"จิต"นี้ "ไม่เกิดไม่ตาย"

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย Xtrem, 12 มีนาคม 2016.

  1. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    แล้วแต่จิฮับ


    แต่สังเกตุไหม. บริกรรมจนอัปปนา. แล้วมา. พินากาย. รูปขันธ์

    ขุ่นพี่ต้อง ต้อง จิกอรุปมาพินาเลยนะนั่น. ถึง จะปรารภได้ว่า. ม้างกายแว้ววว


    ไปเจอ ใสในใส กางของกาง. วนอยู่นั่น. ทำไง



    ปล. แนะว่า ดูกานเหนจิต. ดูจิตเหนกาย. ดูอะไรก็สี่แล้วหละ. อย่าอุปทานอันนี้ก่อน
    อันไหนหลัง. ฮิววววววววส์
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2016
  2. ชมทรัพย์

    ชมทรัพย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 มิถุนายน 2015
    โพสต์:
    551
    ค่าพลัง:
    +248
    ตั่วเฮีย ใครจะบริกรรมเป็นอัปปนาได้
    เอานะพอ
     
  3. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    บริกรรมอิท่าไหนหละฮับ จึงเกิดอกุสล. ไม่สงัดกจากกามพยาบาทวิหิงสา

    ไหน พุทโธ ชัดๆ จิ๊

    สองคำข้าไปนะฮับ

    หนึ่งคำยังโหลยโถ้ย

    นมสิการปั๊ป. เลื่อมใส ปิติสว่างเลย. ค่อยพอใช้


    ปล. ถ้ายังมีเข้ามีออก. ไม่ต้องอ้างนะ สายบริกรรม
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2016
  4. Jera

    Jera เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,001
    ค่าพลัง:
    +2,040
    ใช่ๆครับ นมสิการ นี่ดีนะครับ

    เเต่ใช้องค์ปัญญา พอสมควร

    ผิดพลาดประการใดชี้เเนะด้วยครับ
     
  5. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456

    ถ้ารู้สึกว่า เหมือนไดเยินเสียงกลองไกลๆ

    รู้สึกว่า. เคยเหน. เคยฝึก. ให้ กำหนดรู้ ตัวเจตนา ตัวอัสมิมานะ เข้ามาเลย

    ถ้า งง

    ให้กำหนดรู้ การฝุ้งธรรม. เปนก๊อกสอง


    ถ้าไม่เข้าใจ

    ก๊ไปกลับไปนมสิการ แบบที่ระลึกได้ ไปก่อน
     
  6. Jera

    Jera เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 เมษายน 2009
    โพสต์:
    1,001
    ค่าพลัง:
    +2,040
    รู้สึกผมจะติดตัวนี้ เลยครัช

    ตัวเจตนา ตัวอัสมิมานะ ที่ว่ารู้สึกว่า. เคยเหน. เคยฝึก.

    ถ้าเกิดเรารู้ตัวนี้ เเล้วเกิดตัว อื่นต่อ ที่ปัญเรายังไม่เข้าใจ มันจะติดอีกใช่ไหมครับ

    ถ้าเสียงกลองไกลๆ นี่มีลักษณะอาการคล้ายเราหลงตรงจุดที่เราคิดว่าใกล้ถึงความสำเร็จรึเปล่าครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2016
  7. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    อย่าถามซ้ำซ้อน

    ต้องศรัทธา. แล้วปฏิบัต. ถวายเปนพุทธบูชา ขอเปนพยานให้กับธรรม
     
  8. Tboon

    Tboon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    2,094
    ค่าพลัง:
    +3,424
    สัญญามันมากระซิบทวงถามเอาบุญเอาคุณ
    เอาผลประโยชน์จากการลงทุนตามวิสัยของโลกนะ
    รู้ทันความอยากได้ อยากมี อยากเป็น


    ผมมาแก้คำตอบให้กระชับขึ้นครับ ขนาดอ่านเอง
    ยังเฝือ เพ้อเจ้อ หลงใหลคำพูดตนเอง ใช้ได้ที่ไหน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2016
  9. Tboon

    Tboon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    2,094
    ค่าพลัง:
    +3,424
    จริงนะ.. จบมั้ย ไม่จบตัวใครตัวมันนะครับ
     
  10. เงาเทวดา

    เงาเทวดา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    397
    ค่าพลัง:
    +314
    ตอบ ยังมิจบ เหลืออีกหนึ่งชาติ สำเร็จอรหันต์จ้า...

