สำนักวัดนาป่าพงคึกฤทธิ์และสาวกพลาด! สร้าง" พุทธวจน " ปลอม

ในห้อง 'Black Hole' ตั้งกระทู้โดย เสขะปฎิสัมภิทา, 7 กรกฎาคม 2015.

  1. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    น้องหญิงสามัญผลย่อมปรากฎแก่บุคคลที่สั่งสมและได้ถูกพยากรณ์ไว้แล้ว น้องหญิงในข้อที่เธอกล่าวมาเราไม่สงสัยในวิสัยที่มีที่ได้ในญานของเธอ เป็นเรื่องที่อจิณไตยอันไม่ควรคิดเพราะเราไม่มีพระทศพลญาน๑๐ฯ น้องหญิงดังนั้นเรื่องที่เธอกล่าวมา สามารถมีได้ตามกำลังที่ต้องบุพกรรมและต้องคำพยากรณ์

    https://youtu.be/VLhi9yUbsp4
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 เมษายน 2016
  2. jityim

    jityim เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 ตุลาคม 2014
    โพสต์:
    3,421
    ค่าพลัง:
    +3,204
    ท่านการเห็นพระนิพพานชั่วคราวทำให้จิตเที่ยงแท้ต่อนิพพานหรือไม่ แล้วถ้าชาตินี้เรายังเห็นกระแสนิพพานชั่วคราวกันไม่ได้ เราจะมีหลักประกันยืนยันในการนิพพาน ถึงนิพพานกันได้อย่างไร หากจะเอานิพพานชาตินี้ให้ได้ ลองปฏิบัติแบบทวนกระแสอารมณ์ของโลกก็คงจะดี ลองดูก่อนก็ได้ พระพุทธองค์ตรัสไว้ชัดเจนเรื่องธรรมทวนกระแสเพื่อถึงนิพพาน ทุกคนลืมตรงจุดนี้ั
     
  3. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201


    รออยู่!!
     
  4. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    อรรถกถาอรรถปฏิสัมภิทาธรรมปฏิสัมภิทา               
                   นิรุตติปฏิสัมภิทาปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณุทเทส    ว่าด้วยปฏิสัมภิทาญาณ ๔               
                   บัดนี้ ญาณในการละ ในการเจริญและในการกระทำพระนิพพานให้แจ้งย่อมประกอบด้วยอริยมรรคอริยผล ฉะนั้น ท่านจึงยกเอาปฏิสัมภิทาญาณ ๔ อันพระอริยบุคคลนั่นแหละจะต้องได้ ขึ้นแสดงต่อจากผัสสนญาณนั้น.

                   แม้ในปฎิสัมภิทา ๔ นั้น อรรถะคือผลธรรมอันเกิดแต่ปัจจัย ย่อมปรากฏดุจทุกขสัจจะ และเป็นธรรมอันใครๆ จะพึงรู้ได้โดยง่าย เพราะฉะนั้น ท่านจึงยกอรรถปฏิสัมภิทาญาณ ขึ้นแสดงก่อน, ต่อแต่นั้นก็ยกธรรมปฏิสัมภิทาญาณขึ้นแสดง เพราะอรรถะนั้นเป็นวิสัยแห่งธรรมอันเป็นเหตุ, ต่อแต่นั้นจึงยกเอานิรุตติปฎิสัมภิทาญาณ เพราะอรรถะและธรรมทั้ง ๒ นั้นเป็นวิสัยแห่งนิรุตติ, และต่อจากนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณนั้น ท่านก็ยกเอาปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณขึ้นแสดง เพราะเป็นไปในญาณแม้ทั้ง ๓ เหล่านั้น.

                   

                  อรรถกถาวิหารัฏฐสมาปัตตัฏฐญาณุทเทส               
                   ว่าด้วยวิหารัฏฐญาณและสมาปัตตัฏฐญาณ               
                   ญาณทั้งหลายอื่นจากนี้ ๓ ญาณมีวิหารัฏฐญาณเป็นต้น ท่านยกขึ้นแสดงต่อจากปฏิสัมภิทาญาณ เพราะเกิดแก่พระอริยบุคคลเท่านั้น และเพราะเป็นประเภทแห่งปฏิสัมภิทา.

                   จริงอยู่ วิหารัฏฐญาณเป็นธรรมปฏิสัมภิทา, สมาปัตตัฏฐญาณเป็นอรรถปฏิสัมภิทา.
                   แท้จริง ญาณในสภาวธรรม ท่านกล่าวไว้ในปฏิสัมภิทากถาว่า๑-ธรรมปฏิสัมภิทา.

                   ส่วนญาณในนิพพานเป็นอรรถปฏิสัมภิทานั่นแหละ.

    ผู้ได้พบได้เห็นพระไตรปิฏกพระธรรมคัมภีร์ธรรมแม่บท ย่อมจักเป็นผู้ได้เสวยวิมุตติธรรมตั้งแต่ระดับ วิกขัมภนวิมุตติ ตทังควิมุตติ ตลอดจนขึ้นไปถึง สมุจเฉทวิมุตติ ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ นิสสรณวิมุตติ


    ปฏิสัมภิทาญาณ เป็นกำลังที่ครอบคลุมได้ทั้งอภิญญา ๖ วิชชา ๓ และสุกขวิปัสสโก บุคคลอย่างน้อยต้องปฏิบัติจนถึงระดับพระอนาคามีขึ้นไป กำลังของปฏิสัมภิทาญาณ ๔ ถึงจะปรากฏขึ้น

    ปฏิสัมภิทาญาณนอกจากความสามารถแบบเดียวกับอภิญญา ๖ แล้ว ยังมีความสามารถพิเศษ ๔ อย่าง คือ อรรถปฏิสัมภิทา ธัมมาปฏิสัมภิทา คือเป็นผู้รู้ทั้งเหตุและผล รู้ว่าผลที่เกิดขึ้นตรงนี้ สาวไปแล้วมาจากเหตุอะไร รู้ว่าเหตุนี้ถ้าเราทำแล้วจะเกิดผลอะไร แล้วก็ละในเหตุที่ไม่ดี ทำแต่ในเหตุที่ดีเท่านั้น ก็จะได้แต่ผลที่ดี

    ปฏิภาณปฏิสัมภิทา เป็นผู้เฉลียวฉลาด สามารถที่จะแก้ไขปัญหาทุกอย่างไปโดยสะดวกง่ายดาย นิรุกติปฏิสัมภิทา มีความชำนาญในภาษาคน ภาษาสัตว์ ภาษากาย ภาษาใจทุกอย่าง ก็เลยกลายเป็นความสามารถพิเศษที่ครอบคลุมอภิญญา ๖ ไปอีกชั้นหนึ่ง พูดง่ายๆ ว่ามีมากกว่าอภิญญา ๖ อีก ๔ อย่าง

     
  5. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    Black Hole
    กระทู้แนว hardcore ต้องใช้วิจารณญาณสูงในการอ่าน ไม่เหมาะสำหรับบุคคลอายุต่ำกว่า 21 ปี กระทู้ที่ไม่เหมาะสมจากห้องต่างๆจะถูกย้ายมาห้องนี้ "เนื้อหาในห้องนี้เป็นความเชื่อส่วนบุคคล" ทางเว็บไซต์พลังจิตไม่มีส่วนสนับสนุนแนวคิดเหล่านี้แต่ประการใด


