Magnet Generator .... พลังงาน Free ... ทางเลือกยุคน้ำมันแพง

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Pew Pew, 10 กรกฎาคม 2008.

  1. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    <TABLE border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>[​IMG]</TD><TD vAlign=top>การศึกษาเพื่อการพัฒนา ระบบจัดการโรงไฟฟ้าพลังน้ำขนาดจิ๋ว กรณีศึกษา โรงไฟฟ้าพลังน้ำแม่กำปอง จ.เชียงใหม่
    วิศวกรรมอุตสาหการ
    คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    บทคัดย่อ

    โครงการไฟฟ้าพลังน้ำระดับหมู่บ้าน (Microhydro Power Plany) เป็นโครงการผลิตกระแสไฟฟ้าโดยอาศัยพลังงานน้ำจากเขื่อนกั้นน้ำขนาดเล็กหรือฝายของหมู่บ้าน เป็นการใช้พลังงานหมุนเวียนซึ่งได้เปล่ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ทำให้สามารถลดการใช้เชื้อเพลิงซึ่งต้องนำเข้าจากต่างประเทศ โดยในปัจจุบันได้มีการก่อสร้างโครงการไฟฟ้าพลังงานน้ำระดับหมู่บ้านรวมทั้งสิ้น 59 โครงการ ในเขตจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง แม่ฮ่องสอน ตาก ประจวบคีรีขันธ์และกาญจนบุรี และยังคงมีการของบประมาณสนับสนุนการก่อสร้างและติดตั้งโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำในชนบทที่ห่างไกลอย่างต่อเนื่อง

    โครงการไฟฟ้าพลังน้ำในปัจจุบันที่มีอยู่ บางแห่งถูกลดความสำคัญลง ทั้งนี้เป็นผลเนื่องจากความเจริญทางด้านต่าง ๆ ที่กระจายเข้าไปตามหมู่บ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นทึ่งการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคได้ดำเนินการติดตั้งและจ่ายไฟฟ้าเข้าไปแล้ว ดังนั้นการฟื้นฟูโครงการโรงไฟฟ้าระดับหมู่บ้านจึงเป็นส่วนหนึ่งที่น่าจะพิจารณาและให้ความสนใจเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากไฟฟ้าที่ได้จากโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำระดับหมู่บ้านเป็นพลังงานหมุนเวียนที่ได้เปล่า โดยโครงการวิจัยนี้จะเน้นถึงการปรับปรุงแผนผังในการบริหารโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำระดับหมู่บ้าน การให้ความรู้ความเข้าใจทางด้านพื้นฐานของเครื่องจักรไฟฟ้าแก่ชาวบ้านและผู้รับผิดชอบ การบำรุงรักษารวมทั้งการบริหารโครงการโดยพึ่งตนเอง ผลที่ได้อาจนำไปประยุกต์ใช้กับโครงการอื่นต่อไป
    <FORM name=Back action=farm.php method=post></FORM>




    <!--BEGIN WEB STAT CODE--><SCRIPT language=javascript1.1 src="http://hits3.truehits.net/data/q0027708.js"></SCRIPT><CENTER>[​IMG] <!-- END WEBSTAT CODE -->
    ได้รับทุนสนับสนุนจาก กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
    สนับสนุนข้อมูลโดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    บริหารโครงการโดย สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

    ตู้ ปณ. 111 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50202 โทรศัพท์ (+66) 5394 2460 โทรสาร (+66) 5389 2189 E-mail: teenet@ist.cmu.ac.th



    </CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>อันนี้เป็นบทคัดย่อวิทยาของทางมช. ใครอยากได้ข้อมูลในเชิงวิจัย สามารถค้นคว้าเพิ่มได้จากวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาคนนี้ เพราะเขาได้ทุนไปทำวิจัย น่าจะเอามาทำประโยชน์ต่อสาธารณะชนต่อไป</CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 มีนาคม 2009
  2. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=5 width="95%" align=center bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=left>พลังงานชุมชน : COMMUNITY ENERGY
    โดย : ทศพนธ์ นรทัศน์ เมื่อ : 9/12/2008 03:57 PM

    กรณีตัวอย่างพลังงานชุมชน

    โรงไฟฟ้าพลังน้ำหมู่บ้านแม่กำปอง จังหวัดเชียงใหม่ ? สืบเนื่องจาก พ.ศ. 2522 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมราษฎรหมู่บ้านแม่กำปอง ตำบลห้วยแก้ว กิ่งอำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าราษฎรมีความเดือดร้อน เนื่องจากไม่มีไฟฟ้าใช้ เมื่อถึงเวลากลางคืนชาวบ้านต้องอาศัยตะเกียงน้ำมันก๊าดให้แสงสว่าง ซึ่งไม่เพียงพอ เนื่องจากอาชีพหลักของชาวบ้าน คือ การทำใบเมี่ยง ต้องอบใบเมี่ยงในเวลากลางคืน ทำให้มองไม่เห็น และที่สำคัญตะเกียงน้ำมันก๊าดก่อให้เกิดเขม่าควันมาก ชาวบ้านได้ขอพระราชทานไฟฟ้าจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

