การหาซื้อพระไตรปิฎก

ในห้อง 'ธรรมทาน - วิทยาทาน' ตั้งกระทู้โดย นิพพานะ, 20 พฤศจิกายน 2007.

  1. นิพพานะ

    นิพพานะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    127
    ค่าพลัง:
    +527
    เรียนรบกวนผู้รู้ทุกท่านครับ

    ในช่วงปีใหม่ที่จะถึงนี้ผมมีความตั้งใจจะหาซื้อพระไตรปิฎก สักหนึ่งชุดเพื่อถวายวัด แต่ผมยังไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับพระไตรปิฎกว่าจะซื้อแบบไหนดี แต่ที่คิด คือว่าจะซื้อฉบับแปล เพื่อสะดวกต่อพระบวชใหม่ในการอ่าน ไม่แน่ใจว่าจะเป็นความคิดที่ถูกต้องหรือไม่ ช่วยแนะนำทีครับ และถ้าซื้อ ผมจะหาซื้อได้ที่ไหนครับ ผู้รู้ท่านใดทราบ กรุณาบอกด้วยครับ ขอบพระคุณอย่างสูงครับ
     
  2. เรียนรู้ธรรม

    เรียนรู้ธรรม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2007
    โพสต์:
    74
    ค่าพลัง:
    +250
    ผมก็ไม่มีความรู้เรื่องนี้ครับ แต่ลองเข้าไปดูในเว็ปไซด์นี้ดูละกันครับ
    มีราคาหนังสือพระไตรปิฎก และตู้พระไตรปิฎกด้วยครับ

    books@mahamakuta.inet.co.th
    มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    241 ถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
    โทร. (66) 02-6291417 ต่อ (106), 2811085 Fax. (66) 02-6294015
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 พฤศจิกายน 2007
  3. jchai4

    jchai4 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    212
    ค่าพลัง:
    +1,075

    เมื่อห้าเดือนก่อน ได้ซื้อพระไตรปิฏก ฉบับภาษาไทย 45 เล่ม15,000 บาท ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
    วัดมหาธาตุ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพฯ

    โทรไปติดต่อที่วัดมหาธาตุ ท่าพระจันทร์
    ตู้ (ซื้อจากเสาชิงช้า มีหลายราคา ตามชนิดของวัสดุ) 3,500 บาท ถวายมหาวิทยาลัยสงฆ์ วิทยาเขตต่างจังหวัดตามที่ทาง มจร.เห็นควร

    มีรายละเอียดเพิ่มเติมบางส่วนจากเว็บ
    http://www.budpage.com/budboard/show_content.pl?b=1&t=4091
    พระไตรปิฎกมี 4 สำนัก จัดทำ :-

    1. พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ หรือฉบับหลวง 45 เล่ม

    ลองติดต่อ :-
    ฝ่ายประชาสัมพันธ์ มจร.
    หน้าพระลาน พระนคร
    กรุงเทพ ฯ 10202
    โทร. 02-226-6250

    2. พระไตรปิฎก ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 45 เล่ม
    ส่วน อรรถกถา ไม่ทราบว่า ดำเนินการเรียบร้อย หรือยัง

    ติดต่อ :-
    มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
    วัดมหาธาตุ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพฯ ๑๐๑๒๐
    โทร. ๐-๒๒๒๖-๖๐๒๗, โทรสาร ๐-๒๒๒๖-๖๐๒๘
    http://www.mcu.ac.th/tripitaka/tripit01a.html


    3. พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฎราชวิทยาลัย 91 เล่ม

    ติดต่อ :-
    มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย
    241 ถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ
    เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
    โทร. (66) 02-6291417 ต่อ (106), 2811085 Fax. (66) 02-6294015
    http://mahamakuta.inet.co.th/T-BOOK/Pali%20Text%20Society(2).html

    4. พระไตรปิฎก ฉบับ ส. ธรรมภักดี 100 เล่ม ทั้ง อรรถกถา ฎีกา
    ไม่ทราบการติดต่อ

    แนะนำ :-
    ค้นพระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม
    http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/

     
  4. นิพพานะ

    นิพพานะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    127
    ค่าพลัง:
    +527
    ขอขอบพระคุณท่านเรียนรู้ธรรม และท่าน jchai4 เป็นอย่างสูงที่ความกรุณาให้ข้อมูลครับ หากว่าบุญอันเนื่องจากที่ข้าพเจ้าได้จากการถวายพระไตรปิฎกนี้ มีผลต่อข้าพเจ้าเช่นไร ขอให้ท่านได้รับผลนั้นเช่นเดียวกับข้าพเจ้า และผู้ร่วมอนุโมทนาทุกท่านเถิด สาธุ
     
  5. khomeraya

    khomeraya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    1,833
    ค่าพลัง:
    +21,369
    เวลาถวายพระไตรปิฎก คุณนิพพานะถวายเข็มและมีดโกนไปด้วยซิครับ อนุโมทนาด้วยนะครับ
     
  6. deawpayu

    deawpayu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กุมภาพันธ์ 2005
    โพสต์:
    178
    ค่าพลัง:
    +980

    ดีแล้วเพื่อน สาธุ แล้วเพื่อนอย่าลืมอธิษฐานเอาบุญไว้กว้างๆไว้ เช่น ข้าพเจ้าขอปราถนาเอาบุญจากมนุษย์และเทวดาหรือผู้ใดก็ตามที่ได้รับประโยชน์จากการจรรโลงพระศาสนาของข้าพเจ้าในครั้งนี้ ตราบใดที่พระไตรปิฎกนี้ยังอยู่ หรือผู้หนึ่งผู้ใดได้ปัญญาหรือคัดลอกนำไปเผยแพร่ต่อ ก็ตาม ข้าพเจ้าขอปราถนาเอาบุญจากทุกๆท่าน ทุกกรณี เพื่อเป็นพลวะปัจจัย ให้ข้าพเจ้าถึงซึ่งพระนิพพานในชาติปัจจุบันนี้ด้วยเถิด หรือนึกอะไรดีๆก็แต่งเอาไว้อฐิษฐานไว้กว้างๆ ให้ครอบคุลม พยายามอย่าแทรกความปราถนาที่เป็นมิจฉาทิฐิก็พอ แต่เราว่า "ขอนิพพานชาตินี้" เจ๋งสุดๆ แล้ว (อธิษฐานบารมี สำคัญนะ อาจารย์ อัญเชิญ บอกมา อิ อิ )
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 23 พฤศจิกายน 2007
  7. wan60

    wan60 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    242
    ค่าพลัง:
    +590
    อนุโมทนาครับ ในอนาคตอยากสร้างพระไตรปิฎกถวายวัดครับ ฝากตัวด้วยครับ
     
  8. FATAL_FRAME

    FATAL_FRAME เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    808
    ค่าพลัง:
    +3,988
    ุชุดพระไตรปิฏก ของ มูลนิธิมหามกุฎราชวิทยาลัย วัดบวรนิเวศวิหาร พระไตรปิฏกบาลีมี 45 เล่ม มีพระไตรปิฏกภาษาไทย 91 เล่ม (เป็นพระไตรปิฎก ด้านหลังเป็นอรรถกถา จึงมีจำนวนเล่มมากกว่า)จะให้พระเถระผู้ใหญ่ที่รู้ภาษาบาลีได้ศึกษาเพิ่มขึ้นได้ ราคา ประมาณ 19,990 บาทซึ่งถ้าลดแล้วราคาคงอยู่ที่ประมาณ 16,990 บาทครับ
     
  9. tiki

    tiki เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2005
    โพสต์:
    127
    ค่าพลัง:
    +404
    อนุโมทนาค่ะ
    และได้ความรู้จากหลายท่านที่นี่ด้วย
    ทว่า มี อรรถกถา ของ มูลนิธิ พร รัตนสุวรรณ ด้วยนะคะ อยู เยื้อง ที่ว่า
    การพระนคร ถนนจากสามเสน ไปบางลำพู ข้างปั๊มน้ำมัน ปตท นะคะ
    ทั้งชุดราคาเท่าไหร่มิทราบ ลองไปดูด้วยค่ะ

    เพราะ อรรถกถานี้ ทำกันเป็นหมู่คณะ โดยพระสงฆ์ และ ฆราวาส คณาจารย์ผู้
    เชี่ยวชาญ บาลีไทย บาลีพม่า ทาง มูลนิธิ ได้พิมพ์ถวายเป็นพระราชกุศล
    มาตลอด เป็นหนังสือที่พระ เณร ไว้อ่านเพื่อ ความถ่องแท้ ของความหมาย
    และ บาลี ในพระไตรปิฎกค่ะ
     
  10. ยี่เข่ง

    ยี่เข่ง Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +36
    อนุโมทนา สาธุค่ะ
    ดิฉันกำลังรวบรวมจะซื้อถวายวัดเหมือนกัน
    อยู่ในช่วงเก็บออมไปเรื่อย ๆค่ะ
     
  11. tammychee

    tammychee สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 มกราคม 2006
    โพสต์:
    197
    ค่าพลัง:
    +7
    พระไตรปิฎกภาษาไทย พ.ศ.2549

    พระไตรปิฎก

    คอลัมน์ หน้าต่างศาสนา

    สมชาย สุรชาตรี ผู้อำนวยการกองพุทธสารนิเทศ สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ


    พระไตรปิฎกเป็นที่รวบรวมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า หรือคัมภีร์บรรจุพุทธพจน์ 3 หมวด คือ วินัยปิฎก สุตตันตปิฎก และอภิธรรมปิฎก

    สมัยก่อนยังไม่มีการจารึกเป็นหนังสือ พระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้าใช้วิธีท่องจำกัน ท่องมาท่องไป หลักคำสอนจึงคลาดเคลื่อนไปบ้าง ยิ่งนำมาเขียนขึ้นเป็นคัมภีร์ คณาจารย์ต่างๆ ก็อาจสอดแทรกหลักการใหม่ๆ หรือใส่ความคิดของตนเองลงไป

    ดังนั้น เพื่อความมั่นคงแห่งพระพุทธศาสนา พุทธบริษัทจึงจัดระเบียบหมวดหมู่พระพุทธวจนะเสียใหม่ โดยทบทวนระเบียบเดิมบ้าง จัดของใหม่ในบางข้อบ้าง เรียกว่า การสังคายนาพระธรรมวินัย

    การสังคายนาพระธรรมวินัยทำกันมาหลายครั้งทั้งในประเทศอินเดีย ศรีลังกา พม่า และไทย สำหรับประเทศไทยภายหลังการสังคายนาได้จารึกลงในใบลาน ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการคัดลอกตัวอักษรจากใบลานแล้วพิมพ์ เป็นหนังสือ 39 เล่ม

    แต่ที่มีการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทยเป็นรูปเล่มครั้งแรก จำนวน 80 เล่ม ในคราวฉลอง 25 พุทธศตวรรษ ต่อมา มีการพิมพ์ขึ้นอีก เป็นพระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับหลวง พิมพ์กันหลายครั้งยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของพุทธศาสนิกชน

    ในการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พุทธศักราช 2549 มหาเถรสมาคม ได้มีมติให้จัดพิมพ์พระไตรปิฎกขึ้นใหม่ เรียกว่า "พระไตรปิฎกฉบับเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี" ซึ่งบัดนี้จัดพิมพ์เสร็จเรียบร้อยแล้ว

    พระไตรปิฎก ฉบับเฉลิมพระเกียรติฯ นี้ จัดพิมพ์ทั้งฉบับภาษาบาลีและภาษาไทย โดยได้รับการตรวจชำระจากคณะกรรมการจัดพิมพ์ และพิจารณาตรวจต้นฉบับ ซึ่งมหาเถรสมาคมแต่งตั้ง โดยมีสมเด็จพระพุฒาจารย์ ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช เป็นประธาน มีพระพรหมมุนี วัดบวรนิเวศวิหาร พระพรหมเวที วัดไตรมิตรวิทยาราม เป็นรองประธาน และมีพระราชสุธี วัดเทวราชกุญชร เป็นเลขานุการในคณะกรรมการดังกล่าว

    คณะสงฆ์โดยมหาเถรสมาคมจะได้นำพระไตรปิฎกฉบับเฉลิมพระเกียรติฯ นี้ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จำนวน 700 ชุด ส่วนอีก 1,300 ชุด จะเปิดโอกาสให้ผู้มีจิตศรัทธาทั่วไปบูชาเป็นธรรมทาน ราคาบูชาชุดใหญ่รวมทั้งฉบับภาษาบาลีและภาษาไทย 90 เล่ม ชุดละ 30,000 บาท ราคาชุดภาษาบาลี 45 เล่ม ชุดละ 15,000 บาท และราคาชุดภาษาไทย 45 เล่ม ชุดละ 15,000 บาท

    บูชาพระไตรปิฎก คือ การสร้างปัญญาให้แก่มวลมนุษยโลก ท่านที่มีจิตศรัทธาสนใจบูชาเป็นธรรมทาน ติดต่อได้ที่วัดเทวราชกุญชร เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร โทร. 0-2281-2430 (เพียงแห่งเดียว)
     
  12. trilakbooks

    trilakbooks เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    1,357
    ค่าพลัง:
    +414
    [​IMG]
    [​IMG]
    ...................................................................................

    หนังสือพระไตรปิฎกและถรรถกถา แปล ไทย ฉบับ มหามกุฏราชวิทยาลัย
    พิมพ์ ที่ มหามกุฎราชวิทยาลัย จังหวัดนครปฐม
    ....................................
    เนื่องในวโรกาส ครบ ๒๐๐ ปี แห่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ กรุงรัตนโกสินทร์ พุทธศักราช ๒๕๒๕
    มหามกุฃฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้จัดพิมพ์หนังสือพระไตรปิฎก พร้อมทั้งรถถกถา แปล เป็นภาษาไทย
    โดย เรียกชื่อตามชื่อของแต่ละปิฎกว่า
    "พระวินัยปิฎก และอรรถกถาแปล"
    "พระสูตรและอรรถกถาแปล"
    "พระอภิธรรมปิฎกและอรรถกถาแปล"
    ความเป็นมาของการจัดพิมพ์ครั้งนั้น มีรายละเอียดปรากฏในราชคุณูปการานุสรณ์
    และคำนำในการพิมพ์ครั้งแรก ซึ่งได้จัดพิมพ์ไว้ตอนต้นพระคัมภีร์แล้ว
    ครั้นพุทธศักราช ๒๕๔๖ เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร
    สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (สุวฑฺฒนมหาเถร)
    องค์นายกกรรมการมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัยฯ
    ทรงเจริญพระชนมายุ ๙๐ พรรษา นับเป็นมงคลวโรกาสอันสำคัญวาระหนึ่ง
    ซึ่งคณะรัฐบาล ใน ฐานะผู้แทนปวงพุทธศาสนิกชนชาวไทย
    ฝ่ายบรรพชิตและฝ่ายคฤหัสถ์ได้จัดงานเฉลิมฉลองขึ้น ระหว่างวันที่
    ๑-๗ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๔๖ ณ บริเวณวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร
    การทั้งนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระมหากรุณาธิคุณ
    โปรดรับไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ ยังความปลาบปลื้มยินดีแก่พุทธศาสนิกชน
    และต่างน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณครั้งนี้ เป็นล้นพ้นหาที่สุดมิได้
    เนื่องในวโรกาสอันสำคัญนี้ มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    ได้จัดทำโครงการชำระพระไตรปิฎก และอรรถกถาแปล
    ฉบับมหามกุฎราชวิทยาลัย ซึ่งได้จัดพิมพ์ขึ้น
    ครั้งแรกใน วโรกาสครบ ๒๐๐ ปี
    แห่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ กรุงรัตนโกสินทร์ พุทธศักราช ๒๕๒๕
    เพื่อให้มีความครบถ้วนสมบูรณ์ยิ่งขึ้น และจัดพิมพ์ขึ้นใหม่
    เพื่อถวายเป็นพระกุศลเฉลิมพระเกียรติแด่พระคุรสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช
    สกลมหาสังฆปริณายก ในฐานะที่ทรงเป็นองค์สกลมหาสังฆปริณายก ทรงเป็นเจ้าคณะแห่งคณะธรรมยุต
    และทรงเป็นนายก กรรมการมูลนิธิมหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมาภ์
    โครงการชำระพระไตรปิฎก และถรรถกถาแปลในครั้งนี้
    ได้เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่วันที่ ๒๓ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๔๔
    โดยมูลนิธิมหามกุฎราชวิทยาลัยฯ ได้ตั้งคณะกรรมการดำเนินการขึ้นคณะหนึ่ง
    ประกอบด้วยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิทั้งฝ่ายบรรพชิตและคฤหัสถ์จำนวน ๑๔ ท่าน
    และคณะทำงานจำนวน ๑๕ ท่าน มีพระพรหมมุนี (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต)
    วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นประธานกรรมการอำนวยการโครงการฯ
    การตรวจชำระครั้งนี้ ได้ดำเนินการในส่วนที่สำคัญ
    คือ
    ๑. ตรวจทานคำแปล ภาษาไทย ของพระบาลี และอรรถกถาให้ครบ ถ้วน
    ตามต้นฉบับ บาลี โดยใช้พระไตรปิฎกบาลี ฉบับสยามรัฐเป็นหลัก
    ๒. ข้อความในส่วนใด ที่ปรากฎชัดเจนว่า ไม่ตรงความหมายตามพระบาลี หรือตกหล่น
    ก็แก้ไข และเพิ่มเติมให้ตรง ครบถ้วน ทั้งทำเชิงอรรถชี้แจงประกอบไว้เป็นที่หมาย
    ๓. ในส่วนอรรถกถา ซึ่งฉบับเดิมยกคำแปลบาลีเป็นบทตั้งโดย ไม่มึคำแปล
    เป็นภาาไทย กำกับไว้นั้น ในการชำระครั้งนี้ ได้แก้ไขเป็นยกคำแปล ภาษาไทยเป็นบทตั้ง
    และวงเล็บคำบาลี กำกับไว้ ทั้งนี้เพื่อให้สมกับเป็นฉบับแปลเป็นภาษาไทย
    และเพื่อเป็นการเอื้อประโยชน์แก่ผู้อ่านที่ไม่มีความรู้ ในภาษาบาลี
    จะได้อ่านและเข้าใจความหมายได้สะดวกขึ้น ส่วนคำบาลี ที่ไม่มีความหมายในเชิงธรรมะ
    ก็ยังคงยกคำบาลี เป็นบทตั้ง อย่างเดิม
    ๔.ปรับปรุงคำแปลภาษาไทยให้อ่านเข้าใจง่ายขึ้น สำหรับผุ้อ่านทั่วไป ที่ไม่มีความรู้ในภาษาบาลี
    ๕.จัดทำดรรชนีค้นคำและค้นเรื่อง
    ของแต่ละเล่มให้ละเอียดขึ้น เพื่อสะดวกแก่การศึกษาค้นคว้า
    ในการตรวจชำระครั้งนี้ คณะกรรมการตรวจชำระมีความเห็นต้องกันว่า ควรเปลี่ยนชื่อ
    จากเดิม ที่เรียกว่า "พระวินัยปิฎก และอรรถกถาแปล
    พระสูตรและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฎราชวิทยาลัย"
    เพื่อให้สอดคล้องกับฉบับภาษาบาลีที่นิยมเรียกกันว่าพระไตรปิฎก
    ฉบับ สยามรัฐ" จนเป็นที่คุ้นกันทั่วไป ส่วนจำนวนเล่มซึ่งฉบับเดิมมีจำนวน
    ๙๐ เล่ม เห็นควรคงไว้ตามเดิม เพราะเป็นที่รู้จักของผู้อ่านทั่วไปอยู่แล้ว
    เมื่อการตรวนชำระเสร็จสิ้นตามโครงการแล้ว
    คณะสงฆ์คณะธรรมยุตและมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    เห็นเป็นโอกาสอันดีที่จะได้สนองพระเดชพระคุณและเฉลิมพระเกียรติเจ้า
    พระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (สุวฑฺฒนมหาเถร)
    ในฐานะที่ทรงเป็นองค์สกลมหาสังฆปริณายก ทรงเป็นเจ้าคณใหม่ คณะธรรมยุต
    และทรงเป็นองค์นายกกรรมการมหามกุฏราชวิทยาลัย
    ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้จัดพิมพ์พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฎราชวิทยาลัย ซึ่งได้รับการ
    ตรวจ่ชำระในครั้งนี้จำนวน ๑,๐๐๐ จบ โดยการร่วมบริจาคของมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัยฯ
    และพุทธศาสนิกชน ทั่วไป น้อมเกล้า ถวายเป็นพระกุศลและถวายพระพรแด่
    เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (สุวฑฺฒนมหาเถร)
    สำหรับทรงประทานแจกไปไว้ตามพระอารามต่างๆ และสถานศึกษาที่สำคัญ เพื่อประโยชน์
    แก่การศึกษา พระพุทธศาสนา และเผยแพร่พระพุทธศาสนาสืบไป
    มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ฯ พจารณาเห็นว่า พระไตรปิฎก และอรรถกถา แปลที่ได้ตรวจชำระ
    และจัดพิมพ์ขึ้นมาใหม่ในวโรกาสดังกล่าวแล้ว
    เป็นสิ่งที่เป็นคุรประโยชน์ต่อการศึกษาพระพุทธศาสนา เป็นอย่างยิ่ง
    สมควร ที่จะได้จัดพิมพ์เผยแพร่ให้กว้างขวาง ยิ่งขึ้น จึงได้จัดพิมพ์ขึ้นอีกส่วนหนึ่ง
    สำหรับเผยแพร่แก่ประชาชนผู้สนใจทั่วไป
    พระไตรปิฎก และอรรถกถาแปลฉบับนี้ ในส่วนที่จัดพิมพ์น้อมถวายแด่ เจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช จำนวน ๑,๐๐๐ เจบ
    และในส่วนที่เป็นมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัยฯ
    จัดพิมพ์ขึ้นสำหรับเผยแพร่แก่ประชาชนทั่วไปนั้น
    มีส่วนที่แตกต่างกันอยู่บ้างเล็กน้อย
    กล่าวคือ
    เมื่อเล่าใดที่จัดพิมพ์เมื่อคราวงานฉลองพระชนมายุ ๙๐ พรรษานั้น
    มีข้อผิดพลาดในการพิมพ์ เช่น ข้อความตกหล่น เลขหน้าสลับเป็นต้น
    ในการจัดพิมพ์เพื่อเผยแพร่ครั้งนี้ จึงได้แก้ไขให้ถูกต้อง
    และจัดพิมพ์เล่มนั้นขึ้นใหม่ทดแทนเล่มที่ผิดพลาดนั้น
    และอีกส่วนหนึ่งที่จัดทำเพิ่มเติมในการพิมพ์เพื่อการเผยแพร่ครั้งนี้คือ
    เพิ่มหัวเรื่องสำหรับบางเรื่องที่ของเดิมไม่ได้ทำไว้
    หรือหัวเรื่องเดิมใช้ทับคำภาษาบาลี ก็ใส่คำแปลภาษาไทยเพิ่มขึ้น
    มูลนิธิมหามกุฎราชวิทยาลัยฯ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า พระไตรปิฎก
    และอรรถกถาแปลฉบับตรวจชำระใหม่ จักอำนวยประโยชน์แก่การศึกษา
    พระพุทธศาสนา และสืบต่ออายุพระพุทธศาสนาให้ยั่งยืนสถาพรยิ่งๆ ขึ้นไป
    มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย
    ในพระบรมราชูปถัมภ์
    [​IMG]
    [​IMG]

    โดยศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ WWW.TRILAKBOOKS.COM
    แหล่งเผยแพร่หนังสือธรรมะ ทั่วโลก
    และเผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎก และตู้พระไตรปิฎก ทั่วประเทศ

    โทร.086-461-8505, 081-424-0781 , 02-482-7358


    [​IMG]
     
  13. trilakbooks

    trilakbooks เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    1,357
    ค่าพลัง:
    +414
  14. trilakbooks

    trilakbooks เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    1,357
    ค่าพลัง:
    +414
  15. trilakbooks

    trilakbooks เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    1,357
    ค่าพลัง:
    +414
    [​IMG]

    สฺยามรฏฺฐสฺส เตปิฏการมฺภกถา

    สำเนา จากราชกิจจานุเบกษา


    ประกาศพระราชทานกรรมสิทธิหนังสือพระไตรปิฎก


    ฉบับสยามรัฏฐแก่มหามกุฏราชวิทยาลัย


    มีพระบรมราชโองการ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก


    พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ดำรัสเหนือเกล้าฯ ว่า พระเจ้า


    พี่ยาเธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ ผู้จัดการพิมพ์พระไตรปิฎกฉบับ


    มหามกุฏราชวิทยาลัยมีกรรมสิทธิในหนังสือพระไตรปิฎกที่กล่าวนาม

    มาแล้ว
    ทรงมีพระราชดำริเห็นว่า มหามกุฏราชวิทยาลัยเป็นสำนัก


    กลางแห่งการศึกษาพระปริยัตติธรรม และเป็นผู้รักษาฉบับพระบาลี


    มิให้วิปัลลาส จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาต


    ให้มหามกุฏราชวิทยาลัยมีกรรมสิทธิในหนังสือพระไตรปิฎกฉบับสยามรัฏฐ


    และได้สิทธิต่างๆ ตามพระราชบัญญัติกรรมสิทธิ์หนังสือทุกประการ

    ประกาศมา ณ วันที่ ๑๔ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๗๐ เป็นปี

    ที่ ๓ ในรัชกาลปัจจุบัน

    [​IMG]
    [​IMG]
     
  16. trilakbooks

    trilakbooks เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    1,357
    ค่าพลัง:
    +414
    <CENTER>[​IMG]</CENTER><CENTER>ศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก </CENTER><CENTER><CENTER>ศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกบริการจัดส่งหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎกทั่วประเทศ โดยการจัดถวายหนังสือพระไตรปิฎก
    และตู้พระไตรปิฎกเป็นธรรมบรรณาการนั้นนับได้ว่า เป็นการเผยแพร่พระพุทธศาสนาอันยอดยิ่ง ซึ่งเป็นหลักธรรมะ และเป็นแกนหลัก
    ในพระธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนาอันยอดยิ่ง นับได้ว่า การเผยแพร่พระไตรปิฎกเป็นพุทธบูชา ธรรมะบูชา สังฆบูชานั้น
    เป็นหนึ่งในการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาอันยอดยิ่งอย่างหนึ่ง ที่ชาวพุทธศาสนิกชนพึงกระทำ และนอกเหนือจากนั้นแล้ว ยังถือได้ว่า
    เป็นการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา โดยยึดหลักคำสอนและหลักใจความสำคัญ
    ของพระพุทธศาสนาให้ดำรงคงอยู่และเผยแพร่หลักธรรมให้เจริญแพร่หลายไปทั่วสากลพิภพอีกด้วย