    สองอย่างที่กล่าวมาโดยรวมนี่เข้าท่า เข้าที จะมีใครเข้าใจได้แม้เพียงสักเล็กน้อย นั่นก็พลวปัจจัยนำสู่กุศลของเขา


    ส่วนอันตรายิกธรรม เราขอรับไว้เอง ก็หวังเพียงเขาจะสำนึกว่าได้หลงทำผิดไปด้วยสภาวะมาร๕ครอบ เราเข้าใจ


    เรารู้ว่าสักวันหนึ่งพวกเขาเหล่านั้นจะกล่าวอุทานว่า ฉิบหายแล้วกู หรือไม่ก็ เ-ี้ยเอ๊ย ฯลฯ

    น่าเอ็นดูไม่ใช่เล่น พอถึงตอนนั้น น้ำหูน้ำตาจะห้ามไม่ให้ไหล ก็ไม่ใช่ง่าย เพราะตราบาปจะคงอยู่ในใจเขาเสมอๆ จนวันสุดท้าย
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 เมษายน 2016
  6. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    เขาไม่รู้ แต่เขาก็ไม่ได้ทำลาย เขาไม่ผิด เขาทำในสิ่งที่เขาคิดว่าสมควรในกาล ในที่นี้ก็ดีมากแล้ว

    ถ้าเราไม่แสดง เขาจะบาปหรือ ผิดที่เรา ไม่อาจแสดงให้เขาได้เข้าใจอย่างแจ่มชัดได้ในการ ใจความทั้งหมดก็หมายความว่า ไม่มีปฎิสัมภิทาญาน อย่าได้บังอาจแตะต้องเปลี่ยนแปลงแก้ไขยังพระไตรปิฏกทั้งหลายฯ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 เมษายน 2016
  7. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    คึกฤทธิ์ก็คือกระดูกท่อนหนึ่งของหมา หมาในที่นี้ก็คือลูกศิษย์สาวกวัดนาป่าพงที่มีธุลีในดวงตามากจนมืดบอดทั้งหลายฯ

    "กระดูกเป็นของรักของหวงของหมานะ ลองเอากระดูกโยนให้หมาซิ มันจะกกมันจะกอดไว้ บางครั้งยังเอาไปซ่อน เพราะว่ารักและหวงแหน ใครก็เข้าไปใกล้กระดูกของมันไม่ได้"


    พอมันเก่า ไร้รสชาติ ถึงเวลาที่มันผุมันมันกร่อน มันก็จะถูกฝังลืม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  8. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ตอกฝาโลง และก็ฝังให้เป็นปุ๋ยบำรุงดิน ถ้าเป็นได้น่ะนะ กลัวแต่จะเป็นสารพิษทำให้แผ่นดิน เสียมากกว่า

    อักษรภาษาบาลีนั้นเป็นอย่างไร ไม่มีใครรู้ เพราะได้สาบสูญไปนานมากแล้ว ในภายหลังเมื่อชนชาติใดจะนำภาษาบาลีไปใช้ ก็เพียงแต่นำเสียงหรือคำพูดไปใช้เท่านั้น วิธีการเขียนหรือสะกดก็จะเป็นเรื่องของชนชาตินั้นนำอักษรของตนไปใช้เอง

    {O}ถ้าเธอเห็นพยัญชนะนั้น เธอก็ได้ก็มีในปฎิสัมภิทาญาน ถ้าเธอไม่เห็นเธอก็ได้สภาวะธรรมอันเข้าถึงทิพยภูมิของพระอริยะตามลำดับขั้น ดังที่มีมาในพระอรหันต์มี ๔ หมวด เพราะไม่ใช่ว่าจะสามารถเข้าใจในอรรถะ พยัญชนะ ที่มีอรรถะลึกซึ้ง อันประกาศโลกุตระ ได้ง่ายๆเลยจากคัมภีร์หรือหนังสือที่จารึกในบทธรรมหรือจากพระไตรปิฏกเล่มใด เพราะสิ่งต่างๆเหล่านี้ย่อมรับรู้ด้วยสติปัญญา รับรู้ด้วยจิตใจ "อย่าคิดว่าจะรู้อรรถรู้ธรรมได้โดยง่าย ปริยัติยังไม่ดีไม่ผ่านไม่เอา ปฎิบัติก็ไม่ได้ไม่เป็น จะเอาปฎิเวธ คึกฤทธิ์และลิ่วล้อมาร๕สำนักวัดนาป่าพง"

    วิสัชนาให้ยิ่งขึ้นไปอีก เราไม่กล่าวว่าเฉพาะเพียงในโลกนี้เท่านั้น! แต่ทั้งหมดทุกภพภูมินั้นด้วย เธอเห็นพยัญชนะนั้นแล้วหรือยัง?{O}


    เมื่อภาษาบาลีที่ทรงไว้ซึ่งพุทธวจน ภาษาบาลีมีหลักไวยากรณ์เฉพาะไม่เหมือนภาษาใดคำสอนใดในโลก ? แล้วจะมาบอกว่าไวยากรณ์บาลี ดัดแปลงมาจาก สันสกฤต