    ต่อมา พ.ศ. 2525 โครงการพัฒนาไฟฟ้าพลังน้ำหมู่บ้านชนบท จังหวัดเชียงใหม่ กรมพัฒนาพลังงานและพลังงานทดแทน (ชื่อในขณะนั้น ปัจจุบันคือ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)) กระทรวงพลังงาน ได้สนับสนุนงบประมาณในการจัดซื้อเครื่องกำเนิดไฟฟ้าและวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้าง ก่อตั้งโรงไฟฟ้าพลังน้ำหมู่บ้านแม่กำปองขึ้น โดยให้ชาวบ้านร่วมออกแรงและหาวัสดุในท้องถิ่นมาร่วมกันก่อสร้างตั้งแต่ฝายกั้นน้ำ ต่อท่อส่งน้ำเข้าเครื่องปั้นไฟ เดินสายไฟ ตั้งเสาไฟ และต่อเข้ามิเตอร์ของแต่ละครัวเรือน ในระยะแรกมุ่งให้ชุมชนมีแสงสว่างใช้ในยามค่ำคืนเท่านั้น จึงติดตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเพียงขนาด 20 กิโลวัตต์

    [​IMG]
    โรงไฟฟ้าพลังน้ำหมู่บ้านแม่กำปอง

    ลักษณะของโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำ

    ลักษณะของโครงการผลิตไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็ก โดยทั่วไปจะเป็นแบบปล่อยน้ำทิ้ง (Run-of-River) หมายถึง การผันน้ำจากลำน้ำ โดยไม่มีการสร้างเขื่อนใหญ่เพื่อกักเก็บน้ำเพียงแต่สร้างเป็นฝายน้ำล้น เพื่อผันน้ำโดยอาศัยความต่างระดับของน้ำในลำน้ำ โดยให้น้ำไหลลงมาตามทางน้ำที่มีความชันน้อยๆ ที่สร้างขึ้น ไหลไปรวมกันที่อ่างหรือถังเก็บน้ำ และน้ำจะไหลผ่านท่อน้ำแรงดันไปหมุนกังหันน้ำ เพื่อขับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าในอาคารโรงไฟฟ้าเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าต่อไป หรืออาจเป็นการผันน้ำเข้าสู่ท่อส่งน้ำแรงดันโดยตรงก็ได้ โครงการลักษณะนี้ มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยมาก การลงทุนต่ำ การนำไฟฟ้าไปใช้งานก็อาศัยการส่งจ่ายไปตามสายส่งไฟฟ้าในหมู่บ้านของโครงการ ที่เรียกว่าแบบ Isolated System หรือส่งไปยังหมู่บ้านและเชื่อมต่อเข้ากับระบบจ่ายไฟฟ้าของการไฟฟ้าส่วน ภูมิภาคด้วย ที่เรียกว่า Grid Connected System

    โครงการผลิตไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็ก จะมีกำลังติดตั้งกว่า 1,000 กิโลวัตต์ลงมา โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

    ก) Micro Hydro หรือโครงการขนาดจิ๋ว หมายถึง โครงการที่มีกำลังผลิตติดตั้งต่ำกว่า 100 กิโลวัตต์ลงมา ซึ่งโดยทั่วไปจะเป็นแบบ Isolated System
    ข) Mini Hydro หมายถึง โครงการขนาดเล็กที่มีกำลังผลิต 101-1,000 กิโลวัตต์ ซึ่งมีทั้งแบบ Isolated และแบบ Grid Connected
    ค) Small Hydro หมายถึง โครงการขนาดเล็กที่มีกำลังผลิต 1-15 เมกะวัตต์ ส่วนใหญ่จะเป็นแบบ Grid Connected

    ลักษณะของโครงสร้างและส่วนประกอบต่างๆ ของโครงการแต่ละประเภทมีลักษณะคล้ายคลึงกัน จะแตกต่างกันบ้างในส่วนรายละเอียดเท่านั้น

    สรุปวิธีการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็ก

    โรงไฟฟ้าแบบนี้อาศัยพลังงานน้ำที่เก็บกักไว้ในอ่างเก็บน้ำหรือแหล่งน้ำอื่นใดในรูปของแรงดันมาใช้ดันกังหันน้ำให้หมุน มีขั้นตอนดังนี้

    (1) นำน้ำในอ่างเก็บน้ำ ซึ่งอยู่สูงกว่าโรงไฟฟ้าทำให้มีแรงดันมาก
    (2) ปล่อยน้ำเข้ามาตามท่อส่งน้ำมาสู่อาคารโรงไฟฟ้าที่อยู่ต่ำกว่า โดยมีเครื่องควบคุมปริมาณน้ำเข้ากังหันตามต้องการ
    (3) น้ำที่ส่งมาจะผลักดันให้กังหันน้ำหมุน เปลี่ยนพลังงานน้ำเป็นพลังงานกล
    (4) เครื่องกำเนิดไฟฟ้าจะหมุนด้วยเพลาที่ต่อกับเพลาของเครื่องกังหันน้ำ และจะเกิดการเหนี่ยวนำของเส้นแรงแม่เหล็กขึ้นในเครื่องกำเนิดไฟฟ้าหมุนตัดกับขดลวดได้พลังงานไฟฟ้าออกมาใช้

