ขอ บทสวด อนัตตลักขณสูตรด้วยครับ

ในห้อง 'บทสวดมนต์ - คาถา' ตั้งกระทู้โดย mayl8e, 16 มกราคม 2006.

  1. mayl8e

    mayl8e Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 กันยายน 2005
    โพสต์:
    88
    ค่าพลัง:
    +55
    ขอด้วยครับจะเอาไปสวดพิจารณา ไตรลักณ์
     
  2. nk_wit

    nk_wit สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 กันยายน 2008
    โพสต์:
    12
    ค่าพลัง:
    +18
    เอวัมเม สุตัง เอกัง สะมะยัง ภะคะวา พาราณะสิยัง วิหะระติ, อิสิปะตะเน

    มิคะทะเย , ตัตระ โข ภะคะวา ปัญจะวัคคียเย ภิกขู อามันเตสิ , รูปัง ภิกขะ

    เว อนัตตา, รูปัญจะ หิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ , นะยิทัง รูปัง อาพาธา

    ยะ สังวัตเตยยะ, ลัพเภถะ จะ รูเป, เอวัง เม รูปัง โหตุ เอวัง เม รูปัง มา อโหสีติ,

    ยัสมา จะ โข ภิกขะเว รูปัง อนัตตา ตัสมา รูปัง อาพาธายะ สังวัตตะติ, นะ

    จะ ลัพภะติ รูเป, เอวัง เม รูปัง โหตุ เอวัง เม รูปัง มาอโหสีติ

    เวทนา อนัตตา , เวทนา จะ หิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ, นะยิทัง เว

    ทะนา อาพาธายะ สังวัตเตยยะ, ลัพเภถะ จะ เวทะนายะ, เอวัง เม เวทะนา โห

    ตุ เอวัง เม เวทะนา มา อโหสีติ , ยัสมา จะ โข ภิกขะเว เวทะนา อนัตตา, ตัส

    มา เวทนา อาพาธายะ สังวัตตะติ, นะจะ ลัพภะติ เวทะนายะ,

    เอวัง เม เวทนา โหตุ เอวัง เม เวทะนา มา อโหสีติ,

    สัญญา อนัตตา , สัญญา จะ หิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ, นะยิทัง

    สัญญา อาพาธายะ สังวัตเตยยะ, ลัพเภถะ จะ สัญญายะ, เอวัง เม สัญญา โห

    ตุ เอวัง เม สัญญา มา อโหสีติ, ยัสมา จ โข ภิกขะเว สัญญา อนัตตา, ตัสมา

    เอวัง เม สัญญา โหตุ เอวัง เม สัญญา มา อโหสีติ,

    สังขารา อนัตตา , สังขารา จะ หิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสังสุ, นะ ยิทัง

    สังขารา อาพาธายะ สังวัตเตยยุง, ลัพเภถะ จะ สังขาเรสุ, เอวัง เม สังขารา

    โหนตุ เอวัง เม สังขาร มา อเหสุนติ, ยัสมา จะ โข ภิกขะเว สังขารา อนัตตา

    ตัสมา สังขารา อาพาธายะ สังวัตตันติ. นะ จะ ลัพภะติ สังขาเรสุ. เอวัง เม

    สังขารา โหนตุ เอวัง เม สังขารา มา อเหสุนติ.

    วิญญาณัง อนัตตา. วิญญานัญ จะ หิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ . นะยิทัง

    วิญญาณัง อาพาธายะ สังวัตเตยยะ. ลัพเภถะ จะ วิญญาเน. เอวัง เม วิญญา

    นัง โหตุ เอวัง เม วิญญานัง มา อโหสีติ. ยัสมา จะ โข ภิกขะเว วิญญานัง

    อนัตตา. ตัสมา วิญญาณัง อาพาธายะ สังวัตตะติ. นะ จะ ลัพภะติ วิญญาเน.

    เอวัง เม วิญญาณัง โหตุ เอวัง เม วิญญาณัง มา อโหสีติ.
    ตังกิง มัญญะถะ ภิกขะเว รูปัง นิจจัง วา อนิจจัง วา ติ. อนิจจัง ภันเต. ยัมปะนา

    นิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ. ทุกขัง ภันเต. ยัมปะนา นิจจัง ทุกขัง วิปะริณา

    มะธัมมัง. กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปัสสิตุง. เอตัง มะมะ เอโสหะมัสมิ เอโส เม

    อัตตาติ. โน เหตัง ภันเต.

    ตังกิง มัญญะถะ ภิกขะเว เวทะนา นิจจา วา อนิจจา วาติ. อนิจจา ภันเต. ยัง

    ปะนา นิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ. ทุกขัง ภันเต. ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วิปะ

    ริณามะธัมมัง. กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปัสสิตุง . เอตัง มะมะ เอโส หมัสมิ เอโส

    เม อัตตาติ. โน เหตัง ภันเต.