    ขึ้นไม่ยึด ถือไว้ โม้หลายเรื่อง
    จะคุยเฟื่อง สูงต่ำ ไร้ความหมาย
    ยามจิตตก ใจถือ เห็นหลายราย
    ลงอบาย ทั้งเป็น เล่นกรรมตน

     
  11. Tboon

    Tboon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    2,094
    ค่าพลัง:
    +3,424
    ขึ้นลง เกิดดับ ไม่เที่ยง ควรยึดมั่นถือมั่นมั้ยล่าาา
     
  12. เงาเทวดา

    เงาเทวดา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    397
    ค่าพลัง:
    +314
    ตอบ ไม่ควรจ้า ถ้าไม่ถือตามโลกุตระธรรมจะรอด แต่โลกียะ คงไม่รอดจ้า...


    ไม่ถือได้ มิเป็นไร อยู่แล้วหนอ
    เวลาคลอ ความเคลื่อนที่ ทำให้เปลี่ยน
    กลับมาถือ ขึ้นมา นะนักเรียน
    ที่คิดเขียน แสดงกรรม ช้ำแน่เลย

     
  13. ยอดคะน้า

    ยอดคะน้า เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 มกราคม 2010
    โพสต์:
    947
    ค่าพลัง:
    +710

    สวัสดียามบ่ายคลายเครียดฮะ
    วันนี้ มารู้จัก บัญญัติ ของเจตสิก 52 หน่อยฮะ


    ..........................


    พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
    พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)
    พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)



    [355] เจตสิก 52 (ธรรมที่ประกอบกับจิต, สภาวธรรมที่เกิดดับพร้อมกับจิต มีอารมณ์และวัตถุที่อาศัยเดียวกันกับจิต, อาการและคุณสมบัติต่างๆ ของจิต - mental factors; mental concomitants)
    ก. อัญญาสมานาเจตสิก 13 (เจตสิกที่มีเสมอกันแก่จิตพวกอื่น คือ ประกอบเข้าได้กับจิตทุกฝ่ายทั้งกุศลและอกุศล มิใช่เข้าได้แต่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งพวกเดียว - the Common-to-Each-Other; general mental factors)
    1) สัพพจิตตสาธารณเจตสิก 7 (เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับจิตทุกดวง - universal mental factors; the Primary)
    1. ผัสสะ (ความกระทบอารมณ์ - contact; sense-impression)
    2. เวทนา (ความเสวยอารมณ์ - feeling)
    3. สัญญา (ความหมายรู้อารมณ์ - perception)
    4. เจตนา (ความจงใจต่ออารมณ์ - volition)
    5. เอกัคคตา (ความมีอารมณ์เป็นอันเดียว - one-pointedness; concentration)
    6. ชีวิตินทรีย์ (อินทรีย์คือชีวิต, สภาวะที่เป็นใหญ่ในการรักษานามธรรมทั้งปวง - vitality; life-faculty)
    7. มนสิการ (ความกระทำอารมณ์ไว้ในใจ, ใส่ใจ - attention)

    2) ปกิณณกเจตสิก 6 (เจตสิกที่เรี่ยรายแพร่กระจายทั่วไป คือ เกิดกับจิตได้ทั้งฝ่ายกุศล และอกุศล แต่ไม่แน่นอนเสมอไปทุกดวง - particular mental factors; the Secondary)
    8. วิตก (ความตรึกอารมณ์ - initial application; thought conception; applied thought)
    9. วิจาร (ความตรองหรือพิจารณาอารมณ์ - sustained application; discursive thinking; sustained thought)
    10. อธิโมกข์ (ความปลงใจหรือปักใจในอารมณ์ - determination; resolution)
    11. วิริยะ (ความเพียร - effort; energy)
    12. ปีติ (ความปลาบปลื้มในอารมณ์, อิ่มใจ - joy; interest)
    13. ฉันทะ (ความพอใจในอารมณ์ - conation; zeal)