    ส่วนประกอบโดยทั่วไปของโครงการไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็ก

    โครงการผลิตไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็กมีส่วนประกอบที่สำคัญ ดังนี้
    <TABLE cellPadding=1 width="90%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left>[​IMG](1) ฝายผันน้ำ (Diversion Weir) เป็นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก สร้างกั้นลำน้ำเพื่อผันน้ำและควบคุมระดับน้ำที่เข้าสู่บริเวณส่วนปากท่อ น้ำส่วนที่มากเกินจะล้นไปทางสันฝายลงสู่ลำน้ำทางด้านหลังฝาย

    (2) ส่วนปากท่อ (Intake Structure) เป็นโครงสร้างคอนกรีต สร้างอยู่บริเวณริมฝั่งของลำน้ำติดกับฝายผันน้ำ และปกติจะวางอยู่ในแนวตั้งฉากกับทิศทางการไหลของลำน้ำมีประตูเพื่อปรับการไหลของน้ำที่จะไหลไปยังส่วนควบคุมการไหล (Flow Control Structure) ส่วนประกอบหลัก ได้แก่

    - ทางเข้าน้ำและประตูระบายทรายทิ้ง
    - ถังน้ำรูปทรงแท่งสี่เหลี่ยมพร้อมตะแกรงเหล็ก
    - ประตูน้ำของทางน้ำออก
    - ประตูปล่อยทรายทิ้ง จะเปิดเพื่อปล่อยทราย หิน และตะกอน ซึ่งอยู่บริเวณหน้าฝายทิ้งไปในฤดูน้ำมาก ในสภาพการทำงานปกติจะปิดไว้ ประตูน้ำจะเปิดในตำแหน่งกว้างสุดไว้เสมอ และจะปิดเมื่อต้องการตรวจซ่อมเท่านั้น

    (3) ส่วนควบคุมการไหล (Flow Control Structure) และที่ดักตะกอนและทราย (Sediment Trap) ส่วนนี้จะอยู่ต่ำกว่าส่วนปากท่อลงมาเพื่อควบคุมการไหลของน้ำเข้าทางส่งน้ำ (Headrace) บางทีส่วนนี้สามารถสร้างรวมไว้กับส่วนปากท่อได้ อัตราการไหลที่เกินกำหนดที่ออกแบบไว้ จะล้นออกไปสู่ลำน้ำ ประกอบไปด้วยทางน้ำ อ่างตกตะกอนและประตูปล่อยทรายทิ้ง และถังน้ำออก (Outlet Chamber) มีตะแกรงเหล็กและประตูน้ำ (Steel Gate)

    (4) ทางส่งน้ำ (Headrace) เป็นทางส่งน้ำจากส่วนปากท่อไปยังอ่างหรือถังเก็บน้ำ (Forebay or Head Tank) โดยปกติจะมีความชันน้อยๆ คงที่ ซึ่งอาจจะสร้างจากท่อเหล็ก ท่อแอสเบสตอส หรือใช้ร่วมกันหลายๆ แบบ ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น สภาพภูมิประเทศ สภาพทางธรณีวิทยา ค่าใช้จ่ายและวัสดุที่จะหามาได้ การขนส่ง และการบำรุงรักษา เป็นต้น ถ้าใช้เป็นท่อปกติจะฝังไว้ในดิน

    (5) อ่างหรือถังเก็บน้ำ (Forebay or Head Tank) เป็นส่วนประกอบอันสุดท้ายที่จะควบคุมและปรับปริมาณการไหลของน้ำ กำจัดเศษสวะ ตะกอนทรายต่างๆ ก่อนที่จะส่งน้ำเข้าไปยังท่อส่งน้ำแรงดัน (Penstock) และยังเป็นส่วนช่วยป้องกันแรงดันสูงที่จะทำให้เกิดความเสียหายแก่ท่อน้ำแรงดันในกรณีที่ปิดกังหันน้ำอย่างทันทีด้วย ส่วนนี้อาจมีหรือไม่มีก็ได้ หรือบางครั้งก็สร้างเป็น Surge Tank แทน

    (6) ท่อส่งน้ำแรงดัน (Penstock) เป็นเหล็กกล้าทนแรงดันสูง ปกติจะวางอยู่เหนือดิน แต่บางทีก็ฝังในดิน ออกแบบให้ทนต่อแรงดันน้ำ แรงเค้น แรงเครียด ท่อน้ำนี้จะนำน้ำเข้าไปหมุนกังหันน้ำต่อไป