    ตังกิง มัญญะถะ ภิกขะเว สัญญา นิจจา วา อนิจจา วาติ. อนิจจา ภันเต. ยัมปะ

    นานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ. ทุกขัง ภัน เต . ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วิปะริ

    ณามะธัมมัง. กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปัสสิตุง. เอตัง มะมะ เอโส หะมัสมิ เอโส เม

    อัตตาติ. โน เหตัง ภันเต.

    ตังกิง มัญญะถะ ภิกขะเว สังขารา นิจจา วา อนิจจา วาติ. อนิจจา ภันเต. ยัม

    ปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ. ทุกขัง ภันเต. ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วิปะริ

    ณามะธัมมัง. กัลลังนุตัง สะมะนุปัสสิตุง . เอตัง มะมะ เอโสหะมัสมิ เอโส เม

    อัตตาติ. โน เหตะง ภันเต.

    ตังกิง มัญญะถะ ภิกขะเว วิญญาณัง นิจจังวา อนิจจัง วาติ. อนิจจัง ภันเต.

    ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ. ทุกขัง ภันเต. ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วิ

    ปะริณามะธัมมัง. กัลลังนุตังสะมะนุปัสสิตุง. เอตัง มะมะ เอโสหะมัสมิ เอโส เม

    อัตตาติ. โน เหตัง ภันเต.
    ตัสมาติหะ ภิกขะเว ยังกิญจิ รูปัง อตีตานาคะตะปัจจุปันนัง. อัชฌัตตัง วา

    พหิทธา วา. โอฬาริกัง วา สุขุมัง วา. หีนัง วา ปณีตัง วา. ยันทูเร สันติเก วา.

    สัพพัง รูปัง. เนตัง มะมะ เนโสหะมัสมิ นะ เมโส อัตตาติ. เอวะ เมตัง ยะถาภู

    ตัง . สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง

    ยากาจิ เวทะนา อตีตานาคะตะปัจจุปปันนา. อัชฌัตตา วา

    พหิทธา วา. โอฬาริกา วา สุขุมา วา. หีนา วา ปณีตา วา. ยันทูเร สันติเก วา.

    สัพพา เวทะนา. เนตัง มะมะ เนโสหะมัสมิ นะ เมโส อัตตาติ. เอวะ เมตัง ยะถา

    ภูตัง . สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง

    ยากาจิ สัญญา อตีตานาคะตะปัจจุปปันนา. อัชฌัตตา วา

    พหิทธา วา. โอฬาริกา วา สุขุมา วา. หีนา วา ปณีตา วา. ยันทูเร สันติเก วา.

    สัพพา สัญญา. เนตัง มะมะ เนโสหะมัสมิ นะ เมโส อัตตาติ. เอวะ เมตัง ยะถา

    ภูตัง . สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง

    เยเกจิ สังขารา อตีตานาคะตะปัจจุปปันนา. อัชฌัตตา วา

    พหิทธา วา. โอฬาริกา วา สุขุมา วา. หีนา วา ปณีตา วา. เยทูเร สันติเก วา.

    สัพเพ สังขารา. เนตัง มะมะ เนโสหะมัสมิ นะ เมโส อัตตาติ. เอวะ เมตัง ยะถา

    ภูตัง . สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง

    ยังกิญจิ วิญญาณัง อตีตานาคะตะปัจจุปปันนัง. อัชฌัตตัง วา พะหิทธา วา .

    โอฬาริกัง วา สุขุมัง วา. หีนัง วา ปณีตัง วา . ยันทูเร สันติเก วา . สัพพัง

    วิญญาณัง. เนตัง มะมะ เนโสหะมัสมิ นะ เมโส อัตตาติ. เอวะเมตัง ยะถาภูตัง

    สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง.
    เอวังปัสสัง ภิกขะเว สุตตะวา อะริยะสาวะโก. รูปัสสะมิงปิ นิพพินทะติ. เว

    ทะนายะปิ นิพพินนะติ. สัญญายะปิ นิพพินทะติ. สังขาเรสุปิ นิพพินทะติ.

    วิญญานัสมิงปิ นิพพินทะติ. นิพพินทัง วิรัชชะติ. วิราคา วิมุจจะติ.

    วิมุตตัสมิง วิมุตตะมีติ ญาณัง โหติ. ขีณา ชาติ. วุสิตัง พรัหมจริยัง.

    กะตัง กะระณียัง. นาปะรัง อิตถัตตายาติ ปะชานาตีติ. อิทะมะโวจะ ภะคะวา.

    อัตตะมะนา ปัญจะวัคคิยา ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง.

    อิมัสสมิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัสมิง ภัญญะมาเน.

    ปัญจะวัคคิยานัง ภิกขูนัง อะนุปาทายะ อาสะเวหิ จิตตานิ วิมุตจิงสูติ.
     