    นานาสาระเกี่ยวกับพุทธศาสนา
    ความรู้พื้นฐานเกี่ยวเถรวาท
    ทำไมเถรวาทยึดถือภาษาบาลีเป็นภาษาคัมภีร์
    ภาษาบาลีซึ่งพุทธศาสนานิกายเถรวาท ใช้รองรับพุทธพจน์อยู่นั้น มติของนักปราชญ์ทั้งตะวันตก ตะวันออก เห็นขัดแย้งกันไปหมดบ้างว่า เป็นภาษาของชาวโกศลพูด เพราะพระผู้มีพระภาคเป็นชาวแคว้นโกศล ในธรรมเจติยสูตร พระเจ้าปเสนทิกราบทูลพระศาสดาว่า พระผู้มีพระภาคเป็นชาวโกศล แม้หม่อมฉันก็เป็นชาวโกศล เพราะฉะนั้นพระองค์จะต้องใช้ภาษาชาติภูมิของพระองค์ ในการประกาศพระศาสนา 1 แต่บางท่านก็เห็นว่า ภาษาบาลีเป็นภาษาอวันตีแต่โบราณ เพราะพระมหินทร์เป็นชาวเวทิสาคีรีในอวันตี นำเอาภาษาบาลีไปลังกา 2. บางมติก็ว่า เป็นภาษาอินเดียภาคใต้ 3. แต่มติส่วนใหญ่ยืนยันว่า เป็นภาษามคธโบราณที่เรียกว่า “มคธี” จัดอยู่ในสกุลภาษาปรากฤต เมื่อสรุปมติต่างๆ เหล่านี้ เราได้สาระที่น่าเชื่อถืออยู่ข้อหนึ่งคือ ภาษาบาลีในพระไตรปิฎกนั้นเป็นภาษามคธอย่างแน่แท้ คำว่า “บาลี” นอกจากจะหมายถึงภาษาอันมีระเบียบแบบแผน คำนี้ยังเลือนมาจากคำว่า “ปาฏลิ” ซึ่งหมายถึงเมืองปาฏลีบุตรนั่นเอง เพราะฉะนั้นภาษาบาลีก็คือ ภาษาปาฏลีบุตร อันเป็นเมืองหลวงของแคว้นมคธต่อจากกรุงราชคฤห์ แต่เหตุไร ภาษาบาลีจึงสูญไปจากอินเดีย นั่นก็เพราะแคว้นมคธเสื่อมอำนาจลง ภาษาอื่นได้ไหลเขามาแทนที่ ภาษาดั้งเดิมค่อยๆสลายตัวเอง โดยราษฎรหันไปนิยมพูดภาษาผู้มาปกครอง ความจริงพระศาสดามิได้ผูกขาดภาษาใดภาษาหนึ่งในการแสดงธรรม พระองค์ทรงตรัสภาษาท้องถิ่นต่างๆของอินเดียได้ ทรงแสดงธรรมด้วยหลายภาษาทรงอนุญาตให้เรียนพุทธพจน์ด้วยภาษาท้องถิ่นได้ ครั้งหนึ่งมีภิกษุพี่น้องสกุลพราหมณ์ ทูลขอพุทธานุญาต ยกพุทธพจน์ขึ้นสู่ภาษาเดียวเช่นกับภาษาในพระเวท ทรงติเตียน แต่เหตุไฉนปฐมสังคายนาจึงใช้แต่ภาษาบาลีภาษาเดียวขึ้นสู่สังคีติเล่า เหตุผลมีดังนี้คือ
    1. การประชุมสังคายนา ต้องการความสามัคคี ความเป็นระเบียบ ถ้าปล่อยให้ผู้ประชุม ต่างรูปต่างใช้ภาษาท้องถิ่นของตนๆ ที่ประชุมก็ไม่เป็นอันประชุม ไม่เป็นระเบียบ
    2. ภาษาบาลีเป็นภาษาชาวมคธ การประชุมก็ทำกันในมคธ ย่อมเป็นธรรมดาอยู่เองต้องเลือกภาษานี้
    3. พระอรหันต์ผู้เข้าประชุม เข้าใจว่าส่วนใหญ่เป็นชาวมคธ หรือชาวเมืองอื่นที่ขึ้นอยู่กับมคธ
    4. มคธในครั้งนั้น เป็นมหาอำนาจชั้นหนึ่งในอินเดีย มีเมืองขึ้นเช่น โกศล วัชชี กาสี จัมปา ภาษามคธจึงเป็นภาษาที่มีอิทธิพล
    อย่างไรก็ตามคณะสงฆ์อื่นๆ ที่ใช้ภาษาท้องถิ่น ไม่ใช้ภาษามคธรองรับพุทธพจน์มีมากกว่ามาก
    แหล่งข้อมูลอ้างอิง

    http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK1...r2/t16-2-m.htm
    http://www.geocities.com/oraans/budhatwo.html
    http://g6s16.debthai.net/.../include...ssets/Pari.doc
    http://ecurriculum.mv.ac.th/.../bhuddism/bchild10.html


    จากคำคุยโตโอ้อวด

    //////////////////////////////////////////////
    "
    Ritti Janson อย่าลนลาน ครับ
    ผมบอกว่า ไวยากรณ์บาลี ดัดแปลงมาจาก สันสกฤต
    ผมไม่ได้พูดว่า ภาษาบาลี ดัดแปลงมาจาก สันสกฤต
    55555
    Ritti Janson คาถา บทร้อยกรอง
    เป็นของแต่งใหม่ทั้งนั้น
    สมัยพุทธกาล ท่านใช้ภาษาอะไร ?
    มีไวยากรณ์ หรือเปล่า ?
    ไปถามครูบาลีดูสิ
    55555
    Ritti Janson เหรอ ?
    ฉันทโส หมายถึง สันสกฤต เหรอ ?
    555555
    ใครบอกมาหละ ?
    ใช่ อรรถกถาจารย์ ที่ชอบแต่งคำฉันท์ หรือเปล่า ?
    ว่าแต่ว่า
    รู้หรือยัง ว่าไวยากรณ์บาลี ดัดแปลงมาจาก สันสกฤต
    555555

    ///////////////////////////////////////////////////////////////////

    ไวยากรณ์ภาษาบาลี
    ในเอกสารนี้ใช้คำสองคำคือภาษามคธและภาษาบาลี แต่ต่อจากนี้ไปขอใช้คำว่าภาษาบาลีเพื่อจะได้ตรงกับรายวิชา ไวยากรณ์ภาษาบาลีมีกฏเกณฑ์ที่แน่นอน ผู้เริ่มต้นศึกษาต้องรู้จักกับพยัญชนะและสระของภาษาบาลีก่อนจากนั้นจึงค่อยๆถ่ายเสียงภาษาบาลีด้วยอักษรโรมัน บาลีไวยากรณ์นั้นเขียนเป็นภาษาบาลีว่า “ปาลีเวยฺยากรณํ” แปลว่าปกรณ์เป็นเครื่องทำให้แจ้งซึ่งบาลีมีบทวิเคราะห์ว่า ปาลึ วฺยากรโรติ เตนาติ ปาลิกรณํ แปลตามบทวิเคราะห์ว่า อาจารย์ย่อมกระทำให้แจ้งซึ่งบาลีด้วยปกรณ์นั้น
    เพราะเหตุนั้น ปกรณ์นั้นชื่อว่า ปาลิเวยฺยากรณํ นักศึกษาภาษาบาลีในประเทศไทยได้นำคำว่า “บาลี” มาใช้ในความหมายว่า “ภาษาที่รักษาพุทธพจน์” แต่คำว่า “บาลี” ไม่ใช่ภาษาแต่หมายถึงตำราหลักหรือคัมภีร์ชั้นต้นของพระพุทธศาสนาที่บันทึกคำสอนของพระพุทธเจ้าไว้ ดังนั้นก่อนที่จะศึกษาวิชาบาลีเพื่อการศึกษาค้นคว้าพระพุทธศาสนา จึงจำเป็นต้องรู้จักไวยากรณ์ภาษาบาลี
    บาลีไวยากรณ์ 4 ภาค
    บาลีไวยากรณ์แบ่งออกเป็น 4 ภาคคือ อักขรวิธี วจีวิภาค วากยสัมพันธ์ และฉันทลักษณะ(สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส,บาลีไวยากรณ์(สมัญญาภิธาน), พิมพ์ครั้งที่ 36,(กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย,2536), หน้า 5.
    1. อักขรวิธี ว่าด้วยอักษร จัดเป็น 2 คือ(1)สมัญญาภิธานแสดงชื่ออักษร ที่เป็นสระ และพยัญชนะ พร้อมทั้งฐานกรณ์ (2)สนธิ ต่ออักษรที่อยู่ในคำอื่น ให้เนื่องเป็นอันเดียวกัน
    2. วจีวิภาค แบ่งคำพูดออกเป็น 6 ส่วน คือ นาม อัพยยศัพท์ สมาส ตัทธิต อาขยาต กิตต์
    3. วากยสัมพันธ์ ว่าด้วยการก และประพันธ์ผูกคำพูดที่แบ่งไว้ในวจีวิภาค ให้เข้าเป็นประโยคอันเดียวกัน
    4. ฉันทลักษณะ แสดงวิธีแต่งฉันท์ คือคาถาที่เป็นวรรณพฤทธิ์และมาตราพฤทธิ์
    ในชั้นนี้จะศึกษาเพียง 2 ภาคเท่านั้นคืออักขรวิธี วจีวิภาค ส่วนวากยสัมพันธ์ และฉันทลักษณะจะได้ศึกษาในชั้นสูงต่อไปอักษรภาษาบาลี(อักขรวิธี)
    อักษรภาษาบาลีนั้นเป็นอย่างไร ไม่มีใครรู้ เพราะได้สาบสูญไปนานมากแล้ว ในภายหลังเมื่อชนชาติใดจะนำภาษาบาลีไปใช้ ก็เพียงแต่นำเสียงหรือคำพูดไปใช้เท่านั้น วิธีการเขียนหรือสะกดก็จะเป็นเรื่องของชนชาตินั้นนำอักษรของตนไปใช้เอง ในที่นี้ขอแสดงการเขียนคำในภาษาบาลีด้วยอักษรภาษาไทยและอักษรภาษาอังกฤษ (โรมัน)