    <CENTER>บริการจัดพิมพ์รายนามผู้ร่วมถวายพระไตรปิฎก</CENTER><CENTER>สำหรับจารึกลงในหนังสือพระไตรปิฎก</CENTER><CENTER>พร้อมป้ายติดตู้พระไตรปิฎกไม้สัก</CENTER>ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก อันมีหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎกหนึ่งในโครงการของ
    ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ (ริมกำแพงวัดญาณเวศกวัน)
    จึงเป็นหน่วยงานเผยแพร่ธรรมะแห่งหนึ่งที่จัดเผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎก อันเป็นหลักคำสอนขององค์สมเด็จ
    พระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยได้รวบรวมหนังสือพระไตรปิฎกทุกชุดที่จัดเผยแพร่ ณ ปัจจุบันขณะ มาไว้
    ณ จุดเดียวกันเพื่อให้พุทธศาสนิกชน พระภิกษุ สามเณร ผู้ใครสนใจศึกษา
    พระพุทธศาสนาอย่างจริงจัง โดยมุ่งเน้นไปที่เกณฑ์หลักใจความของพระพุทธศาสนาเพียงอย่างเดียว
    และ/หรือ ผู้ที่ใคร่สนใจที่จะถวาย หนังสือพระไตรปิฎก และตู้พระไตรปิฎก ไปยัง ณ สถานที่ต่างๆ
    อาทิเช่น พุทธสถาน วัด หรือแหล่งศึกษาปฏิบัติธรรมต่างๆ อาศรม สำนักปฏิบัติธรรม หรือชมรมปฏิบัติธรรม
    ศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกและ ตู้บรรจุพระไตรปิฎก ก็มีบริการ จัดส่ง หนังสือพระไตรปิฎก และตู้พระไตรปิฎก
    ไปยังสถานที่ ต่างๆ ทัวประเทศ หรือ จัดส่งต่างประเทศ ได้ด้วยเช่นกัน
    </CENTER><CENTER>087-696-7771, 081-424-0781,085-819-4018, 02-482-7358</CENTER><CENTER>.............................................................................</CENTER></CENTER><CENTER><CENTER></CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER><TABLE border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>[​IMG]
    [​IMG]
    ^(คลิ๊กภาพด้านบน..เพื่อ ดูรายละเอียดเกี่ยวกับหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎกแบบต่างๆ)^

    บริการจัดส่งหนังสือพระไตรปิฎก และตู้พระไตรปิำฎก ทุกประเภทที่ใช้เผยแพร่และศึกษาหลักพระธรรมในปัจจุบัน

    แหล่งเผยแพร่ตู้สำหรับบรรจุหนังสือพระไตรปิฎก และหนังสือพระธรรม จัดส่งทั่วประเทศ

    สะดวกและง่ายแบบครบวงจร บริการจัดส่งถึงวัด โทร. 087-696-7771, 085-819-4018, 02-482-7358





    <CENTER><TABLE border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><CENTER><CENTER><CENTER><TABLE border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER></CENTER><CENTER><TABLE border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER></CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ (ริมกำแพงวัดญาณเวศกวัน)</CENTER><CENTER>ตั้งอยู่ เลขที่ 19/5 ม3. ต.บางกระทึก อ.สามพราน จ.นครปฐม 73210</CENTER><CENTER>ตั้งอยู่ริมกำแพงวัดญาณเวศกวัน อ.สามพราน จ.นครปฐม (ติดวัดญาณเวศกวัน (ใกล้พุทธมณฑลสถาน องค์พระ))</CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>เบอร์โทรศัพท์ติดต่อโดยตรง . 087-696-7771, 085-819-4018, 081-424-0781, 02-482-7358</CENTER><CENTER>[​IMG]

    http://www.facebook.com/trilakbooks
    ธรรมะสบายๆ พร้อมรับรู้ข่าวสารหนังสือธรรมะออกใหม่แบบเร็วทันใจ
    กับ ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์
    </CENTER><CENTER>โหลด..แผนที่ แบบละเอียด... มายังศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์</CENTER><CENTER>http://www.mediafire.com/?hog692m470cbjsc</CENTER><CENTER>E- MAIL : trilak_books@yahoo.com </CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>และสามารถร่วมเผยแพร่สื่อธรรมะต่างๆได้ที่นี่ (คลิ๊กที่รูปภาพด้านบน)</CENTER><CENTER>[​IMG]</CENTER><CENTER>เบาะรองนั่งเพื่อสุขภาพ ที่ทุกๆคนวางใจ เหมาะสำหรับใช้นั่งสมาธิ หรือ นั่งพับเพียบ
    คุกเข่า หรือ ขัดสมาธิ เป็นเวลานานๆ
    หรือจะเหมาะสำหรับ ถวายพระภิกษุสงฆ์ ก็เหมาะสมที่สุดที่จะเอื้อความสะดวกสบายในการนั่ง
    ให้ยาวนานและสบายยิ่งขึ้น
    เบาะรองนั่งสมาธิ เอนกประสงค์

    เหมาะสำหรับนั่งขัดสมาธิ นั่งสวดมนต์ และสามารถนำไปใช้นั่งบนรถยนต์ เมื่อต้องเดินทางไกล
    สามารถปรับเปลี่ยนการใช้งานได้ตามความเหมาะสมจัดส่งฟรีทั่วประเทศ
    ................................................
    <CENTER>บริการจัดพิมพ์หนังสือธรรมะ , พิมพ์หนังสือสวดมนต์, หนังสืองานศพ, งานบวช, งานแต่งงาน,
    งานวันเกิด, ครบรอบแต่งงาน, งานบุญ หรือเพื่อเป็นหนังสือที่ระลึกในงานพิธีต่างๆ งานรวดเร็ว ปราณีต
    ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาและศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกแห่งนี้ได้ รวบรวมหนังสือธรรมะ และหนังสือสวดมนต์ สำหรับท่านที่ต้องการ พิมพ์หนังสือธรรมะ,พิมพ์หนังสือสวดมนต์, พิมพ์หนังสืองานศพ เพื่อแจกในโอกาสต่างๆ ในราคาประหยัด ไม่ต้องสั่งจำนวนมากเราก็จัดพิมพ์ให้ ได้ภายในเวลาอันรวดเร็ว หนังสือของศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาและศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎก ดำเนินการจัดพิมพ์หนังสือธรรมะโดย ผู้เชี่ยวชาญในการพิมพ์หนังสือธรรมะ หนังสือสวดมนต์ งานเรียบร้อย สวยงาม ปราณีต งานด่วนสั่งได้ และรับสั่งงานพิมพ์ ของ หนังสือศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาได้เช่นเดียวกัน
    ศูนย์รวมหนังสือธรรมะ หนังสือพระพุทธศาสนา หนังสือสวดมนต์ หนังสือนักธรรม ธรรมศึกษา หนังสือบาลี คู่มืออุบาสกอุบาสิกา หนังสือมนต์พิธี หนังสือถูก หนังสือตักบาตร สังฆทานหนังสือ หนังสือสำหรับทำบุญ หนังสือพิมพ์แจก หนังสือที่ระลึก พิมพ์แจกโอกาสต่างๆ ของชำร่วยงานศพ หนังสือธรรมทาน รับพิมพ์หนังสือ รับพิมพ์งาน สำหรับผู้มีจิตศรัทธา ต้องการสร้างอานิสงส์ในการพิมพ์หนังสือสวดมนต์ & ธรรมะสำหรับแจกเผยแพร่ เป็นธรรมทานหรือธรรมบรรณาการบริการจัดส่ง สำหรับต่างประเทศ คิดค่าจัดส่งตามบริษัท ที่จัดส่ง เหมาะในงานบุญต่างๆ เช่น ทำบุญวันเกิด , สะเดาะเคราะห์ , ทอดกฐิน , ทอดผ้าป่า ,งานฌาปนกิจศพ ,งานพระราชทานเพลิงศพ , หรืองานที่ระลึกเนื่องในวาระต่างๆ ตามแต่โอกาสสมควรของชาวพุทธศาสนิกชน ผู้ใคร่ทำบุญด้วยหนังสือธรรมะ
    </CENTER><CENTER>
    </CENTER>E-mail : trilak_books@yahoo.com

    <CENTER><CENTER>[​IMG]</CENTER><CENTER>แหล่งรวบรวมสื่อธรรมะแจก/แบ่งปันสื่อธรรมะ..-ดาวน์โหลด-ธรรมะ-ธรรมบรรยาย</CENTER></CENTER><CENTER>[​IMG]</CENTER><CENTER><CENTER><CENTER>สำหรับส่งไฟล์เอกสาร, ส่งไฟล์รูปสำหรับงานพิมพ์หนังสือที่ระลึก, ส่งจดหมายสอบถามการพิมพ์หนังสือธรรมะ</CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>E-mail : trilak_books@yahoo.com</CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>............................................................................................................</CENTER><CENTER></CENTER></CENTER>
    </CENTER>
     
  17. trilakbooks

    trilakbooks เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    1,357
    ค่าพลัง:
    +414
    หนังสือพระไตรปิฎกฉบับแปลไทยจำนวน45เล่ม
    ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและตู้พระไตรปิฎกไม้สักสีน้ำตาลอ่อนและน้ำตาลเข้ม
    พร้อมทั้งตู้พระไตรปิฎกลงทองคำเปลวติดกระจกสีสำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎก
    [​IMG]
    หนังสือพระไตรปิฎกฉบับแปลไทยจำนวน45เล่มของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยราคา15000บาท
    ซึ่งเป็นราคาเดียวกับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยบริการจัดส่งทั่วประเทศ(ยังไม่คิดค่าจัดส่ง)และบริการจัดทำส่วนแทรกรายชื่อด้านท้ายของหนังสือพระไตรปิฎก
    ทั้ง 45 เล่ม ด้วยระบบดิจิตอล 4 สี กระดาษวัสดุเดียวกันกับหนังสือพระไตรปิฎกเข้าเล่มอย่างดี
     
  18. trilakbooks

    trilakbooks เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    1,357
    ค่าพลัง:
    +414
    ซื้อหนังสือพระไตรปิฎก-พิมพ์รายชื่อผู้ถวายพระไตรปิฎก-หนังสือพุทธธรรม