    (7) อาคารโรงไฟฟ้า (Electricity House) เป็นอาคารที่ตั้งของอุปกรณ์ผลิตไฟฟ้าต่างๆ เช่น กังหันน้ำ เครื่องกำเนิดไฟฟ้า อุปกรณ์ควบคุมต่างๆ สวิตช์บอร์ด ยกเว้นหม้อแปลงไฟฟ้ามักจะติดตั้งอยู่ภายนอกอาคาร ส่วนตัวอาคารของโรงไฟฟ้ามักจะเป็นอาคารไม้พื้นเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก

    (8) ทางปล่อยน้ำ (Tailrace) เป็นทางสำหรับปล่อยน้ำที่ไหลผ่านกังหันน้ำ หรือจากบ่อพักน้ำในกรณีมีกังหันน้ำหลายๆ ชุด ไปยังลำน้ำ การออกแบบจะต้องให้เหมาะสมกับกังหันน้ำ อาจจะทำเป็นแบบท่อคอนกรีตเสริมเหล็ก แบบทางน้ำสี่เหลี่ยม (Rectangular Flume) หรือแบบทางน้ำรูปสี่เหลี่ยมคางหมู (Trapezodal Channel)

    (9) สายส่งไฟฟ้า (Transmission Line) เพื่อส่งกระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้ไปยังหมู่บ้านต่างๆ ในพื้นที่โครงการ หรืออาจจะเชื่อมต่อเข้ากับระบบจำหน่ายของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค



    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ทศพนธ์ นรทัศน์
    hs4hnl@msn.com

    อ้างอิง
    * พลังงาน, กระทรวง. www.energy.go.th ค้นคืนเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2551. นโยบายและยุทธศาสตร์, สำนัก. คู่มืออบรมพลังงาน รวมเทคโนโลยีพลังงานชุมชน. กรุงเทพฯ : สำนักงานปลัดกระทรวงพลังงาน, 2550.
    * โรงไฟฟ้าพลังน้ำหมู่บ้านแม่กำปอง. www.energynews.in.th/EnergyTour0002_1.asp ค้นคืนเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2551.



    ตัดต่อมาเฉพาะบางส่วน​

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 มีนาคม 2009
  3. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    <TABLE cellSpacing=8 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#dfe8fb><TABLE cellSpacing=7 cellPadding=0 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD class=newTechno>"กังหันลมพกพา" ปั่นไฟจ่ายพื้นที่ห่างไกล</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=normal3><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>[​IMG]เมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมา เพิ่งเล่าให้ท่านผู้อ่านฟังถึงโครงการพัฒนาต้นแบบ "เครื่องปั่นไฟฟ้าพลังงานขยะ" ของมหาวิทยาลัยเพอร์ดู
    วันนี้มีต้นแบบเครื่องผลิตกระแสไฟจาก "ลม" มาแนะนำอีกชิ้น แน่นอนว่าจะดึง "กระแสลม" มาปั่นไฟได้ก็ต้องมี
    "กังหันลม"

    แต่กังหันลมที่คณะนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัย "เท็กซัส อาร์ลิงตัน" สหรัฐฯ กำลังร่วมมือกันพัฒนาอยู่ขณะนี้
    ไม่ใช่กังหันเทอร์ไบน์ใหญ่โตขนาดปั่นไฟเลี้ยงเมืองทั้งเมือง

    เพราะเป็นกังหันขนาดเล็ก พกพาสะดวก มีขนาดความยาวใบพัดแค่ราวๆ 5 นิ้ว (13 เซนติเมตร) ชาแชงก์ พริยา หนึ่งในคณะผู้พัฒนา ให้ข้อมูลว่า กังหันสามารถหมุนภายใต้ระดับความเร็วลมต่ำสุด 5.4 ไมล์ต่อชั่วโมง หรือประมาณ 8.6 กิโลเมตรต่อชั่วโมง แต่ถ้าจะให้ทำงานได้ดีที่สุด ควรอยู่ในสภาพที่กระแสลมพัดเร็ว 16 กิโลเมตรต่อชั่วโมงด้วยความเร็วและแรงของลมในระดับดังกล่าวจะทำให้กังหันผลิตไฟฟ้าได้ 12โวลต์

    เป็นปริมาณกระแสไฟที่มากพอสำหรับจ่ายให้กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทั่วๆ ไปที่เราพบเจอในชีวิตประจำวัน
    เช่น โทรศัพท์มือถือ กระดิ่งไฟฟ้า สัญญาณเตือนภัย สวิตซ์ และตัวเซ็นเซอร์ต่างๆ โดยสิ่งที่ช่วยให้กังหันปั่นไฟออกมาได้ก็คือ ชุดอุปกรณ์วัสดุไฟฟ้าแรงดัน หรือ "เพียโซอิเล็กทริกส์" ที่ติดตั้งอยู่ตรงส่วนฐานกังหัน ฟังจากชื่ออาจดูงงๆ ว่า เพียโซอิเล็กทริกส์คืออะไร แต่ก็เป็นแค่ชื่อเรียกกระบวนการสร้างแรงดันไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ซึ่งเราอาจใช้กันอยู่ทุกวันโดยไม่รู้ตัว เช่น ประกายไฟจากปืนจุดเตาแก๊ส