    {O}"ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อัญญเดียรถีย์ปริพาชกเหล่านั้น
    ได้กล่าวกะข้าพระองค์ทั้งหลายว่า
    ***ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย พระสมณโคดมย่อมทรงแสดงธรรมแก่สาวกทั้งหลายอย่างนี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย มาเถิด เธอทั้งหลายจงรู้ยิ่งธรรมทั้งปวง ครั้นรู้ยิ่งๆ ธรรมทั้งปวงแล้ว จงอยู่เถิด ดังนี้
    ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย แม้เราทั้งหลายก็แสดงธรรมแก่สาวกทั้งหลายอย่างนี้ว่า ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย มาเถิด ท่านทั้งหลายจงรู้ยิ่งธรรมทั้งปวง ครั้นรู้ยิ่งๆ ธรรมทั้งปวงแล้ว จงอยู่เถิด ดังนี้
    ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ในธรรมเทศนาหรืออนุศาสนีนี้จะผิดแผกแตกต่างกันอย่างไรเล่า คือ ธรรมเทศนากับธรรมเทศนา หรืออนุศาสนีกับอนุศาสนี ของพระสมณโคดมหรือของพวกเรา ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ครั้งนั้นแล***

    #####"ข้าพระองค์ทั้งหลายไม่ได้ยินดี ไม่ได้คัดค้าน ภาษิตของอัญญเดียรถีย์ปริพาชกเหล่านั้น ครั้นแล้วลุกจากอาสนะหลีกไป ด้วยคิดว่า เราทั้งหลายจักรู้ทั่วถึงเนื้อความแห่งภาษิตนี้ในสำนักของพระผู้มีพระภาค ฯ"####

    พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชกมีวาทะอย่างนี้ เธอทั้งหลายพึงถามอย่างนี้ว่า ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ปัญหา ๑อุเทศ ๑ ไวยากรณ์ ๑ ปัญหา ๒ อุเทศ ๒ ไวยากรณ์ ๒ ปัญหา ๓ อุเทศ ๓ไวยากรณ์ ๓ ปัญหา ๔ อุเทศ ๔ ไวยากรณ์ ๔ ปัญหา ๕ อุเทศ ๕ ไวยากรณ์ ๕ปัญหา ๖ อุเทศ ๖ ไวยากรณ์ ๖ ปัญหา ๗ อุเทศ ๗ ไวยากรณ์ ๗ ปัญหา ๘อุเทศ ๘ ไวยากรณ์ ๘ ปัญหา ๙ อุเทศ ๙ ไวยากรณ์ ๙ ปัญหา ๑๐ อุเทศ ๑๐ไวยากรณ์ ๑๐ เป็นอย่างไร ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชกถูกถามอย่างนี้แล้ว จักไม่ยังพยากรณ์ให้ถึงพร้อมได้ จักถึงความลำบากแม้อย่างยิ่ง
    ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะพวกอัญญเดียรย์ปริพาชกนั้นถูกถามในปัญหาอันมิใช่วิสัย

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในโลกนี้พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ เทวดาและมนุษย์ เราย่อมไม่เห็นบุคคลที่จะยังจิตให้ยินดีได้ด้วยการพยากรณ์ปัญหาเหล่านี้ เว้นจากตถาคตหรือสาวกตถาคต หรือผู้ที่ฟังจากสาวกของตถาคตนี้ "{O}


    http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=24&A=1226&Z=1359
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 เมษายน 2016
  9. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    "แม้แต่ในครั้งอดีตที่มีพระสงฆ์สาวกรูปใดเบียดเบียนและคัดค้านพระมหาเถระอย่างท่านพระสารีบุตร สมเด็จพระบรมมหาศาสดา ก็ทรงฆ่าทิ้งตามอริยวินัย ทรงเพิกเฉยและละทิ้งเสียไม่ทรงตรัสสั่งสอนหรือตักเตือนใดๆอีก"


    สำนักวัดนาป่าพงนำโดยคึกฤทธิ์และสาวกก็เหมือนกัน เป็นพวกคนพาล ไม่ฉลาด แถมยังโง่สุดเขตฯ

    {O}จงเตือนตน ของตน ให้พ้นผิด
    ตนเตือนจิต ตนได้ ใครจะเหมือน
    ตนเตือนตน ไม่ได้ ใครจะเตือน
    ตนแชเชือน ใครจะช่วย ให้ป่วยการ{O}


    พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรสารีบุตร เรื่องก็จะพึงเป็นเช่นนั้น แต่ว่าโมฆบุรุษบางพวกในธรรมวินัยนี้ เมื่อถูกกล่าวสอน ย่อมไม่รับโดยเคารพ ฯ

    สา. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ บุคคลเหล่าใด ไม่มีศรัทธา ต้องการเลี้ยงชีวิต มิใช่ออกบวชด้วยศรัทธา เป็นผู้โอ้อวด มีมารยา เกเร ฟุ้งซ่าน เย่อหยิ่งเหลาะแหละ ปากกล้า พูดพล่าม ไม่สำรวมทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย ไม่รู้จักประมาณในโภชนะ ไม่ประกอบความเพียร ไม่เพ่งถึงความเป็นสมณะ ไม่มีความเคารพกล้าในสิกขา มักมาก ย่อหย่อน เป็นหัวหน้าในการล่วงละเมิด
    ทอดธุระในวิเวก เกียจคร้าน มีความเพียรทราม มีสติเลอะเลือน ไม่มีสัมปชัญญะ ไม่มีจิตมั่นคง มีจิตฟุ้งซ่าน มีปัญญาทราม คล้ายคนบ้าน้ำลาย คนเหล่านั้น เมื่อถูกข้าพระองค์กล่าวสอนอย่างนี้ ย่อมไม่รับโดยเคารพ

    ส่วนกุลบุตรเหล่าใด มีศรัทธาออกบวช ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยา ไม่เกเร ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่เย่อหยิ่ง ไม่เหลาะแหละ ไม่ปากกล้า ไม่พูดพล่าม สำรวมทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย รู้ประมาณในโภชนะ ประกอบความเพียร เพ่งถึงความเป็นสมณะ มี
    ความเคารพกล้าในสิกขา ไม่มักมาก ไม่ย่อหย่อน ทอดธุระในการล่วงละเมิดเป็นหัวหน้าในวิเวก ปรารภความเพียร อบรมตน มีสติตั้งมั่น มีสัมปชัญญะมีจิตมั่นคง มีจิตเป็นหนึ่ง มีปัญญา มิใช่คล้ายคนบ้าน้ำลาย กุลบุตรเหล่านั้นเมื่อถูกข้าพระองค์กล่าวสอนอย่างนี้ย่อมรับโดยเคารพ ฯ