    <TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>พระไตรปิฎกฉบับนี้เป็นสุตตันตปิฎก
    ส่วนที่เป็นทีฆนิกายทั้งหมด และส่วนที่เป็น
    มัชฌิมนิกาย ๒ ส่วนใน ๓ ส่วน.. **ที่ใช้คำว่า
    "ฉบับที่ทำให้ง่ายแล้ว" นั้น
    เป็นการนำข้อความในพระไตรปิฎกมาเล่าให้
    ใช้ภาษาร่วมสมัย เป็นการย่อความเพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น
    พระไตรปิฎกฉบับแปลของสำนักต่างๆ
    ยังอ่านยากอยู่มากสำหรับ
    ผู้ใหม่ต่อสำนวนภาษาบาลี เพราะท่านแปลตามตัวอักษร
    ภาษาบาลีทุกประโยค เพื่อรักษาพยัญชนะไว้ให้ได้เท่าเดิม
    ตามพระไตรปิฎกภาษาบาลี ซึ่งจะมีข้อความซ้ำๆ
    กันเป็นจำนวนมาก




    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left">[​IMG]</TD><TD>CD/MP3 ชุด คำ อธิบายขยายความ พระสูตรจากพระไตรปิฎก
    โดยท่าน...พระเทพดิลก (ระแบบ ฐิตญาโณ)
    วัดบวรนิเวศวิหาร

    มีทั้งหมด 500 เรื่อง ความยาว 500 ชั่วโมง

    ซึ่งรวบรวม พระสูตรสำคัญจากพระไตรปิฎก
    และนำมาอธิบายขยายความเพื่อความง่ายแก่การเข้าใจ การศึกษาพระพระไตรปิฎก ในพระสูตรต่างๆ




    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
    มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จัดพิมพ์เผยแพร่
    หนังสือ ปกแข็ง หุ้มหนังอย่างดี เย็บกี่
    กระดาษ ถนอมสายตาสีครีม
    จำนวน 1242 หน้า




    </TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>หนังสือชื่อ “กฎแห่งกรรม” รวม 7 เล่ม ซึ่งเขียนไว้โดย ท.เลียงพิบูลย์
    ซึ่งท่านผู้นี้คือ บิดา ของ พล.ร.อ.ทวีชัย นั่นเอง
    แต่ละเล่ม มีบทความจาก ชีวิตจริง เขียนเอาไว้หลายเรื่องด้วยกัน
    เล่มแรก มีชื่อว่า เรามีกรรมเป็นของตน มีทั้งสิ้น 37 เรื่อง
    เล่มที่สอง มีชื่อว่า เรามีกรรมเป็นแดนเกิด มีทั้งสิ้น 27 เรื่อง
    เล่มที่สาม มีชื่อว่า เรามีกรรมเป็นเผ่าพันธ์ุ มีทั้งสิ้น 40 เรื่อง
    เล่มที่สี่ มีชื่อว่า เรามีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย มีทั้งสิ้น 47 เรื่อง
    เล่มที่ห้า มีชื่อว่า เรามีกรรมเป็นมรดกตกทอด มีทั้งสิ้น 43 เรื่อง
    เล่มที่หก มีชื่อว่า เรามีกรรมใดย่อมได้รับผลกรรมนั้น มีทั้งสิ้น 27 เรื่อง
    และ เล่มที่เจ็ด มีชื่อว่า เราจักล่วงพ้นจากกรรมไปไม่ได้เลย มีทั้งสิ้น 40 เรื่อง
    รวมเจ็ดชุดมี 261 เรื่อง






    </TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><CENTER><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left">[​IMG]</TD><TD>พระเจ้า500ชาติ ฉบับสมบูรณ์
    อดีตชาติก่อนที่จะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า รวมชาดกจากพระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม
    ครบสมบูรณ์ 547 พระชาติ
    หนังสือ ชาดกพระเจ้า 500 ชาติ จากพระไตรปิฎก เล่มนี้ เป็นคำสอนในทางพระพุทธศาสนา
    ที่ได้รับการยกย่องและยอมรับจากพระพุทธศาสนิกชนทั้งหลายแล้วว่า เป็นชาดกนิทานที่เป็นตัวอย่างที่ดี
    ที่บิดา มารดา ครูบาอาจารย์ ใช้ในการอบรม และสั่งสอน บุตรธิดา และ อนุศิษย์
    ให้ดำรงตนอยู่ในศีลธรรม ให้รู้จักละชั่ว ทำดี รักษาใจให้บริสุทธิ์
    เป็นหนังสือ ปกแข็งเย็บกี่ เคลือบ PVC ด้าน และ ลง UVSPOT อย่างดี ขนาด 31.5x21.5 cm
    จำนวน 1158 หน้า ด้วยวัสดุกระดาษปอนด์ สีขาวนวลสายตา




    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><CENTER><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>เรื่อง "สุญญตา" นี้ ถือได้ว่าเป็นองค์ความรู้ที่สำคัญอย่างยิ่ง ในบริบทแห่งพุทธธรรม
    ที่ องค์สมเด็จพระบรมศาสดาได้ทรงค้นพบ และนำมาเปิดเผยให้กับมวลมนุษย์
    ได้รับรู้ รับทราบถึงสัจธรรมอันแท้จริง ที่ประกอบ
    แผงเร้นอยู่ภายในของสรรพสิ่งทั้งหลาย ซึ่งบุคคลธรรมดาสามัญทั่วไปไม่อาจรู้เห็นได้จากระบบสัมผัสภายนอก อันมีผลทำให้โลกทัศน์ของมนุษยชาติ
    ที่เคยถูกจำกัดขอบเขต คับแคบ มืดมิด
    ได้ถูกเปิดโล่งเป็นอิสระ และสว่างไสว
    ไร้เขตแดนอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อนอย่างไรก็ตาม ด้วยลักษณะแห่งความสงบนิ่ง ความเป็นปกติธรรมในตัว
    "สุญญตา" อยู่เอง จึงทำให้คนส่วนใหญ่ มองข้ามหรือ ให้ความสำคัญสนใจกันน้อยมากหรือถึงกับมองไปในความหมายแง่ลบ แง่ร้ายไปเลย ก็ยังมีเป็นจำนวนมาก ทั้งๆ ที่เป็นเรื่องสำคัญ
    เป็นหัวใจของพุทธศาสนา ดังกล่าวแล้วข้างต้นสำหรับชุดคำบรรยาย เรื่อง
    "สุญญตา" รวม ๒๒ ครั้ง
    ระหว่างช่วงเข้าพรรษาปีพุทธศักราช ๒๕๐๓ของพระเดชพระคุณท่านอาจารย์พุทธทาสชุดนี้
    จัดว่าเป็นการบรรยายอธิบายความที่ทั้งครอบคลุมเนื้อหาสาระตลอดจนเจาะลึกแง่มุมต่างๆ




    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><CENTER><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>สารบัญ (หลัก) ของหนังสือ แก่นพุทธศาสน์
    ๑. ใจความทั้งหมดของพระพุทธศาสนา
    หัวใจของพุทธศาสนา คือ สิ่งทั้งปวงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น

    ๒. ความว่าง
    ธรรมที่เป็นประโยชน์แก่ฆราวาส คือ เรื่องสุญญตา

    ๓. วิธีปฏิบัติเพื่อเป็นอยู่ด้วยความว่าง
    การปฏิบัติเพื่อความว่างมี ๓ โอกาส... ปรกติ กระทบ จะดับจิต

    ๔. ยอดปรารถนาของมนุษย์
    จิตวุ่นทำการงานเป็นทุกข์ จิตว่างทำการงานสนุกไปหมด...




    </TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><CENTER>[​IMG]</CENTER><CENTER>[​IMG]




    <CENTER>[​IMG]




    </CENTER></CENTER><CENTER><CENTER>[​IMG]</CENTER><CENTER>แหล่งรวบรวมสื่อธรรมะแจก/แบ่งปันสื่อธรรมะ..-ดาวน์โหลด-ธรรมะ-ธรรมบรรยาย</CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER><CENTER><CENTER>สำหรับส่งไฟล์เอกสาร, ส่งไฟล์รูปสำหรับงานพิมพ์หนังสือที่ระลึก, ส่งจดหมายสอบถามการพิมพ์หนังสือธรรมะ</CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>E-mail : trilak_books@yahoo.com</CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>............................................................................................................</CENTER><CENTER></CENTER></CENTER><CENTER>ศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎกบริการจัดส่งหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎกทั่วประเทศ</CENTER><CENTER>ศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกบริการจัดส่งหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎกทั่วประเทศ โดยการจัดถวายหนังสือพระไตรปิฎก และตู้พระไตรปิฎกเป็นธรรมบรรณาการนั้นนับได้ว่า เป็นการเผยแพร่ พระพุทธศาสนาอันยอดยิ่ง ซึ่งเป็นหลักธรรมะ และเป็นแกนหลักในพระธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนาอันยอดยิ่ง นับได้ว่า การเผยแพร่พระไตรปิฎกเป็นพุทธบูชา ธรรมะบูชา สังฆบูชานั้น เป็นหนึ่งในการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาอันยอดยิ่งอย่างหนึ่ง ที่ชาวพุทธศาสนิกชนพึงกระทำ และนอกเหนือจากนั้นแล้ว ยังถือได้ว่าเป็นการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา โดยยึดหลักคำสอนและหลักใจความสำคัญ ของพระพุทธศาสนาให้ดำรงคงอยู่และเผยแพร่หลักธรรมให้เจริญแพร่หลายไปทั่วสากลพิภพอีกด้วย