    คุณพริยา บอกว่า ถ้ามีโอกาสพัฒนา "กังหันลมพกพา" จนสำเร็จเป็นชิ้นเป็นอันก็น่าจะมีประโยชน์กับทั้งคนที่อยู่ในและต้องเดินทางไปในพื้นที่ทุรกันดาร ไฟฟ้าเข้าไม่ถึง
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    บังเอิญไปพบเวปของครอบครัวหนึ่ง กำลังสร้างบ้านดิน อยู่แบบพอเพียง และกำลังทดลองสร้างเครื่องกำเนิดไฟแบบจักรยานปั่นไฟด้วย ลองดูเป็นไอเดียนะ ลูกทุ่งๆมั่กๆ แต่ก็กำลังจะ work


    เกิดไฟ

    เขียนโดย tee [​IMG] [​IMG]
    Sunday, 21 December 2008

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>[​IMG]

    นี่เป็นเนื้อหาแรกจากที่ผ่านมาเกือบครึ่งปี ที่ผมได้เริ่มมาเขียนอีกครั้ง ตอนแรกตั้งใจว่าถ้าบ้านยังไม่มีไฟฟ้าใช้จะไม่เขียนบทความใดๆ เลย แต่รอบนี้เป็นโอกาสพิเศษของจุดเริ่มต้นที่จะมีไฟฟ้าใช้กันสักที คือการเดินทางของไฟฟ้าบ้านนำทางกำลังจะถึงจุดหมาย มีอุปสรรคเกิดขึ้นมากมายไม่จบสิ้น จนวันนี้ผลการทดลองทำเครื่องปั่นไฟฟ้าใช้เองได้เกิดไฟขึ้นมาให้เห็นแล้วจริงๆ

    วันนี้เป็นอีกวันหนึ่งที่ผมตื่นเต้นและดีใจที่สุดเลยทีเดียว เพราะเป็นวันทดสอบเครื่องปั่นไฟที่ทำด้วยตัวเองทั้งหมดตั้งแต่ต้น และกว่าจะได้มาด้วยความอดทนนั้น ประสบผลสำเร็จในเบื้องต้น

    [​IMG]


    ชุดประกอบสำหรับทดสอบชั่วคราว


    [​IMG]


    หมุนใหญ่



    [​IMG]


    ไฟมาแล้วยัง


    [​IMG]


    เอามือหมุนเปล่าๆ เข็มกระดิกเกือบ 20 โวลต์

    ทั้งนี้ต้องขอบคุณอาจารย์ "นที" จาก http://natee2007.thaiza.com และอาจารย์ "พงษ์ตะวัน" จาก http://www.windsiam.com เป็นอย่างมาก ที่ได้กรุณาถ่ายทอดความรู้ให้อย่างเต็มใจ

    หลังจากนี้ไปคาดว่าหลังปีใหม่บ้านนำทางจะมีไฟฟ้าใช้อย่างเป็นทางการสักที แล้วปีหน้าจะมีการผลิตบทความทั้งที่ค้างเอาไว้แรมปีและของใหม่ๆ และที่จะตามมาอีกมากมายอย่างแน่นอน</TD></TR></TBODY></TABLE>


    ที่มา : http://www.numthang.org/content/3559/1/#comment
     
  5. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    ต่อเนื่องจากหน้าที่แล้วครับ

    ไฟเกิด (แล้ว)

    เขียนโดย tee [​IMG] [​IMG]
    Thursday, 15 January 2009


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>[​IMG]

    บล็อกแรกของปี 2009 หลังจากกลับจากท่อง (บังคับ) เที่ยวยาวปีใหม่ ได้ 1 วันก็เริ่มลุยต่อทันทีกับสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานสำคัญ "ไฟฟ้า" ใช้เวลาเพียง 2 วันก็สำเร็จ และนี่คือรูปร่างสุดท้ายแล้วของจักรยานปั่นไฟบ้านนำทาง

    [​IMG]

    [​IMG]

    หน้าตาออกจะดูไม่เหมือนของทำใหม่เพราะจักรยานเก่าเก็บ ว่างๆจะหาเวลามาขัดทาสีใหม่ จะได้แลดูสวยงามน่าใช้งานยิ่งขึ้น และถ้าหากว่าไม่มีอะไรผิดพลาดอีกเว็บนี้จะกลับมามีชีวิตอีกครั้งหลังจากร้างรามานานเกือบครึ่งปี หลังจากไปฉลองมาแล้วกลับมาจึงรีบอัพเดททันที