    พ. ดูกรสารีบุตร บุคคลเหล่าใด ไม่มีศรัทธา ต้องการเลี้ยงชีวิต มีปัญญาทราม คล้ายคนบ้าน้ำลาย จงยกไว้ (ยกเว้น) ส่วนกุลบุตรเหล่าใด มีศรัทธาออกบวช .มีปัญญา มิใช่คล้ายคนบ้าน้ำลาย ดูกรสารีบุตร เธอพึงว่ากล่าวกุลบุตรเหล่านั้น จงกล่าวสอนเพื่อนพรหมจรรย์ จงพร่ำสอนเพื่อนพรหม-จรรย์ ด้วยหวังว่าเราจักยกเพื่อนพรหมจรรย์จากอสัทธรรม ให้ตั้งอยู่ในสัทธรรม
    เธอพึงสำเหนียกไว้อย่างนี้แล สารีบุตร ฯ







    นิโรธสูตร
    ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรได้เรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นรับคำท่านพระสารีบุตรแล้ว ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวว่า
    ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล ถึงพร้อมด้วยสมาธิถึงพร้อมด้วยปัญญา พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง ข้อนั้นเป็นฐานะที่จะมีได้ ถ้าเธอไม่พึงบรรลุอรหัตผลในปัจจุบันไซร้ เธอก็ก้าวล่วงความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิงการาหารเป็นภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มี
    ฤทธิ์ทางใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง ข้อนั้นเป็นฐานะที่จะมีได้ เมื่อท่านพระสารีบุตรกล่าวอย่างนี้แล้ว ท่านพระอุทายีได้กล่าวกะท่านพระสารีบุตรว่า


    ดูกรท่านพระสารีบุตร ข้อที่ภิกษุก้าวล่วงความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิงการาหารเป็นภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทาง
    ใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้างนั้นมิใช่ฐานะ มิใช่โอกาส ข้อนั้นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ แม้ครั้งที่ ๒ ฯลฯแม้ครั้งที่ ๓


    ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรอาวุโสทั้งหลาย
    ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล ผู้ถึงพร้อมด้วยสมาธิ ผู้ถึงพร้อมด้วยปัญญา พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ ถ้าเธอไม่พึงบรรลุอรหัตผลในปัจจุบันไซร้ เธอก็ก้าวล่วงความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิงการาหารเป็นภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทางใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้างข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ แม้ครั้งที่ ๓


    ท่านพระอุทายีได้กล่าวกะท่านพระสารีบุตรว่า

    ดูกรท่านพระสารีบุตร ข้อที่ภิกษุก้าวล่วงความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิงการาหารเป็นภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทางใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง นั่นมิใช่ฐานะ มิใช่โอกาส ข้อนั้นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้


    ครั้งนั้นท่านพระสารีบุตรได้คิดว่า ท่านพระอุทายีคันค้าน
    เราถึง ๓ ครั้ง และภิกษุบางรูปก็ไม่อนุโมทนา (ภาษิต) เรา ผิฉะนั้น เราพึงเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้กล่าวกะภิกษุทั้งหลายว่า


    ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล ถึงพร้อมด้วยสมาธิ ถึงพร้อมด้วยปัญญา พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้างพึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง ข้อนั้นเป็นฐานะที่จะมีได้ ถ้าเธอไม่พึงบรรลุอรหัตผลในปัจจุบันไซร้ เธอก็ก้าวล่วงความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิงการาหารเป็นภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทางใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้างพึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง ข้อนั้นเป็นฐานะที่จะมีได้

    เมื่อท่านพระสารีบุตรกล่าวอย่างนี้แล้ว ท่านพระอุทายีได้กล่าวกะท่านพระสารีบุตรว่า

    ดูกรท่าน
    พระสารีบุตร ข้อที่ภิกษุก้าวล่วงความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิงการาหารเป็นภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทางใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง นั้นมิใช่ฐานะ มิใช่โอกาส ข้อนั้นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ แม้ครั้งที่ ๒ ฯลฯ แม้ครั้งที่ ๓


    ท่านพระอุทายี ... ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรได้คิดว่า ท่านพระอุทายีคัดค้านเราถึง ๓ ครั้ง แม้เฉพาะพระพักตร์แห่งพระผู้มีพระภาค และภิกษุบางรูปก็ไม่อนุโมทนาต่อเรา ผิฉะนั้น เราพึงนิ่งเสีย ครั้งนั้น
    ท่านพระสารีบุตรได้นิ่งอยู่

    ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคได้ตรัสถามท่านพระอุทายีว่า


    ดูกรอุทายี ก็เธอย่อมหมายถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทางใจเหล่าไหน ท่านพระอุทายีได้กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์หมายถึงเหล่าเทพชั้นอรูปที่สำเร็จด้วยสัญญา พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรอุทายี ไฉนเธอผู้เป็นพาล ไม่ฉลาดจึงได้กล่าวอย่างนั้น เธอเองย่อมเข้าใจคำที่เธอควรพูด ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะท่านพระอานนท์ว่า

    ดูกรอานนท์ ไฉนพวกเธอจักวางเฉย (ดูดาย)ภิกษุผู้เถระซึ่งถูกเบียดเบียนอยู่ เพราะว่า แม้ความการุณจักไม่มีในภิกษุผู้ฉลาดซึ่ง
    ถูกเบียดเบียนอยู่ ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคได้ตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล ... ข้อนั้นเป็นฐานะที่จะมีได้

    พระผู้มีพระภาคผู้สุคต ครั้นตรัสดังนี้แล้ว จึงเสด็จลุกจากอาสนะเข้าไปยังพระวิหาร



    ครั้นเมื่อพระผู้มีพระภาคเสด็จไปแล้วไม่นาน ท่านพระอานนท์ได้เข้าไปหาท่านพระอุปวาณะ แล้วกล่าวว่า



    ดูกรท่านอุปวาณะ ภิกษุเหล่าอื่นในพระศาสนานี้ ย่อมเบียดเบียนภิกษุทั้งหลายผู้เถระ พวกเราจะไม่ถามหาภิกษุเหล่านั้น การที่
    พระผู้มีพระภาคเสด็จออกจากที่พักผ่อนในเวลาเย็น จักทรงปรารภเหตุนั้นยกขึ้นแสดง เหมือนดังที่จะพึงตรัสกะท่านอุปวาณะโดยเฉพาะในเหตุนั้น ข้อนั้นไม่เป็นของอัศจรรย์ บัดนี้ ความน้อยใจได้เกิดขึ้นแก่พวกเรา


    ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสด็จออกจากที่เร้นในเวลาเย็นแล้ว เสด็จเข้าไปนั่งที่อุปัฏฐานศาลา ประทับนั่งบนอาสนะที่ได้ตบแต่งไว้ แล้วจึงตรัสถามท่านพระอุปวาณะว่า

