสมุปบาท

    กระบวนการเกิดขึ้นและดับไปแห่งทุกข์



    ธรรมชาติของจิตและนํ้า

    (พิจารณาเพื่อให้เห็นเป็นรูปธรรมชัดเจนขึ้น)

    จิตนั้นเปรียบประดุจดั่งนํ้า,

    นํ้านั้นไร้รูปร่าง แปรปรวนไปตามภาชนะที่บรรจุหรือรองรับ, จิตนั้นก็ไร้รูปร่าง แปรปรวนไปตามสิ่งแวดล้อมทุกชนิดที่กระทบสัมผัส(ผัสสะ),

    นํ้าประกอบด้วยเหตุปัจจัยต่างๆมาประชุมรวมกันชั่วระยะหนึ่งเช่น H และ O, จิตก็ประกอบด้วยเหตุปัจจัยอันมากหลายมาประชุมกันชั่วระยะหนึ่ง

    นํ้ามีคุณสมบัติไหลลงสู่ที่ตํ่าเพราะแรงดึงดูดโลก, จิตก็มีคุณสมบัติเหมือนดั่งนํ้าที่ย่อมไหลลงสู่ที่ตํ่าแต่ตามแรงดึงดูดของความเคยชินที่ได้สั่งสมหรือกิเลสตัณหาแลอุปาทานนั่นเอง,

    นํ้าไม่มีวันไหลสู่เบื้องสูงได้เองฉันใด, จิตก็ไม่มีวันไหลสู่เบื้องสูงได้เองฉันนั้น

    ถ้าเราต้องการยกระดับนํ้าให้สูงขึ้น ย่อมต้องออกแรงพยายามฉันใด, จิตจักสูงขึ้นได้ ก็ย่อมต้องการ การพยายามปฏิบัติฉันนั้น,

    การยกระดับนํ้าให้สูงขึ้นโดยใช้วิธีการที่ถูกต้องเช่นเครื่องกล,ภาชนะหรืออุปกรณ์ที่ถูกต้อง ย่อมยกระดับนํ้าได้รวดเร็วฉันใด, จิตก็ย่อมต้องการการปฏิบัติอันถูกต้องจึงจักยกระดับจิตให้สูงขึ้นได้เร็วฉันนั้น,

    ธรรมชาติของนํ้าเดือดพล่านเพราะไฟฉันใด, จิตย่อมเดือดพล่านเพราะไฟของกิเลสตัณหาอุปาทานฉันนั้น

    นํ้าบริสุทธ์คือนํ้าที่ไม่มีสิ่งเจือปน, จิตบริสุทธ์ก็คือจิตเดิมแท้ที่ไม่เจือด้วยกิเลสตัณหาอุปาทานนั่นเอง หรือจิตเดิมแท้นั่นแหละคือจิตพุทธะ อันมีอยู่แล้วในทุกผู้คน เพียงแต่ถูกบดบังหรือครอบงําด้วยกิเลสตัณหาอุปาทาน

    ข้อสังเกตุ นักปฏิบัติที่เจริญก้าวหน้าแล้วหยุดหรือพอใจแค่นั้น จึงถูกธรรมชาติของจิตเล่นงาน ไหลลงตํ่ากลับลงสู่ความเคยชินที่ได้สั่งสมไว้หรือตามแรงดึงดูดของกิเลสตัณหาอุปาทาน, กลับคืนสู่สภาพเดิมๆในไม่ช้า

    ลองโยนิโสมนสิการแบบสนุกๆดู, บุคคลใดมีทรัพย์สมบัติมากมาย ไม่มีการงานให้ต้องทําหรือรับผิดชอบ มีความสุขทางโลกเต็มที่ ทําบุญครั้งละมากๆ แต่มิได้ปฏิบัติ ท่านว่าบุคคลนี้จักถูกธรรมชาติของจิตดึงดูดลงสู่ที่ตํ่าหรือไม่?

    สังขารขันธ์ต่างๆที่เกิดขึ้นนั้น ในชีวิตประจําวันนั้น ส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากความเคยชิน คิดสั่งการใดแล้ว ก็จักกระทําไปตามความเคยชินหรือการเรียนรู้ ที่ได้ประพฤติปฏิบัติมาแล้ว แต่แยกไม่ออก จึงไม่รู้ว่าความเคยชินนี้แหละหรือสังขารในปฏิจจสมุปบาทมีอิทธิพลเยี่ยงไร ดังจะไปกินข้าว เพียงคิดขึ้นมาจะเกิดสังขารขันธ์ต่างๆหลายอย่างเช่นลุกขึ้น, เดิน, หาจาน ช้อน,ทานอาหาร อันเป็นการประพฤติปฏิบัติโดยอัติโนมัติไม่รู้ตัว เพราะอิทธิพลของความเคยชิน ที่ได้ประพฤติปฏิบัติ เรียนรู้ อันได้สั่งสมไว้ อันทํางานอยู่เบื้องหลังโดยไม่รู้ตัว ด้วยเหตุนี้นักปฏิบัติหลายๆท่านที่ปฏิบัติก้าวหน้าดีแล้ว จนจางคลายจากทุกข์ได้ผลตามควรแก่ตนแล้ว แต่หยุดปฏิบัติเพราะความพอใจแล้ว หรือหยุดเพราะฤทธิ์ของความเคยชินแล้ว จึงเกิดสภาพไหลลงสู่ที่ตํ่า กล่าวคือกลับสู่สภาพเดิมๆอันได้สั่งสมอบรมไว้เป็นเวลานาน นี้แหละคือธรรมชาติของจิต ดังนั้นความเพียรจนเกิดเป็นความเคยชินดังเช่นการปฏิบัติให้เห็นเวทนาและความคิด(จิต) จึงเป็นสิ่งจําเป็นควบคู่ไปกับความเข้าใจในสภาวะธรรม