    อัพเดทหลังทดลองใช้งาน
    สรุปว่างานนี้ยังไม่เกิด 55 เนื่องจากกระแสไฟที่ได้ดูจะน้อยไม่เพียงพอต่อความต้องการชาร์จโน๊ตบุ๊ค แต่ยังมีอีกทางให้เดินต่ออยู่ ไฟบ้านนี้เลยต้องเดินทางกันต่อไปอีกสักระยะแต่ไม่น่าจะเกินเดือนคงได้บทสรุปที่แน่นอนสักที โปรดติดตามตอนต่อไป ก็ยังคงไม่ท้อถอยเพราะความลำบากทำให้ผมเข้มแข็งขึ้นทุกวัน</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  6. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ยอดเยี่ยมเลยครับสำหรับข้อมูล

    ผมมองว่าทางเลือกในการใช้พลังงานทดแทนนั้นเราควรใช้แบบผสมผสาน หากใช้อย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียวคงได้ไฟฟ้าไม่พอ แต่กระนั้นก็เกิดผลในการประหยัดพลังงาน ลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลลงไปมากแล้ว


    สำหรับกังหันน้ำขนาดจิ๋วนั้น บ้านริมแม่น้ำใช้ได้สบายเลยครับ ทำปากทางดักและเร่งความเร็วน้ำก่อนได้ได้ไฟฟ้าฟรีทุกวันตลอดเวลาแน่นอน
     
  7. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    ขอบคุณครับ คุณคณานันท์ มีกำลังใจโพสต่อ

    โพสคนเดียว บางครั้ง มันก็เหงาๆ บางทีก็ตัน นึกไอเดียใหม่ๆไม่ออก วนไปวนมากับข้อมูลเดิมๆ ไม่รู้จะหาข้อมูลใหม่ที่ไหน

    อยากให้เพื่อนๆ โพสไอเดีย ความเห็นส่วนตัวบ้าง บางครั้ง ผมจะจับประเด็นบางหัวเรื่อง หรือหัวข้อไปเจาะหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องมาลงไว้เรื่อยๆ
     
  8. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    พลังงานทดแทน

    กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ได้ให้ความหมายคำว่าพลังงานทดแทน หมายถึง พลังงานที่นำมาใช้แทนน้ำมันเชื้อเพลิง สามารถแบ่งตามแหล่งที่ได้มากเป็น 2 ประเภท คือ พลังงานทดแทนจากแหล่งที่ใช้แล้วหมดไป อาจเรียกว่า พลังงานสิ้นเปลือง ได้แก่ ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ นิวเคลียร์ หินน้ำมัน และทรายน้ำมัน เป็นต้น และพลังงานทดแทนอีกประเภทหนึ่งเป็นแหล่งพลังงานที่ใช้แล้วสามารถหมุนเวียนมาใช้ได้อีก เรียกว่า พลังงานหมุนเวียน ได้แก่ แสงอาทิตย์ ลม ชีวมวล น้ำ และไฮโดรเจน เป็นต้น

    สำหรับประเทศไทย จากความต้องการใช้พลังงานของประเทศที่มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และแหล่งพลังงานในประเทศมีอัตราการผลิตได้ไม่เพียงพอกับอัตราการใช้ ประกอบราคาน้ำมันซึ่งเป็นแหล่งพลังงานสำคัญในตลาดโลกมีราคาแพง จึงต้องเร่งรัด ค้นคว้าหาแหล่งพลังงานทดแทนซึ่งเป็นพลังงานทางเลือกมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

    ทิศทางเทคโนโลยีด้านพลังงานทดแทนในประเทศสามารถสรุปรูปแบบของการพัฒนาได้เป็ 2 ส่วนหลั




    ส่วนแรกคือพลังงานทดแทนที่นำมาใช้แทนน้ำมันเชื้อเพลิงประกอบด้วย
    ส่วนที่สองคือพลังงานทดแทนที่ผลิตขึ้นใช้แทนน้ำมันเชื้อเพลิงประกอบด้วย
    พลังงานทดแทนที่นำมาใช้แทนน้ำมันเชื้อเพลิง
    เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์
    พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานทางเลือกอันดับต้นๆ ที่นิยมนำมาใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ เพราะเชื่อกันว่า พลังงานแสงอาทิตย์ไม่มีวันหมดไปตราบจนวาระสุดท้ายของระบบสุริยะ จึงได้มีการพัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) เพื่อเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้าอย่างต่อเนื่อง
    [​IMG]
    พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานทดแทนประเภทหมุนเวียนที่ใช้แล้วเกิดขึ้นใหม่ได้ตามธรรมชาติ เป็นพลังงานที่สะอาด ปราศจากมลพิษ และเป็นพลังงานที่มีศักยภาพสูง ในการใช้พลังงานแสงอาทิตย์สามารถจำแนกออกเป็น 2 รูปแบบคือ การใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า และการใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตความร้อน
    เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า ได้แก่ ระบบผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ แบ่งออกเป็น 3 ระบบ คือ
    เซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระ (PV Stand alone system)
    เป็นระบบผลิตไฟฟ้าที่ได้รับการออกแบบสำหรับใช้งานในพื้นที่ชนบทที่ไม่มีระบบสายส่งไฟฟ้า อุปกรณ์ระบบที่สำคัญประกอบด้วยแผงเซลล์แสงอาทิตย์ อุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่ แบตเตอรี่ และอุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับแบบอิสระ

    เซลล์แสงอาทิตย์แบบต่อกับระบบจำหน่าย (PV Grid connected system)
    เป็นระบบผลิตไฟฟ้าที่ถูกออกแบบสำหรับผลิตไฟฟ้าผ่านอุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับเข้าสู่ระบบสายส่งไฟฟ้าโดยตรง ใช้ผลิตไฟฟ้าในเขตเมือง หรือพื้นที่ที่มีระบบจำหน่ายไฟฟ้าเข้าถึง อุปกรณ์ระบบที่สำคัญประกอบด้วยแผงเซลล์แสงอาทิตย์ อุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับชนิดต่อกับระบบจำหน่ายไฟฟ้า
    เซลล์แสงอาทิตย์แบบผสมผสาน (PV Hybrid system)
    [​IMG]
    เป็นระบบผลิตไฟฟ้าที่ถูกออกแบบสำหรับทำงานร่วมกับอุปกรณ์ผลิตไฟฟ้าอื่นๆ เช่น ระบบเซลล์แสงอาทิตย์กับพลังงานลม และเครื่องยนต์ดีเซล ระบบเซลล์แสงอาทิตย์กับพลังงานลม และไฟฟ้าพลังน้ำ เป็นต้น โดยรูปแบบระบบจะขึ้นอยู่กับการออกแบบตามวัตถุประสงค์โครงการเป็นกรณีเฉพาะ
    สำหรับประเทศไทยนั้นเดิมเรานำเข้าเซลล์แสงอาทิตย์ด้วยราคาที่สูงลิ่วแต่ปัจจุบันคนไทยก็กำลังพัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์ด้วยสามารถของตนเอง ปัจจุบันประเทศไทยสามารถพัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์เองได้แม้จะมีต้นทุนและประสิทธิภาพที่ไม่ได้ดั่งใจเท่าใดนัก แต่ก็มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สถาบันพัฒนาเทคโนโลยีแสงพลังงานแสงอาทิตย์ (ISET) ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับพลังงานทางเลือกนี้ได้พัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์แบบสีย้อมที่ไม่ต้องใช้ซิลิกอน เหมือนเซลล์แสงอาทิตย์ทั่วไป แต่ใช้ดีบุกและไททาเนียมไดออกไซด์แทนโดยมีสีย้อมที่สกัดจากพืชและผักซึ่งไวต่อแสงเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาให้เกิดกระแสไฟฟ้าได้ดีขึ้น และยังพัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดไฮบริดที่ใช้เซลล์อะมอร์ฟัสซิลิกอนซ้อนกับผลึกซิลิกอนแบบฟิล์มบาง ทำให้ได้เซลล์ที่มีราคาถูกกว่าเซลล์ที่ใช้ซิลิกอนและเจอร์มาเนียมอีกทั้งยังมีประสิทธิภาพดีกว่าเซลล์ชนิดอะมอร์ฟัสซิลิกอน
    การนำเซลล์แสงอาทิตย์ไปผลิตเป็นอุปกรณ์ทดแทนการใช้ไฟฟ้าตามบ้านเรือนก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งของการประหยัดน้ำมันซึ่งเป็นเชื้อเพลิงหลักที่เราใช้กัน ซึ่งทาง ISET ได้พัฒนาระบบผลิตไฟฟ้าและน้ำร้อนด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ ฝีมือคนไทย ที่อุปกรณ์ชิ้นเดียวสามารถใช้ประโยชน์ได้ทั้ง 2 ทาง โดยสามารถลดต้นทุนจากการแยกซื้อเครื่องทำน้ำร้อนและแผงเซลล์แสงอาทิตย์ถึง 30 เปอร์เซ็นต์ การประยุกต์ใช้เซลล์แสงอาทิตย์กับหลอดไฟในที่สาธารณะซึ่งเก็บพลังงานในช่วงกลางวันและใช้ให้แสงสว่างในตอนกลางคืน

    ความคืบหน้าของพลังงานทดแทนครับ อันนี้พูดถึงพลังงานทดแทนแบบผสมผสาน ตามที่คุณคณานันทฺพูดถึงพอดี แหม ช่างมีวิสัยทัศน์ดีจริงๆ อีกอย่างที่พบในบทความคือ ความก้าวหน้าของการผลิต solar cell ของไทย ในอนาคต เราอาจจะได้ใช้กันแพร่หลาย เพราะราคาถูกลง และผลิตในประเทศไทยครับ ช่วยกันติดตามข่าว และมาโพสให้เพื่อนๆสมาชิกได้อ่านกันนะครับ

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 มีนาคม 2009
  9. Forever In LoVE