    ดูกรอุปวาณะ ภิกษุ
    ผู้เถระประกอบด้วยธรรมเท่าไรหนอแล ย่อมเป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เป็นที่เคารพและเป็นที่ยกย่องของเพื่อนพรหมจรรย์ ท่านพระอุปวาณะได้กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ภิกษุผู้เถระประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ ย่อมเป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เป็นที่เคารพ และเป็นที่ยกย่องของเพื่อนพรหมจรรย์ ธรรม ๕ ประการ

    เป็นไฉน คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีศีล ฯลฯ ศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย ๑ เธอเป็นพหุสูต ฯลฯ บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง ๑ เธอเป็นผู้มีวาจาไพเราะ มีถ้อยคำไพเราะ ประกอบด้วยวาจาชาวเมืองอันสละสลวย ไม่มีโทษให้รู้เนื้อความได้แจ่มแจ้ง ๑ เธอเป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ๑ เธอย่อมทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไปด้วยปัญญาอันยิ่งเองในปัจจุบันเข้าถึงอยู่ ๑ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ภิกษุผู้เถระประกอบด้วยธรรม ๕ ประการนี้แล ย่อมเป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เป็นที่เคารพและเป็นที่ยกย่องของเพื่อนพรหมจรรย์ ฯ

    พ. ดีละๆ อุปวาณะ ภิกษุผู้เถระประกอบด้วยธรรม ๕ ประการนี้แลย่อมเป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เป็นที่เคารพ และเป็นที่ยกย่องของเพื่อนพรหมจรรย์ถ้าหากว่าธรรม ๕ ประการนี้ ไม่พึงมีแก่ภิกษุผู้เถระไซร้ เพื่อนพรหมจรรย์พึงสักการะ เคารพ นับถือ บูชาเธอ โดยความเป็นผู้มีฟันหัก มีผมหงอก มีหนังย่น อะไรกัน แต่เพราะธรรม ๕ ประการนี้ ย่อมมีแก่ภิกษุผู้เถระ ฉะนั้นเพื่อนพรหมจรรย์จึงสักการะ เคารพ นับถือ บูชาเธอ ฯ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 เมษายน 2016
  10. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    บอกแล้วว่าคึกฤทธิ์ไม่มีคุณสมบัติเป็นครูเป็นอาจารย์สั่งสอนผู้อื่นและโดยเฉพาะการแก้ไขพระไตรปิฏก


    องค์ของภิกษุผู้ไม่ควรสนทนาด้วย
                  อุ. ภิกษุทั้งหลายไม่พึงสนทนากับภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์เท่าไรหนอแล
    พระพุทธเจ้าข้า?

                 พ. ดูกรอุบาลี ภิกษุทั้งหลายไม่พึงสนทนากับภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕. องค์ ๕ อะไรบ้าง? คือ:
                              ๑. เป็นผู้ไม่ประกอบด้วยกองศีล ของพระอเสขะ
                              ๒. เป็นผู้ไม่ประกอบด้วยกองสมาธิ ของพระอเสขะ
                              ๓. เป็นผู้ไม่ประกอบด้วยกองปัญญา ของพระอเสขะ
                              ๔. เป็นผู้ไม่ประกอบด้วยกองวิมุตติ ของพระอเสขะ
                              ๕. เป็นผู้ไม่ประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ ของพระอเสขะ


                 ดูกรอุบาลี ภิกษุทั้งหลายไม่พึงสนทนากับภิกษุประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล.


    องค์ของภิกษุผู้ควรสนทนาด้วย

                 ดูกรอุบาลี ภิกษุทั้งหลายพึงสนทนากับภิกษุประกอบด้วยองค์ ๕. องค์ ๕ อะไรบ้าง?คือ:

                              ๑. เป็นผู้ประกอบด้วยกองศีล ของพระอเสขะ
                              ๒. เป็นผู้ประกอบด้วยกองสมาธิ ของพระอเสขะ
                              ๓. เป็นผู้ประกอบด้วยกองปัญญา ของพระอเสขะ
                              ๔. เป็นผู้ประกอบด้วยกองวิมุตติ ของพระอเสขะ
                              ๕. เป็นผู้ประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ ของพระอเสขะ

                 ดูกรอุบาลี ภิกษุทั้งหลายพึงสนทนากับภิกษุประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล.


    องค์ของภิกษุผู้ไม่ควรสนทนาอีกนัยหนึ่ง

                 ดูกรอุบาลี ภิกษุทั้งหลายไม่พึงสนทนากับภิกษุประกอบด้วยองค์แม้อื่นอีก ๕. องค์ ๕ อะไรบ้าง? คือ:

                              ๑. ไม่เป็นผู้บรรลุอรรถปฏิสัมภิทา
                              ๒. ไม่เป็นผู้บรรลุธรรมปฏิสัมภิทา
                              ๓. ไม่เป็นผู้บรรลุนิรุตติปฏิสัมภิทา
                              ๔. ไม่เป็นผู้บรรลุปฏิภาณปฏิสัมภิทา
                              ๕. ไม่พิจารณาจิตตามที่วิมุติ


                 ดูกรอุบาลี ภิกษุทั้งหลายไม่พึงสนทนากับภิกษุประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล.
    องค์ของภิกษุผู้ควรสนทนาด้วย

                 ดูกรอุบาลี ภิกษุทั้งหลายพึงสนทนากับภิกษุประกอบด้วยองค์ ๕. องค์ ๕ อะไรบ้าง?คือ:

                              ๑. เป็นผู้บรรลุอรรถปฏิสัมภิทา
                              ๒. เป็นผู้บรรลุธรรมปฏิสัมภิทา
                              ๓. เป็นผู้บรรลุนิรุตติปฏิสัมภิทา
                              ๔. เป็นผู้บรรลุปฏิภาณปฏิสัมภิทา
                              ๕. พิจารณาจิตตามที่วิมุติ

                 ดูกรอุบาลี ภิกษุทั้งหลายพึงสนทนากับภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล.
    ภิกขุนีโอวาทวรรค ที่ ๘ จบ


    https://youtu.be/0kR3bzZHbhY?list=RDP2D8epuXla8
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 เมษายน 2016
  11. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    วันนี้โฆษนาสินค้าให้ละนะถือว่า gratrypa ฝากของที่ระลึก ห้วงสงกรานต์
    กระต่ายป่า ซ่าส์..แต่เพื่อนแยะ / เล็บครุฑ นารายณ์ทรง ทราบ
     
  12. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    แม้แต่สมเด็จพระบรมมหาศาสดาก็ยังทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ (ทรงตรัสสั่ง)ด้วยทรงมีพระปรารถนาแก่เหล่าสงฆ์สาวกทั้งหลายฯ ให้เป็นธรรมทายาทของพระองค์

    พระผู้มีพระภาคตรัสพุทธพจน์นี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงเป็นธรรมทายาทของเราเถิด อย่าเป็นอามิสทายาทของเราเลย เรามีความเอ็นดูในพวกเธออยู่ว่า ทำอย่างไรหนอสาวกทั้งหลายของเราจะพึงเป็นธรรมทายาท จะไม่พึงเป็นอามิสทายาท

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าพวกเธอจะพึงเป็นอามิสทายาทของเรา ไม่เป็นธรรมทายาทไซร้ ด้วยความที่พวกเธอเป็นอามิสทายาท ไม่เป็นธรรมทายาทนั้น ทั้งพวกเธอ ทั้งเราพึงถูกวิญญูชนติเตียนได้ว่า พวกสาวกของพระศาสดาพากันเป็นอามิสทายาท ไม่เป็นธรรมทายาท

    ดูกรภิกษุทั้งหลายถ้าพวกเธอพึงเป็นธรรมทายาทของเรา ไม่เป็นอามิสทายาทไซร้ ด้วยความที่พวกเธอเป็นธรรมทายาท
    ไม่เป็นอามิสทายาทนั้น ทั้งพวกเธอทั้งเราไม่พึงถูกวิญญูชนติเตียนว่า พวกสาวกของพระศาสดาพากันเป็นธรรมทายาท ไม่เป็นอามิสทายาท เพราะเหตุนั้นแล

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอ
    ทั้งหลายจงเป็นธรรมทายาทของเราเถิด อย่าเป็นอามิสทายาทเลย เรามีความเอ็นดูในพวกเธออยู่ว่าทำอย่างไรหนอ สาวกทั้งหลายของเราพึงเป็นธรรมทายาท ไม่พึงเป็นอามิสทายาท.