    บริการจัดพิมพ์รายนามผู้ร่วมถวายพระไตรปิฎก สำหรับจารึกลงในหนังสือพระไตรปิฎกพร้อมป้ายติดตู้พระไตรปิฎกไม้สัก</CENTER><CENTER><CENTER>ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก อันมีหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎกหนึ่งในโครงการของศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ (ริมกำแพงวัดญาณเวศกวัน) จึงเป็นหน่วยงานเผยแพร่ธรรมะแห่งหนึ่งที่จัดเผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎก อันเป็นหลักคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยได้รวบรวมหนังสือพระไตรปิฎกทุกชุดที่จัดเผยแพร่ ณ ปัจจุบันขณะ มาไว้ ณ จุดเดียวกันเพื่อให้พุทธศาสนิกชน พระภิกษุ สามเณร ผู้ใครสนใจศึกษา พระพุทธศาสนาอย่างจริงจัง โดยมุ่งเน้นไปที่เกณฑ์หลักใจความของพระพุทธศาสนาเพียงอย่างเดียว และ/หรือ ผู้ที่ใคร่สนใจที่จะถวาย หนังสือพระไตรปิฎก และตู้พระไตรปิฎก ไปยัง ณ สถานที่ต่างๆ อาทิเช่น พุทธสถาน วัด หรือแหล่งศึกษาปฏิบัติธรรมต่างๆ อาศรม สำนักปฏิบัติธรรม หรือชมรมปฏิบัติธรรมศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกและ ตู้บรรจุพระไตรปิฎก ก็มีบริการ จัดส่ง หนังสือพระไตรปิฎก และตู้พระไตรปิฎก ไปยังสถานที่ ต่างๆ ทัวประเทศ หรือ จัดส่งต่างประเทศ ได้ด้วยเช่นกัน 087-696-7771, 081-424-0781,085-819-4018, 02-482-7358</CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><!--3 comments-->
    [​IMG]

    ตัวอย่างใบแทรกรายชื่อสำหรับผู้จัดทำถวายหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก ที่จัดทำโดยศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกโดยศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ www.trilakbooks.com โทร. 02-482-7358, 087-696-7771, 085-819-4018, 081-424-0781
    <TABLE style="TEXT-ALIGN: center; MARGIN-LEFT: auto; MARGIN-RIGHT: auto" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center">[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center" class=tr-caption>ตัวอย่างใบแทรกรายชื่อสำหรับผู้จัดทำถวายหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก ที่จัดทำโดยศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกโดยศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ www.trilakbooks.com โทร. 02-482-7358, 087-696-7771, 085-819-4018, 081-424-0781</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="TEXT-ALIGN: center; MARGIN-LEFT: auto; MARGIN-RIGHT: auto" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center">[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center" class=tr-caption>ตัวอย่างใบแทรกรายชื่อสำหรับผู้จัดทำถวายหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก ที่จัดทำโดยศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกโดยศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ www.trilakbooks.com โทร. 02-482-7358, 087-696-7771, 085-819-4018, 081-424-0781</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="TEXT-ALIGN: center; MARGIN-LEFT: auto; MARGIN-RIGHT: auto" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center">[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center" class=tr-caption>ตัวอย่างใบแทรกรายชื่อสำหรับผู้จัดทำถวายหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก ที่จัดทำโดยศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกโดยศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ www.trilakbooks.com โทร. 02-482-7358, 087-696-7771, 085-819-4018, 081-424-0781</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="TEXT-ALIGN: center; MARGIN-LEFT: auto; MARGIN-RIGHT: auto" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center">[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center" class=tr-caption>ตัวอย่างใบแทรกรายชื่อสำหรับผู้จัดทำถวายหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก ที่จัดทำโดยศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกโดยศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ www.trilakbooks.com โทร. 02-482-7358, 087-696-7771, 085-819-4018, 081-424-0781</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="TEXT-ALIGN: center; MARGIN-LEFT: auto; MARGIN-RIGHT: auto" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center">[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center" class=tr-caption>ตัวอย่างใบแทรกรายชื่อสำหรับผู้จัดทำถวายหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก ที่จัดทำโดยศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกโดยศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ www.trilakbooks.com โทร. 02-482-7358, 087-696-7771, 085-819-4018, 081-424-0781</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="TEXT-ALIGN: center; MARGIN-LEFT: auto; MARGIN-RIGHT: auto" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center">[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center" class=tr-caption>ตัวอย่างใบแทรกรายชื่อสำหรับผู้จัดทำถวายหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก ที่จัดทำโดยศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกโดยศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ www.trilakbooks.com โทร. 02-482-7358, 087-696-7771, 085-819-4018, 081-424-0781</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="TEXT-ALIGN: center; MARGIN-LEFT: auto; MARGIN-RIGHT: auto" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center">[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center" class=tr-caption>ตัวอย่างใบแทรกรายชื่อสำหรับผู้จัดทำถวายหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก ที่จัดทำโดยศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกโดยศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ www.trilakbooks.com โทร. 02-482-7358, 087-696-7771, 085-819-4018, 081-424-0781</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="TEXT-ALIGN: center; MARGIN-LEFT: auto; MARGIN-RIGHT: auto" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center">[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center" class=tr-caption>ตัวอย่างใบแทรกรายชื่อสำหรับผู้จัดทำถวายหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก ที่จัดทำโดยศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกโดยศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ www.trilakbooks.com โทร. 02-482-7358, 087-696-7771, 085-819-4018, 081-424-0781</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="TEXT-ALIGN: center; MARGIN-LEFT: auto; MARGIN-RIGHT: auto" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center">[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center" class=tr-caption>ตัวอย่างใบแทรกรายชื่อสำหรับผู้จัดทำถวายหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก ที่จัดทำโดยศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกโดยศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ www.trilakbooks.com โทร. 02-482-7358, 087-696-7771, 085-819-4018, 081-424-0781</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="TEXT-ALIGN: center; MARGIN-LEFT: auto; MARGIN-RIGHT: auto" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center">[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center" class=tr-caption>ตัวอย่างใบแทรกรายชื่อสำหรับผู้จัดทำถวายหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก ที่จัดทำโดยศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกโดยศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ www.trilakbooks.com โทร. 02-482-7358, 087-696-7771, 085-819-4018, 081-424-0781</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="TEXT-ALIGN: center; MARGIN-LEFT: auto; MARGIN-RIGHT: auto" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center">[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center" class=tr-caption>ตัวอย่างใบแทรกรายชื่อสำหรับผู้จัดทำถวายหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก ที่จัดทำโดยศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกโดยศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ www.trilakbooks.com โทร. 02-482-7358, 087-696-7771, 085-819-4018, 081-424-0781</TD></TR></TBODY></TABLE>จากไตรลักษณ์ ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา ริมกำแพงวัดญาณเวศกวัน www.trilakbooks.com

    </CENTER>
     
  19. trilakbooks

    trilakbooks เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    1,357
    ค่าพลัง:
    +414
    <CENTER>[​IMG] </CENTER><CENTER>หากดาวน์โหลดแผนที่มายังศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ ไม่สำเร็จ สามารถ ส่ง e-mail ขอแผนที่มาได้ที่ trilak_books@yahoo.com</CENTER><CENTER><CENTER>ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ (ริมกำแพงวัดญาณเวศกวัน) ตั้งอยู่ เลขที่ 19/5 ม3. ต.บางกระทึก อ.สามพราน จ.นครปฐม 73210</CENTER><CENTER>ตั้งอยู่ริมกำแพงวัดญาณเวศกวัน อ.สามพราน จ.นครปฐม (ติดวัดญาณเวศกวัน (ใกล้พุทธมณฑลสถาน องค์พระ))</CENTER><CENTER>เบอร์โทรศัพท์ติดต่อโดยตรง . 087-696-7771, 085-819-4018, 081-424-0781, 02-482-7358 **สังเกตุ** ให้ผ่านหน้าประตูทางเข้าวัดญาณเวศกวัน เจอแยกเลี้ยวซ้าย ก็จักถึงศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์เลย</CENTER><CENTER></CENTER></CENTER><CENTER>[​IMG]</CENTER><CENTER><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG] <FORM id=product_submit class=clearfix method=post name=product_submit action=/index.php?mo=31&id=706452 sizcache="7" sizset="254">


    </FORM></TD><TD>
    พระไตรปิฎก ฉบับกระเป๋า

    เป็นการสรุปย่อเนื้อหาในพระไตรปิฎก ๓ สูตร คือ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก ที่มีทั้งหมด ๔๕ เล่ม เป็นแบับกระเป๋า มีด้วยกันทั้งหมด ๔๐ เล่ม รูปเล่มที่มีขนาดกระทัดรัด พกพาง่าย สามารถนำไปอ่านศึกษาได้ทุกที่ เนื้อหาภายในเล่ม สรุปย่อจากเนื้อหาไว้อย่างเต็มเปี่ยมเมื่ออ่านแล้วสามารถเป็นแนวทาง ให้ศึกษาเนื้อหาภายในแต่ละเรื่องอย่างถูกต้อง
    พระไตรปิฎกฉบับกระเป๋า โดยโครงการ “ชวนชาวพุทธอ่านพระไตรปิฎก”
    เป็นกิจกรรมเชิญชวนและส่งเสริมชาวพุทธให้สนใจศึกษาและปฏิบัติตามคำสอน
    ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยการศึกษาพระไตรปิฎกซึ่งเป็นพระคัมภีร์ที่สำคัญที่สุดของพระพุทธศาสนา