    ข. อกุศลเจตสิก 14 (เจตสิกฝ่ายอกุศล - immoral or unwholesome mental factors; unprofitable mental factors)
    1) สัพพากุสลสาธารณเจตสิก 4 (เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับอกุศลจิตทุกดวง - universal immorals; the Primary)
    14. โมหะ (ความหลง - delusion)
    15. อหิริกะ (ความไม่ละอายต่อบาป - shamelessness; lack of moral shame)
    16. อโนตตัปปะ (ความไม่สะดุ้งกลัวต่อบาป - fearlessness; lack of moral dread)
    17. อุทธัจจะ (ความฟุ้งซ่าน - restlessness; unrest)

    2) ปกิณณกอกุศลเจตสิก 10 (อกุศลเจตสิกที่เกิดเรี่ยรายแก่อกุศลจิต - particular immorals; the Secondary)
    18. โลภะ (ความอยากได้อารมณ์ - greed)
    19. ทิฏฐิ (ความเห็นผิด - wrong view)
    20. มานะ (ความถือตัว - conceit)
    21. โทสะ (ความคิดประทุษร้าย - hatred)
    22. อิสสา (ความริษยา - envy; jealousy)
    23. มัจฉริยะ (ความตระหนี่ - stinginess; meanness)
    24. กุกกุจจะ (ความเดือดร้อนใจ - worry; remorse)
    25. ถีนะ (ความหดหู่ - sloth)
    26. มิทธะ (ความง่วงเหงา - torpor)
    27. วิจิกิจฉา (ความคลางแคลงสงสัย - doubt; uncertainty; scepsis)

    ค. โสภณเจตสิก 25 (เจตสิกฝ่ายดีงาม - beautiful mental factors; lofty mental factors)
    1) โสภณสาธารณเจตสิก 19 (เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับจิตดีงามทุกดวง - universal beautiful mental factors; the Primary)
    28. สัทธา (ความเชื่อ - confidence; faith)
    29. สติ (ความระลึกได้, ความสำนึกพร้อมอยู่ - mindfulness)
    30. หิริ (ความละอายต่อบาป - moral shame; conscience)
    31. โอตตัปปะ (ความสะดุ้งกลัวต่อบาป - moral dread)
    32. อโลภะ (ความไม่อยากได้อารมณ์ - non-greed)
    33. อโทสะ (ความไม่คิดประทุษร้าย - non-hatred)
    34. ตัตรมัชฌัตตตา (ความเป็นกลางในอารมณ์นั้นๆ - equanimity; specific neutrality)
    35. กายปัสสัทธิ (ความสงบแห่งกองเจตสิก - tranquillity of mental body)
    36. จิตตปัสสัทธิ (ความสงบแห่งจิต - tranquillity of mind)
    37. กายลหุตา (ความเบาแห่งกองเจตสิก - lightness of mental body; agility of ~)
    38. จิตตลหุตา (ความเบาแห่งจิต - lightness of mind; agility of ~)
    39. กายมุทุตา (ความอ่อนหรือนุ่มนวลแห่งกองเจตสิก - pliancy of mental body; elasticity of ~)
    40. จิตตมุทุตา (ความอ่อนหรือนุ่มนวลแห่งจิต - pliancy of mind; elasticity of ~)
    41. กายกัมมัญญตา (ความควรแก่การงานแห่งกองเจตสิก - adaptability of mind; wieldiness of ~)
    42. จิตตกัมมัญญตา (ความควรแก่การงานแห่งจิต - adaptability of mind; wieldiness of ~)
    43. กายปาคุญญตา (ความคล่องแคล่วแห่งกองเจตสิก - proficiency of mental body)
    44. จิตตปาคุญญตา (ความคล่องแคล่วแห่งจิต - proficiency of mind)
    45. กายุชุกตา (ความซื่อตรงแห่งกองเจตสิก - rectitude of mental body; uprightness of ~)
    46. จิตตุชุกตา (ความซื่อตรงแห่งจิต - rectitude of mind; uprightness of ~)