    เราก็จักอ้อนวอนขอเช่นเดียวกัน

    "กัลยาณมิตรเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลาย ฯถ้าไม่อยากทำลายพระรัตนตรัยจงอย่าได้ไปเข้ารีตสำนักวัดนาป่าพง ไม่อย่างนั้นในอนาคตกาล ท่านจะได้พบกับความวิบัติฉิบหาย จงชักชวนกันออกมาเถิด ก่อนที่จะสายเกินไป "

    พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรสารีบุตร เรื่องก็จะพึงเป็นเช่นนั้น แต่ว่าโมฆบุรุษบางพวกในธรรมวินัยนี้ เมื่อถูกกล่าวสอน ย่อมไม่รับโดยเคารพ ฯ
    สา. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ บุคคลเหล่าใด ไม่มีศรัทธา ต้องการเลี้ยงชีวิต มิใช่ออกบวชด้วยศรัทธา เป็นผู้โอ้อวด มีมารยา เกเร ฟุ้งซ่าน เย่อหยิ่งเหลาะแหละ ปากกล้า พูดพล่าม ไม่สำรวมทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย ไม่รู้จักประมาณในโภชนะ ไม่ประกอบความเพียร ไม่เพ่งถึงความเป็นสมณะ ไม่มีความเคารพกล้าในสิกขา มักมาก ย่อหย่อน เป็นหัวหน้าในการล่วงละเมิด
    ทอดธุระในวิเวก เกียจคร้าน มีความเพียรทราม มีสติเลอะเลือน ไม่มีสัมปชัญญะ ไม่มีจิตมั่นคง มีจิตฟุ้งซ่าน มีปัญญาทราม คล้ายคนบ้าน้ำลาย คนเหล่านั้น เมื่อถูกข้าพระองค์กล่าวสอนอย่างนี้ ย่อมไม่รับโดยเคารพ ส่วนกุลบุตรเหล่าใด มีศรัทธาออกบวช ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยา ไม่เกเร ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่เย่อหยิ่ง ไม่เหลาะแหละ ไม่ปากกล้า ไม่พูดพล่าม สำรวมทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย
    รู้ประมาณในโภชนะ ประกอบความเพียร เพ่งถึงความเป็นสมณะ มี
    ความเคารพกล้าในสิกขา ไม่มักมาก ไม่ย่อหย่อน ทอดธุระในการล่วงละเมิดเป็นหัวหน้าในวิเวก ปรารภความเพียร อบรมตน มีสติตั้งมั่น มีสัมปชัญญะมีจิตมั่นคง มีจิตเป็นหนึ่ง มีปัญญา มิใช่คล้ายคนบ้าน้ำลาย กุลบุตรเหล่านั้นเมื่อถูกข้าพระองค์กล่าวสอนอย่างนี้ย่อมรับโดยเคารพ ฯ
    พ. ดูกรสารีบุตร บุคคลเหล่าใด ไม่มีศรัทธา ต้องการเลี้ยงชีวิต มีปัญญาทราม คล้ายคนบ้าน้ำลาย จงยกไว้ (ยกเว้น) ส่วนกุลบุตรเหล่าใด มีศรัทธาออกบวช .มีปัญญา มิใช่คล้ายคนบ้าน้ำลาย ดูกรสารีบุตร เธอพึงว่ากล่าวกุลบุตรเหล่านั้น จงกล่าวสอนเพื่อนพรหมจรรย์ จงพร่ำสอนเพื่อนพรหมจรรย์ ด้วยหวังว่าเราจักยกเพื่อนพรหมจรรย์จากอสัทธรรม ให้ตั้งอยู่ในสัทธรรม
    เธอพึงสำเหนียกไว้อย่างนี้แล สารีบุตร ฯ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 เมษายน 2016
  13. jityim

    jityim เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 ตุลาคม 2014
    โพสต์:
    3,421
    ค่าพลัง:
    +3,204
    ได้เจอหนังสือเล่มหนึ่งเขียนเรื่องบาลีไว้ค่ะ ว่า ภาษาบาลีสำคัญไฉน

    ภาษาบาลี เป็นภาษาทรงไว้ซึ่งพระพุทธพจน์
    หลักไวยากรณ์ แปลว่า ทำเนื้อความให้แจ่มแจ้ง

    ในบรรดาเหล่าภาษาทั้งหมดทั้งหลายนั้น ย่อมเปลี่ยนแปลงได้ มีภาษาบาลี(มคธ) อย่างเดียว ที่เป็นภาษาตามความเป็นจริงนี้ ย่อมไม่มีการเปลี่ยนแปลง (เปลี่ยนแปลงคือ ย่อมมีอย่างอื่นวิบัติไปตามกาล) การเปลี่ยนแปลงในบางแห่งด้วยการศึกษาไม่ดีของชาวโลกก็มี

    ภาษีบาลี(มคธ) เป็นภาษาของพรหม พุดได้ตามธรรมชาติ ไม่มีใครทำให้สาปสูญ จึงดำรงอยู่แม้ในยามกัปวินาศ เป็นมูลภาษา (รากภาษา,ภาษาดั้งเดิม) พระพุทธองค์ทรงยกพระพุทธพจน์ คือ พระไตรปิฏกขึ้นสู่ภาษาที่เป็นแบบแผน คือ ยกด้วยภาษา มคธ เท่านั้น

    ยังได้กล่าวอีกว่า.....
    - ผู้ที่ปฏิบัติได้จนเข้าถึงสภาวะธรรม ๑
    - ผู้ที่รู้ภาษาบาลีไวยากรณ์ ๑
    - ผู้ที่อ่านพระไตรปิฏก ฉบับภาษีบาลี ๑

    น่าจะเป็นผู้ที่รักษาพระศาสนาได้เป็นอย่างดี (ความเห็นส่วนตัวค่ะ)

    - วาจาสื่อสารที่ชนะใจคน ๑
    - คำพูดที่เปลี่ยนแปลงจิตใจคนได้ ๑

    สองข้อนี้น่าจะเป็นนักเทศน์ธรรมที่ดี (ความเห็นส่วนตัวค่ะ)
     
  14. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    อรรถกถาปฏิสัมภิทามรรค               
    ชื่อสัทธรรมปกาสินี ในขุททกนิกาย               
    ภาคที่ ๑               
    คันถารัมภกถา  
           
    ปฏิสัมภิทามรรค

    " ผู้ที่มีจิตไม่มั่นคง ไม่ทราบพระสัทธรรม
    มีความเลื่อมใสรวนเร ย่อมมีปัญญาบริบูรณ์
    ไม่ได้"


    http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=31.0&i=0&p=1
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 เมษายน 2016
  15. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    รอให้เขาได้ปฎิสัมภิทาญานที่สามารถเจริญในมรรควิธีอันสมบูรณ์ยิ่งขึ้นตามลำดับและบรรลุปาฎิหาริย์3อยู่ ส่วนล่วงหน้าที่จุติมาเพื่อรักษา อภยปริตร รออยู่ แต่ก็บอกไปแล้ว .ว่าเขาจะปรากฎตัว หลังเราออกบวช จำไม่ไดรึ!
     