    พระไตรปิฎกฉบับกระเป๋า เป็นพระไตรปิฎกฉบับล่าสุดของโลก (สิงหาคม 2554) แปลและรวบรวมเรียบเรียงโดยคณาจารย์พุทธศาสตรบัณฑิต 41
    แห่งมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เน้นให้เป็นพระไตรปิฎกฉบับเริ่มต้น
    ที่อ่านง่าย เข้าใจง่าย อ่านได้ทุกวัย เด็กนักเรียนตั้งแต่ระดับชั้นประถมขึ้นมาสามารถอ่านได้ทันที
    คณาจารย์พุทธศาสตรบัณฑิต 41 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่แปลและเรียบเรียงรวบรวมพระไตรปิฎกฉบับกระเป๋าชุดนี้ ประกอบด้วยพระภิกษุและฆราวาสผู้มีความรู้ความสามารถ กว่า 50 รูป/ท่าน​
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left">รูปแบบและหนังสือพระไตรปิฎกแบบต่างๆ อาทิ หนังสือพระไตรปิฎกแบบ 45 เล่มของมจร
    หนังสือพระไตรปิฎกแบบ 91 เล่มของ มมร และ แบบชุดพระไตรปิฎกแบบอื่นๆ ที่ใช้เผยแพร่
    ณ ปัจจุบัน พร้อม ทั้ง ตู้พระไตรปิฎก ที่ศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกและหนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ เผยแพร่อยู่ ณ ปัจจุบันนี้</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left">[​IMG]</TD><TD style="TEXT-ALIGN: left">พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน โดย ท่านสุชีพ ปุญญานุภาพ เดิม ย่อจากพระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม ขนาด : 19x26CM จำนวน : 820 หน้า วัสดุ : กระดาษถนอมสายตา สีครีม ปั๊มทอง (ปกแข็ง สันโค้งเย็บกี่อย่างดี) ( โดย. มหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์) ราคาเล่มละ 500 บาท</TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>
    พระไตรปิฎกสำหรับผู้บวชใหม่ และชาวพุทธทั่วไป
    โดย-แสง จันทร์งาม,วศิ นอินทสระ,อุทัย บุญยืน ขนาด 15.1*21.6 CM พร้อมกล่องกระดาษแข็ง หุ้มหนังสือ อย่างดี
    จำนวน 1038 หน้า เป็นงานถอดความและเลือกสรรเนื้อหาแห่งพระไตรปิฎกฉบับบาลี นำมาเรียบเรียงให้อ่านเข้าใจง่ายสำหรับชาวบ้านทั่วไป มีเนื้อหาครอบคลุมพระไตรปิฎกฉบับใหญ่ชนิดที่อ่านแล้วจะเข้าใจแนวพระธรรมวินัยของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในหลักใหญ่ๆ ด้วยตนเองและเป็นการปูพื้นฐานความรู้ทางพระพุทธศาสนาให้เกิดศรัทธาที่จะศึกษาพระไตรปิฎกยิ่งๆขึ้นไป​
    </TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>
    พระไตรปิฎกฉบับที่ทำให้อ่านง่ายแล้ว
    ฉบับนี้นี้เป็นสุตตันตปิฎก ส่วนที่เป็นทีฆนิกายทั้งหมด และส่วนที่เป็น มัชฌิมนิกาย ๒ ส่วนใน ๓ ส่วนที่ใช้คำว่า "ฉบับที่ทำให้ง่ายแล้ว" นั้น เป็นการนำข้อความในพระไตรปิฎกมาเล่าให้ใช้ภาษาร่วมสมัย เป็นการย่อความเพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้นพระไตรปิฎกฉบับแปลของสำนักต่างๆ ยังอ่านยากอยู่มากสำหรับผู้ใหม่ต่อสำนวนภาษาบาลี เพราะท่านแปลตามตัวอักษรภาษาบาลีทุกประโยค เพื่อรักษาพยัญชนะไว้ให้ได้เท่าเดิมตามพระไตรปิฎกภาษาบาลี​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </CENTER><CENTER><CENTER>[​IMG]</CENTER><CENTER><TABLE border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><CENTER><CENTER><CENTER><TABLE border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER></CENTER><CENTER><TABLE border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><CENTER><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG] </TD><TD style="TEXT-ALIGN: left">พระเจ้า500ชาติ ฉบับสมบูรณ์
    อดีตชาติก่อนที่จะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า รวมชาดกจากพระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม ครบสมบูรณ์ 547 พระชาติ หนังสือ ชาดกพระเจ้า 500 ชาติ จากพระไตรปิฎก เล่มนี้ เป็นคำสอนในทางพระพุทธศาสนา
    ที่ได้รับการยกย่องและยอมรับจากพระพุทธศาสนิกชนทั้งหลายแล้วว่า เป็นชาดกนิทานที่เป็นตัวอย่างที่ดีที่บิดา มารดา ครูบาอาจารย์ ใช้ในการอบรม และสั่งสอน บุตรธิดา และ อนุศิษย์ให้ดำรงตนอยู่ในศีลธรรม ให้รู้จักละชั่ว ทำดี รักษาใจให้บริสุทธิ์
    </TD></TR><TR><TD>[​IMG] </TD><TD>
    พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
    มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จัดพิมพ์เผยแพร่หนังสือ ปกแข็ง หุ้มหนังอย่างดี เย็บกี่ กระดาษ ถนอมสายตาสีครีมจำนวน 1242 หน้า จัดพิมพ์ครั้งที่ 11 พ.ศ. 2552 พิมพ์ที่ โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
    จำนวน 15,000 เล่ม
    ควรทราบก่อนอ่าน (บทคัดย่อ)
    หนังสือนี้เรียงเนื้อหาตามลำดับหลักธรรม แต่อาจเลือกอ่านที่ใดๆ ตามที่ง่ายหรือสนใจเนื้อหาของหนังสือนี้ได้เรียงตามลำดับหลักวิชาทางพระพุทธศาสนา ซึ่งถือว่าได้จัดไว้อย่างเป็นระบบจึงเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการหาคามรู้เกี่ยวกับธรรมอย่างเอา
    จริงเอาจัง หรือศึกษาพุทธศาสนาอย่างเป็นวิชาการ ​
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>หนังสือเรื่อง นรกสวรรค์ท่านเลือกได้ ฉบับปรับปรุงใหม่
    ว่าด้วยเรื่อง นรกภูมิ สวรรค์ภูมิ กฎแห่งกรรม ระลึกชาติ ภาพประกอบทั้งเล่ม 4 สี</TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>mp3 นรกสวรรค์ท่านเลือกได้

    mp 3 ชุดสรกสวรรค์ท่านเลือกได้นี้เป็นผลงานการอ่าน โดย คุณเพ็ญศรี อินทรทัต
    จากหนังสือเรื่อง นรกสวรรค์ ท่านเลือกได้ความยาว 26 ชั่วโมง 23 นาที</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left">พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป . อ. ปยุตโต) </TD><TD>[​IMG]</TD><TD style="TEXT-ALIGN: right">พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป . อ. ปยุตโต) </TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left">พจนานุกรมธรรม ฉบับพุทธทาส ฉลอง105ปี
    ชาตกาลพุทธทาส
    </TD><TD>[​IMG]</TD><TD>พจนานุกรมธรรม ฉบับปัญญานันทภิกขุ ฉลอง 100ปีชาตกาลปัญญานันทะ

    </TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>พจนานุกรม เพื่อการเรียนรู้คำไทยทั่วไป
    พระธรรมกิตติวงศ์ ทองดี สุรเตโช