  3. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    สาธุการ นะคะ
    จากประสบการณ์ เคยพิจารณาฟังครูบาอาจารย์ขณะสวดคำแปลไปด้วย ปรากฎวาระจิตขุดสำรอกลุซึ่งอาสวะในกมล เกิดปิติมากมาย ขอผลบุญส่งให้ทุก ๆ ท่านเจริญในธรรมนะคะ สาธุค่ะ

    ตำนานอนันตลักขณสูตร<O:p</O:p
    <O:p
    เมื่อพระพุทธองค์แสดงธรรมจักกัปปัตตสูตรโปรดเบญจวัคคีย์จบ และพระโณฑัญญะได้ดวงตาเห็นธรรมแล้วและได้รับการอุปสมบถในสำนักของพระศาสดาในวันเพ็ญเดือน ๘ แล้ว ต่อจากนั้น พระพุทธองค์ก็ได้ทรงอธิบายขยายเนื้อความ พระธรรมจักรนั้นให้กับฤาษีเบญจวัคคีย์ที่เหลือฟังต่อไปอีกในวันต่อมา ท่านวัปปะก็ได้ดวงตาเห็นธรรมแล้วก็ทูลขออุปสมบถ พระองค์ก็ประทานการอุปสมบถให้เหมือนกับท่านโกณฑัญญะ วันต่อมา ท่านภัททิยะ ท่านมหานามะ และวันต่อมา ท่านอีสสชิได้ดวงตาเห็นธรรม และทูลขออุปสมบถตามลำดับ เมื่อทรงเห็นว่าเบญจวัคคีย์ทั้งห้านั้นมีอินทรีย์ แก่กล้าควรที่จะเจริญวิปัสสนากรรมฐานต่อไปได้ จึงได้ทรงแสดงอนันตลักขณสูตร ซึ่งมีใจความย่อดังนี้
    <O:p</O:p
    <O:p
    ขันธ์ห้า คือรูปได้แก่ร่างกาย, เวทนา การเสสวยอารมณ์ที่เป็นสุขเป็นทุกข์หรือเฉยๆ, สัญญา ความจำหมายได้รู้ สังขาร สภาวธรรมที่เกิดกับจิต มีหน้าที่ปรุงแต่งจิตให้ดีหรือชั่ว และวิญญาณ ได้แก่จิต ขันธ์ทั้งหมดนี้เป็นอนัตตาไม่ใช่ตัวตนไม่ใช่ตน ถ้าขันธ์ห้านี้เป็นตัวเป็นตนแล้วไซร้ นธ์ห้าไม่พึงเป็นไปเพื่อความอาพาธ และพึงหวังได้ว่าขันธ์ห้าของเราจงเป็นอย่างนี้ หรือว่าจงอย่าเป็นอย่างนี้เลย เพราะขันธ์ห้าไม่เที่ยงจึงเป็นทุกข์ สิ่งที่ไม่เที่ยงเป็นทุกข์ ย่อมมีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา ไม่ควรเห็นว่าเรา ว่าของเรา ว่าตัวว่าตนของเรา
    <O:p</O:p
    <O:p
    พระพุทธองค์ตรัสสอนเบญจวัคคีย์ให้ละความยึดมั่นถือมั่นในขันธ์ห้าเสีย โดยตรัสว่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน หยาบก็ตาม ละเอียดก็ตาม เลวก็ตาม ประณีตก็ตาม อยู่ไกลก็ตาม อยู่ใกล้ก็ตาม ทั้งหมดเป็นแต่สักว่ารูป เป็นสักว่าเวทนา เป็นสักว่าสัญญา เป็นสักว่าสังขาร เป็นสักว่าวิญญาณเท่านั้น ควรพิจารณาเห็นตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่เรา นั้นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตนของเรา พระอริยสาวกทั้งหลาย เมื่อพิจารณาเห็นอย่างนี้แล้ว ย่อมเบื่อหน่ายในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขาร ในวิญญาณ เมื่อเบื่อหน่ายแล้วย่อมคลายความกำหนัดรักใคร่ เมื่อปราศจากความกำหนัดรักใคร่แล้ว จิตย่อมหลุดพ้น เมื่อจิตหลุดพ้นแล้วย่อมเกิดญานว่า จิตหลุดพ้นแล้ว ย่อมรู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำเสร็จแล้ว กิจอื่นที่ควรทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ไม่มีอีกแล้ว

    <O:p
    เมื่อพระศาสดาทรงแสดงอนันตลักขณสูตรจบลง ปัญจัคคีย์ท้งห้าได้บรรลุพระอรหันตผลเป็นอริยบุคคลชั้นสูงสุดในพระพุทธศาสนา

    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    หมายเหตุ : อนัตตลักขณสูตรนิยมสวดในพิธีทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้กับผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว โดยนิยมสวดกันในงานทำบุญ ๗ วัน เพื่อให้ผู้ฟังพิจารณาเห็นขันธ์ ๕ ตามความเป็นจริง<O:p</O:p
     

แชร์หน้านี้

Loading...