  16. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ผู้มีกระแสนิรุตติญานทัสสนะ วิสัชนาธรรม โดยปฎิสัมภิทาญาน ไม่ว่าผู้ใดก็ไม่สามารถแสดงได้เทียมเท่า .นี่คือข้อจำกัดที่ชัดเจนในพระพุทธศาสนา เป็นภูมิของพระอริยะคือพระเสขะขึ้นไปสามารถล่วงรู้โดยชัดแจ้งอย่างไร้ข้อกังขา .และแน่นอน นี่คือธรรมสมบัติ .ที่ผู้หวังความเจริญใฝ่ฝันแสวงหา
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 เมษายน 2016
  17. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    บอกความจริงที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงหนีได้พ้นเหมือนกัน .ว่าใครก็ตามหากได้ปฎิสัมภิทาญาน มีภูมิในองค์ผู้ที่ควรสนทนาด้วยที่แสดงตนไว้ .โดยเฉพาะปฎิสัมภิทาญานเป็นหลัก .ย่อมจะรู้ตัวดีว่า .ตนกำลังเพิกเฉยต่อภาระที่สมควรปฎิบัติและกระทำ .ในกาลนี้มีผู้ทำลายพระสัทธรรมอยู่ .รู้ทั้งรู้ว่าเขามุ่งทำลายก็ยังนิ่งเฉย ซึ่งบุคคลผู้นั้นไม่ว่าจะเป็นใครก็ตาม ในชาตินี้และอีกหลายๆชาติต่อๆไปจนจะมาแก้ไข ในสิ่งที่ตนปล่อยปละละเลยในครานี้ .ไม่ว่าจะเป็นบรรพชิตหรือว่าฆราวาสหรือจะอยู่ในภพภูมิใดก็ตาม ทั้งๆที่สามารถที่จะช่วยแก้ไขดลบันดาล หรือร่วมมือร่วมใจทำกิจอันสมควรในการปกป้องรักษาพระสัทธรรมนี้อย่างสุดชีวิต .แม้จะต้องสูญสิ้นตกตายไปก็จักเจริญยิ่งใหญ่ขึ้นกว่าภพเก่าภูมิเก่า นับร้อยนับพันทวีคูณเท่า ฉนั้นเราขอประกาศ ณ ที่นี้ว่า .ถ้ามีความสามารถแม้แต่จะส่งจิตอธิษฐานใจด้วยความปรารถนา แม้จะไม่สามารถมากไปกว่านี้ .เพราะ ถูกเพราะคุมขังคุกคามโดนกดขี่ข่มเหงอยู่ก็ตาม นั่นก็นับเป็นอานิสงส์มหาศาลแล้วที่ได้กระทำด้วยใจ แล้วไฉนเลย ทั้งกาย ทั้งวาจาจะน้อยกว่าเล่าซึ่งสามัญผลนี้ .ถ้าสามารถจงทำ ไม่สามารถจงตั้งจิตอธิษฐาน . ขอฝากไว้ตรงนี้ ขอให้ได้รับทราบโดยทั่วถึงกันทุกภพภูมิ .รู้สามารถแต่ไม่ช่วย แต่อยากจะได้สามัญผลในพระพุทธศาสนานี้ .แบบพวกชุบมือเปิบก็จงเตรียมตัวเดือดร้อน
     
  18. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    รถรามาช้าง เวชยันตราชรถทรงมี ไหนจะอิทธิฤทธิ์รวดเร็วดั่งใจนึก จะเอาไวแค่ไหน? มาเถอะ .อย่าลืมว่ามากี่ครั้งกี่หนแล้ว นี่กระไร ปล่อยให้อดีตผู้ครองปราสาทมุกสวรรค์ โดดเดี่ยวเดียวดายตลอดชั้นฟ้า และอดีตพระใจอ่อนสมัยพุทธกาลก่อนมีพุทธบัญญัติบอกคืนสิกขามานาต้องสึกเพราะเบญจกัลยาณี กำเนิดชาตินี้ก็มีอุปสรรคขัดขวางทิศทางการเดินทางมากมายเสียเหลือเกิน จะตายแหล่มิตายแหล่กี่ครั้งกี่หนแล้ว ถ้าเคยอธิษฐานปวารณาณตน เคยอวดเก่งเอาไว้ ว่าจะเหมาจ่ายฉายเดี่ยว ขอคืนคำอธิษฐานนั้นเลย เจ้าข้าเอ๊ย เมตตาเถิด
     
  19. jityim

    jityim เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 ตุลาคม 2014
    โพสต์:
    3,421
    ค่าพลัง:
    +3,204
    เรื่องแบบนี้คนธรรมดายากเกินที่จะเข้าใจ แต่พอเข้าใจ และอาจรู้ว่าคงมิใช่หน้าที่ แต่พอจะเอาใจช่วยได้เพื่อความถูกต้องและคงอยู่ของสัทธรรม เพื่อเป็นการรักษาพระศาสนา

    แต่ก่อนเคยสงสัยว่า พิมพ์เฉพาะพุทธพจน์ออกมามิเป็นการดีหรือ ทำให้คนสนใจคำสอนของพระพุทธเจ้ามากขึ้น แต่พระไตรปิฎกก็ยังอยู่ ไม่รู้ว่าเบื้องหลังนั้นเป็นอย่างไรที่จะทำให้พระสัทธรรมเลือนหาย แต่พอตอนนี้เข้าใจมากขึ้นเกี่ยวกับพุทธพาณิชย์ และสิ่งที่สำคัญนั้น อะไร คือ ประเด็นสำคัญที่เป็นสิ่งที่บอกบอกว่า พระพุทธพจน์ที่พิมพ์มาจะมาแทนพระไตรปิฏก ขอถามในนามแทนที่ผู้ที่ไม่รู้เบื้่องลึกเบื้องหลัง ที่มีการกล่าวว่ามีมาร มีเทวดามิจฉาทิฐิ เกี่ยวข้องด้วย เผื่อคนธรรมดาจะได้รู้ที่มาที่ไปได้แจ่มแจ้งมากขึ้นกว่าเดิมค่ัะ
     
  20. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    43,409
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,035
    [​IMG]
    . .
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • RosPraDham.jpg
      RosPraDham.jpg
      ขนาดไฟล์:
      40.3 KB
      เปิดดู:
      2,250
    • Sadhuuu.jpg
      Sadhuuu.jpg
      ขนาดไฟล์:
      3.9 KB
      เปิดดู:
      152

แชร์หน้านี้

Loading...