    </TD><TD>[​IMG]</TD><TD></TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><CENTER><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left">[​IMG]</TD><TD>
    พระพุทธศาสนาในอาเซีย โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)
    "หนังสือพระพุทธศาสนาในอาเซียนี้ พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ๑๖ ปีมาแล้ว เดิมเป็นหนังสือเล่มเล็กๆ เพราะเขียนขึ้นด้วยความมุ่งหมายเพียงจะให้เป็นความรู้รอบตัวๆ พอให้พระภิกษุสามเณร โดยเฉพาะที่เป็นนิสิต นักศึกษา และนักเรียนสนใจและรู้จักพระพุทธศาสนาในดอนแดนอื่นๆ บ้าง ส่วนที่มีเนื้อหามากสักหน่อยก็คือ พระพุทธศาสนาในประเทศไทย ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับตนเองที่ควรรู้จักให้มากกว่าที่อื่น แต่กระนั้น ก็ได้เขียนอย่างเป็นกาลานุกรม (chronology) เพื่อให้ย่นย่อและรวบรัดที่สุด
    ในการพิมพ์ครั้งต่อๆ มา ได้พิจารณาเห็นว่าเรื่องที่เขียนไว้เดิมนั้นมีเนื้อหาสาระน้อยเกินไป จึงได้ขยายเพิ่มรายละเอียดลงไปมากขึ้นโดยเฉพาะในการพิมพ์ครั้งที่ ๓ ได้เขียนเพิ่มความเป็นมาแบบ กาลานุกรม ลงในเรื่องประเทศจีน ทำให้ "พระพุทธศาสนาในประเทศจีน" ยาวขึ้นอีกมากในการพิมพ์ครั้งที่ ๔ นี้ได้นำเรื่องที่พิมพ์แล้ว และเตรียมไว้สำหรับพิมพ์โอกาสอื่นๆ มาแทนที่เรื่องเก่าๆ ในหนังสือนี้หลายเรื่อง คือ"พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น" จากหนังสือเล่มเล็กๆ ซึ่งพิมพ์ใน พ.ศ.๒๕๑๑"พระพุทธศาสนาในกัมพูชา พระพุทธศาสนาในลาว" และ "พระพุทธศาสนาในเวียดนาม"จากต้นฉบับที่เขียนไว้สำหรับสารานุกรมพระพุทธศาสนา เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๑ เนื่องจากเรื่องทั้งสี่นี้มีความยาวเป็นอันมาก จึงทำให้หนังสือขยายหน้าออกไปกว่าเดิมหลายส่วนและที่สำคัญไม่น้อยก็คือ ได้ทำให้เรื่องต่างๆ ในเล่มมีปริมาณของเนื้อหายาวสั้น มากน้อย กว่ากันมากจนดูไม่ได้สัดส่วนสมดุลกันเลย โดยเฉพาะ เรื่อง "พระพุทธศาสนาในอาเซียกลาง"และ "พระพุทธศาสนาในอาฟกานิสถาน" ยังคงสั้นมาก มีลักษณะเป็นเพียงความรู้รอบตัว และเรื่องพระพุทธศาสนาในเกาหลี ที่เขียนไว้ค่อนข้างยาวใน "พุทธจักร" ในพ.ศ.๒๕๑๑ ก็ยังไม่ได้ปรับปรุงและนำมาแทนที่เรื่องที่มีชื่่อเดียวกันในหนังสือนี้..."​
    </TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>
    แนวคำสอนสมเด็จโต
    สมาธิ ทางสงบ ถอดจิต
    ผู้หวังการฝึกสมาธิสูงขึ้นก็จะได้ศึกษาเรื่องการถอดจิตอีกเรื่องหนึ่งเพื่อจะได้เข้าใจเรื่องการพิจารณา กายในกาย จิตในจิต วิญญาณในวิญญาณให้รู้ซึ้งเข้าใจมากขึ้น อันจะมีผลต่อเนื่อง เข้าใจเรื่องกฎแห่งกรรม
    วัฏฏะสงสาร วิญญาณมีจริงหรือไม่

    สุดท้ายศึกษาเรื่องผลพลอยได้จากการฝึกสมาธิ ด้วย อันจะเป็นการเพิ่มพูนความรู้อีกแนวหนึ่งซึ่งท่านสามารถพิสูจน์ได้ด้วยการทดลองปฏิบัติหนังสือเล่มนี้ไม่ใช่เป็นเพียงทฤษฏี แต่เป็นหนังสือภาคปฏิบัติที่ทุกท่านสามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเองโดย ปราศจากอันตราย เพราะเขียนด้วยภาษาง่ายๆ เป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ่ตลอดเล่มจึงหวังว่า หนังสือนี้จะช่วยให้ท่านฝึกจิตให้สงบได้อย่างแท้จริง

    หลักการอ่านหนังสือนี้ขอให้อ่านตลอดตามลำดับให้จบเล่มเที่ยวหนึ่งก่อน แล้วจึงอ่านอีกเที่ยวจนเข้าใจความหมายของแต่ละขั้นตอน เพื่อเป็นแผนที่ประกอบการเดินทางให้รู้ว่าที่ใดมีหลุม มีบ่อ อันอาจจะทำให้เกิดอันตรายได้ แล้วปฏิบัติตามลำดับ ไม่กระโดดข้ามขั้นตอนจะได้ปฏิบัติดำเนินไปด้วยดี​
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER></CENTER><CENTER><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD><TD>
    [​IMG]
    </TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>
    มนต์พิธี ชาวพุทธ แปล
    รวมบทสวดมนต์ทำวัตร เช้าเย็น- เจ็ดตำนาน สิบสองตำนาน
    พร้อมคำแปล บทสวดทั่วไป ลำดับบทและหน้าสากล
    มีเชิงอรรถบอกที่มาอ้างอิง วิธีใช้สวด พิธีบรรพขา-อุปสมบท
    คำอาราธนาและคำถวายทานต่างๆ ครบถ้วนสมบูรณ์
    เหมาะสำหรับผู้เตรียมบวช พระภิกษุ สามเณร และประชาชนทั่วไป​
    </TD><TD>
    โพธิปักขิยธรรม

    เป็นเรื่องที่เป็นไปพื่อการตรัสรู้ ทีนี้การนำเรื่องโพธิปักขิยธรรมมาทำการประยุกต์
    ก็คือการนำมา ปฏิบัติเพื่อใช้ให้เป็นประโยชน์ให้ได้
    ไม่ใช่เพียงแต่เรียนไว้ท่องจำไว้ได้แล้วเลิกกัน มีสูตรของการประยุกต์ สั้นๆ เพียง ๒ คำ"ทำปริยัติให้เป็นปฏิเวธ ด้วยการประวักต์คือการปฏิบัติ" ฉะนั้น ในรูปของปริยัติเราจะต้องเข้าใจให้ได้ว่า ในโพธิปักขิยธรรม ๗ หมวดนั้น สติปัฏฐาน ๔ เป็นหมวดที่สำคัญที่สุดเพราะเป็นตัวการปฏิบัติซึ่งมีแนวปฏิบัติตั้งแต่ต้นในที่สุดขั้นริเริ่มจนถึงจุดสุดท้ายถือนิพพาน จึงถือเอาหมวดนี้ เป็นหลักสำหรับปฏิบัติ​
    </TD><TD style="TEXT-ALIGN: left">ภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ เป็นวาระสุดท้ายแห่งเราแล้วเราขอเตือนเธอทั้งหลายให้จำมั่นไว้ว่าสิ่งทั้งปวง มีความเสื่อและความสิ้นไปเป็นธรรมดาเธอทั้งหลายจงอยู่ด้วยความไม่ประมาทเถิดในที่สุดแม้พระพุทธองค์เองก็ต้องประสบอวสานเหมือนคนทั้งหลายพระธรรมที่พระองคืเคยพร่ำสอนมาตลอดพระชนมชีพว่าสัตว์ทั้งหลาย มีความตายเป็นที่สุดนั้นเป็นสัจธรรมที่ไม่ยกเว้นแต่พระองค์เอง
    ..........................................................
    "อานนท์ เราเคยบอกเธอแล้วมิใช่หรือว่า บุคคลย่อมต้องพลัดพรากจากสิ่งที่รักที่พึงใจเป็นธรรมดาหลีกเลี่ยงไม่ได้อานนท์เอย ชีวิตนี้มีความพลัดพรากเป็นที่สุด สิ่งทั้งหลายมีความแตกไปดับไป สลายไปเป็นธรรมดา จะปรารถนามิให้เป็นอย่างที่มันควรจะเป็นนั้น เป็นฐานะที่ไม่พึงหวังได้ ทุกสิ่งทุกอย่างดำเนินไปเคลื่อนไปสู่จุดสลายตัวอยู่ทุกขณะ"
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left">[​IMG]</TD><TD>เบาะรองนั่ง-เบาะทำสมาธิ
    สำหรับนั่งสมาธิ หรือ นั่งพับเพียบ
    คุกเข่าหรือ ขัดสมาธิ เป็นเวลานานๆ
    หรือจะเหมาะสำหรับ
    ถวายพระภิกษุสงฆ์
    ก็เหมาะสมที่สุดที่จะเอื้อความสะดวกสบายในการนั่ง ให้ยาวนานและสบายยิ่งขึ้น


    เบาะรองนั่งสมาธิ
    เอนกประสงค์
    เหมาะสำหรับนั่งขัดสมาธิ
    นั่งสวดมนต์ และสามารถนำไปใช้นั่งบนรถยนต์ เมื่อต้องเดินทางไกล
    สามารถปรับเปลี่ยนการใช้งานได้ตามความเหมาะสม

    การดูแลรักษา
    1. ผ้าที่หุ้มเบาะนั่งสามารถถอดซักได้

    2. ไส้ของเบาะควรนำมาผึ่งลมในที่อากาศถ่ายเทสะดวก และไม่ควรนำมาตากแดด

    3. บริเวณพื้นผิวของเจลสามารถนำผ้าชุบน้ำหมาดๆ เช็ดทำความสะอาด

    4. ไม่ควรวางเบาะนั่งตั้งขึ้น หรือ
    วางคว่ำเป็นระยะเวลานาน
    เพราะอาจเกิดความเสียหายกับแผ่นเจลได้

    เป็นฐานของเบาะนั่ง Memory Foam (บางรุ่น)เป็นฟองน้ำแบบคืนตัวช้า เมื่อมีการกดทับ ฟองน้ำจะรับรูป สรีระได้อย่างเหมาะสม ผู้นั่งรู้สึกผ่อนคลายแรงกดทับกระเป๋าหิ้ว พกพาสะดวก
    </TD></TR><TR><TD></TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </CENTER><CENTER>[​IMG]</CENTER></CENTER></CENTER>
     

แชร์หน้านี้

Loading...