    ข้อคิดให้เห็นเป็นรูปธรรมในปฏิจจสมุปบาท

    จิตที่ขุ่นมัวเศร้าหมองเพราะอาสวะกิเลส เปรียบประดุจดั่ง กองไฟ

    ตัณหาแลอุปาทานที่นอนเนื่อง(ยังคงมีในจิตแต่ยังไม่ทํางาน)ในอวิชชา เปรียบประดุจดั่ง นํ้ามัน

    สังขาร(คิด)ที่สั่งสม อันเป็นทุกข์ เปรียบประดุจดั่ง สะเก็ดนํ้ามันที่เดือดพล่านกระเด็นออกมา

    ถ้าเราพึงโหมไฟ(อาสวะกิเลส)ให้แรงขึ้น นํ้ามัน(อวิชชา)อันปกติราบเรียบสงบ จักมีการเดือดพล่าน แล้วกระเด็นออกมาเป็นสะเก็ดนํ้ามัน(สังขารคิด)อันเป็นของร้อน ซึ่งย่อมก่อทุกข์ กล่าวคือ ถูกที่ไหน สะดุ้งที่นั่น, ถูกที่ไหน ร้อนที่นั่น, ถูกที่ไหน พองที่นั่น.

    จิตขุ่นมัวเศร้าหมองไปโหมกระพือให้ อวิชชาที่มีตัณหาแลอุปาทานที่นอนเนื่องกลายเป็นของร้อนเดือดพล่านขึ้นมาเป็นสังขาร(คิด)ที่สั่งสมไว้ อันเป็นของร้อนเช่นกัน แล้วย่อมเป็นไปตามวงจรแห่งทุกข์ " ปฏิจจสมุปบาท "....ฯลฯ.



     
  9. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +16,491
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=fVeCzs1wSTg]ปฏิจจสมุปบาท - พุทธทาสภิกขุ - YouTube[/ame]​
     
  10. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +16,491
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=rzZcS1FFeYc]สติและการฝึกสติ - YouTube[/ame]​
     
  11. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +16,491
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=cpVUuAQriDA]ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ ตาใน ขอนแก่น 55 - 2/2 - YouTube[/ame]​
     
  12. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +16,491
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=9oHFAkZ0jHk]ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ ตาใน ขอนแก่น 55 - 1/2E - YouTube[/ame]​
     
  13. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +16,491
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=cq2LW2CCAqU]New Heart New World : ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ (Full Version) - YouTube[/ame]​
     
  14. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +16,491
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=TM9kS1AfNTA]New Heart New World : ดังตฤณ (Full Version) - YouTube[/ame]​
     
  15. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +16,491
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=f2nBeT6RRyI]New Heart New World : ดนัย จันทร์เจ้าฉาย - YouTube[/ame]
     
  16. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +16,491
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=m8A4W_61Atg]New Heart New World : พระไพศาล วิศาโล - YouTube[/ame]​
     
  17. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +16,491
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=eHO3Ux_i1SI&NR=1]สติสร้างปาฏิหาริย์1 - YouTube[/ame]​
     
  18. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +16,491
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=vh_FPFgzWpQ]ตายดีตายสงบ-พระไพศาล วิสาโล - YouTube[/ame]​
     
  19. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +16,491
    [​IMG]

    New Heart New World - โลกเปลี่ยนไป เมื่อใจเปลี่ยนแปลง
    31 ธันวาคม 2012
    .
    ศาสนาของฉ้นนั้นเรียบง่าย
    ไม่จำเป็นต้องอาศัยวิหารใดๆ
    ไม่ต้องลึกล้ำด้วยปรัชญาคำสอน
    ทั้งสมองและหัวใจของเรา
    คือ มหาวิหาร
    ... ปรัชญาสูงสุด คือ ความเมตตา

    ท่านดาไลลามะ

    This is my simple religion.
    There is no need for temples;
    no need for complicated philosophy.
    Our own brain,
    our own heart is our temple;
    the philosophy is kindness.

    Dalai Lama

    Read more at Dalai Lama Quotes - BrainyQuote กับ จุฑามาศ เยือกเย็น และ กำลังใจ ที่ดีที่สุด มาจากตัวของเราเอง
    Rachanee Vongsumitr, Nhong Pukngam, Tanyaras Nontanyakul และ คนอื่นอีก 48 คน ถูกใจสิ่งนี้.66 shares.Ommo Original ธิเบต
    3 มกราคม เวลา 0:26 น. · 2..Kowit Kunaton ความรักจะทำลายกำแพงกฏแห่งกรรม แต่ตกอยู่ภายใต้กฏแห่งธรรมดาคือไตรลักษณ์
    18 มกราคม เวลา 6:44 น...
     
  20. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    46,997
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,043
    จิตเดิมที่ปภัสสร


    อนุโมทนาสาธุค่ะ ธรรมะบันเทิงดีแท้:cool::VO;41
     

แชร์หน้านี้

Loading...