    2) วิรตีเจตสิก 3 (เจตสิกที่เป็นตัวความงดเว้น - abstinences)
    47. สัมมาวาจา (เจรจาชอบ - right speech)
    48. สัมมากัมมันตะ (กระทำชอบ - right action)
    49. สัมมาอาชีวะ (เลี้ยงชีพชอบ - right livelihood)

    3) อัปปมัญญาเจตสิก 2 (เจตสิกคืออัปปมัญญา - boundless states)
    50. กรุณา (ความสงสารสัตว์ผู้ถึงทุกข์ - compassion)
    51. มุทิตา (ความยินดีต่อสัตว์ผู้ได้สุข - sympathetic joy)

    4) ปัญญินทรีย์เจตสิก 1 (เจตสิกคือปัญญินทรีย์ - faculty of wisdom)
    52. ปัญญินทรีย์ หรือ อโมหะ (ความรู้เข้าใจ ไม่หลง - undeludedness; wisdom)
     
  14. Xtrem

    Xtrem เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กุมภาพันธ์ 2016
    โพสต์:
    383
    ค่าพลัง:
    +275
    เอาผู้รู้ มารวม กับ วิธีการรู้เสียแล้ว มันก็ออกทะเลไปอย่างนั้น ผู้รู้นี้มีตัวเดียว ขอให้เข้าใจไว้ด้วย ส่วนวิธีการรู้ คือ เจโตวิมุตติ กับ ปัญญาวิมุตติ.
     
  15. Xtrem

    Xtrem เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กุมภาพันธ์ 2016
    โพสต์:
    383
    ค่าพลัง:
    +275
    อ่านแล้วตีความใน พระไตรปิฎกไม่แตก ก็แบกตำรากันต่อไป.
     
  16. kengkenny2

    kengkenny2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    592
    ค่าพลัง:
    +289
    เรื่องมันยืดยาวเพราะทำให้ยืดยาวแต่ว่ามันดีนะเพราะมันเป็นสิ่งที่น่าค้นหาและศึกษาเพื่อรู้ว่ามันอาจไม่ได้ยืดยาวหรือมันอาจยืดยาวมาก เป็นปัจจัตตังจริงๆ ยอมรับเลย
     
  17. kengkenny2

    kengkenny2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    592
    ค่าพลัง:
    +289
    ผมก็เห็นว่าจะเห็นเป็นร้อยเป็นโกฏก็ได้นะจิต แม้สติขณะจิตก็ตามแต่ ที่น่าสนใจที่สุดคืออะไรเป็นผู้เห็นและอะไรคือผู้ถูกเห็นสุดท้าย ได้อะไรจากสิ่งที่รู้และสิ่งที่เห็น ได้ตำราก็ตำราได้ความจริงก็ความจริงแม้จะเป็นความจริงหรือละเมอไปเองก็ไม่ควรหลงและจะรู้ว่าอะไรที่ทำให้เราพิจารณาได้แบบนั้นถ้าไม่ใช่สัมมาสติ หรือสติพุทธะ หรือพุทธานุสติ มันไม่ง่ายแต่มันก็ไม่น่าจะยากถ้าประพฤติตามธรรมที่ควรจะเป็นและก็เป็นไปตามเหตุปัจจัยที่สั่งสมไว้นั่นแหละ
     
  18. kengkenny2

    kengkenny2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    592
    ค่าพลัง:
    +289
    เดี้ยวไม่เข้ากับหัวข้อจิตไม่เกิดไม่ตาย อันนี้เป็นคำพูดของพระอริยะขีณาสพ แต่เราผู้ซึ่งเจริญรอยตามควรพิจารณด้วยปัญญาว่าจิตที่ไม่เกิดไม่ตายไม่ได้หมายถึงการมีขึ้นหรือการดับลงมันหมายถึงสภาวะ อย่าเอามาใช้เป็นตัวตั้งตัวตีของการเจริญวิปัสสนา จำไว้วาเราไม่ใช่เขาและเขาก็ไม่ใช่เรา เพียงเขาบอกให้ทราบว่านั่นคือสภาวะธรรมเท่านั้น เอามาเป็นบรรทัดฐานไม่ได้ เพราะที่จริงก็ไม่ได้มีความหมายอะไรมากกว่าการมีอยู่คือ ต้องพิจารณาให้เห็นจริวๆแล้ว จะทำอะไรต่อก็รู้นะว่าจะทำอะไร
     
  19. Xtrem

    Xtrem เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กุมภาพันธ์ 2016
    โพสต์:
    383
    ค่าพลัง:
    +275
    มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา
    มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา
    ตโต นํ ทุกฺขมเนฺวติ จกฺกํว วหโต ปทํ.
    “ธรรมทั้งหลาย มีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่
    สำเร็จแล้วด้วยใจ, ถ้าบุคคลมีใจร้าย พูดอยู่ก็ดี
    ทำอยู่ก็ดี, ทุกข์ย่อมไปตามเขา เพราะเหตุนั้น
    ดุจล้อหมุนไปตามรอยเท้าโค ผู้นำแอกไปอยู่ฉะนั้น.”

    ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นใหญ่ มีใจเป็นหัวหน้า สำเร็จได้ด้วยใจ จะเป็นกุศลจิต หรือ อกุศลจิต จะเกิดดับมากประมาณเท่าใด ล้วนเกิดมาจากใจ พระพุทธเจ้าทรงตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย จิตนี้ผุดผ่อง แต่มันเศร้าหมองแล้ว เหตุด้วยอุปกิเลสทั้งหลายซึ่งจรมา” จะฆ่าโจร ก็ต้องกำจัดหัวหน้าโจรเสียก่อน ดุจเดียวกับธรรมเทศนาของหลวงปู่ครูบาอาจารย์ ฝั้น
    " .. มันเกิดตรงไหนก็ดับตรงนั้น ไม่รู้จักที่เกิดไปดับที่อื่นมันก็ไม่ดับสิ "อุปมาเหมือนดับไฟฟ้า ดับดวงนี้ ดวงนั้นยังอยู่ ดับดวงนั้น ดวงอื่นยังอยู่ คนผู้ฉลาด "ดับที่หม้อแบตเตอรี่ มันก็มืดหมดทั่วพระนคร"
    อันนี้ไปดับจิตดวงเดียวก็หมด ไม่ต้องไปดับตา ดับหู ดับจมูก ดับลิ้น ดับกาย ดับใจ "ดับที่ใจดวงเดียวแล้วดับหมด เพราะทั้งหมดมันเกิดจากใจ"
     
  20. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    ยกมาก็ดีและ

    เอาโศลกธรรม โสดา อิงจากพระสารีบุตร อีกบท. แต่จะขอกล่าวสั้นๆว่า

    ....พระมหาสมณะ. กล่าวถึง การดับของเหตุนั้นด้วย....

    คืออะไร. ก็บอกอยู่ในตัวอยู่แล้ว. อย่าไป. ยกเรื่อง. เจตสิกเท่านั้นที่ดับ

    เพราะนั้นคือไม่ใช่เหตุดับ. มันดับเพราะภาชนะมันดับ....ไม่จำเปนต้องไปเรียกว่า ใจ
    ด้วยซ้ำ. แต่ก้ไม่ว่าอะไร. เพราะคนใช้คำว่าใจ ท่านแก้ของท่านแล้ว. จิตอันใดใจอันนั้น

    อวิชชาเปนเงาบังไม่ให้เหน.........ตัณหาดับยังแค่ปลายเหตุ แต่จัดว่าเปนทางดำเนิน
     

แชร์หน้านี้

Loading...