    Forever In LoVE เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,349
    ค่าพลัง:
    +3,864
    เห็นแล้วนึกถึงจักรยาน ที่ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้อง ค่ะ
    ไปที่นั้น มีจักรยานหลายแบบ
    แบบที่ปั่นแล้วได้ไฟฟ้า
    ปั่นแล้วได้รถน้ำต้นไม้ครั้งเดียวทั้งสวน
    ปั่นแล้วได้สกัดแยกน้ำมันฯ
    ปั่นแล้วได้ .. ได้อีกหลายอย่างนะคะลืมแล้ว แหะๆๆ

    แวะมาเยี่ยมเยียน คุณ Pew Pew เห็นบ่นว่าเหงาๆ
    ก็เลยมาฝากข่าวด้วยค่ะ เผื่อว่าสนใจไปศึกษาหาข้อมูลเพิ่มเติม
    เอาไว้เป็นไอเดียใหม่ๆนะคะ
    ในงาน มหกรรมคืนชีวิตให้แผ่นดิน วันที่ 17-18 มีนาคม 52
    ที่ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้อง

    http://palungjit.org/showthread.php?t=174203

    ;aa13
     
  10. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    ขอบคุณหลายๆ จ้า (smile)

    หายเหงาไปแยะเลย สู้ๆ
     
  11. boontar

    boontar เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 มีนาคม 2008
    โพสต์:
    2,717
    ค่าพลัง:
    +5,514
    วันนี้ไปเที่ยวงานแสดงสินค้าเกี่ยวกันพลังงานทดแทน
    อิมแพคเมืองทอง 5-8 มี.ค. Hall 6-7-8
    มีหน่วยราชการ-มหา'ลัย-โรงเรียน-โครงงานวิทยาศาสตร์-บริษัทผู้ผลิต
    มีหมดครับ แสงอาทิตย์-ลม-น้ำ-พืช-ขยะ ฯลฯ
    ที่ผมชอบมากที่สุดก็คือ
    ทำปุ่มอัดลมปุ่มเล็กๆวางเต็มถนน พอรถแล่นทับปุ่มก็จะอัดลม
    รถเป็นหมื่นเป็นแสนคัน ได้ไฟฟ้า(คำนวน)หลาย Megawatts
    มีของแปลกๆอีกเยอะ ลองไปเที่ยวดูสิครับ
     
  12. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    งานเข้ามามาก ไม่ได้หยุดเลยไม่ได้ไปงาน

    มีรูปเอามาลงให้ดูบ้านก็จะดีนะครับ
     
  13. boontar

    boontar เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 มีนาคม 2008
    โพสต์:
    2,717
    ค่าพลัง:
    +5,514
    รอให้ Server เค้าเรียบร้อย แล้วจะลงรูปให้ดูครับ
     
  14. JONGKON SIRISIN

    JONGKON SIRISIN เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มกราคม 2006
    โพสต์:
    56
    ค่าพลัง:
    +360
    ไม่ได้ไปดู รอดูรูปจากคุณboontar เหมือนกันครับ
    ตอนนี้ผมทดลองทำ bedini-motor อยู่ครับ ไม่ค่อยมีความรู้เรื่องไฟฟ้าอิเล็กทรอนิคส์แต่ก็ลองทำตามแบบที่เห็นในรูป มันก็หมุนได้จริง ไม่เข้าใจว่าหมุนได้ไง ถ้าสมาชิกท่านในทำอยู่ก็ เล่าสู่กันบ้างนะครับ
     
  15. JONGKON SIRISIN

    JONGKON SIRISIN เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มกราคม 2006
    โพสต์:
    56
    ค่าพลัง:
    +360
    ผมเห็นตัวอย่างจากเวปนี้ครับ http://www.are101.org/forum/index.php?topic=215.15 มีความรู้เกี่ยวกับ magnetmotor และ bedini motor ให้ดูครับ
     
  16. JONGKON SIRISIN

    JONGKON SIRISIN เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มกราคม 2006
    โพสต์:
    56
    ค่าพลัง:
    +360
    จัดอบรม การทำกังหัน แบบทุก รายละเอียด ตั้งแต่ การเหลาใบ การทำขดลวด หล่อเรซิน ปรับแต่งใบ ตั้งเสา และ เทคนิคต่าง อีกมากมาย ระยะ เวลา 1 วัน 8.30 - 17.00 นาฬิกา แบ่งเป็น
    1.เชิงทฤษฏี
    2.ภาคปฏิบัติ

    เริ่มต้นการรับสมัคร ตั้งแต่วัน ที่ 1 เมษา เป็นต้นไป

    ส่วนเรื่องค่าใช้จ่าย ในการอบรม สามารถ ติดต่อ สอบถามรายละเอียดได้ที่
    คุณพี่ บรรจง ขยันกิจ
    โทร 086-7049941
    http://www.thaiwindmill.com/forum/calendar.php?action=event&eid=2
     
  17. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    ระหว่างรอดูรูปจากคุณboontar และรอฟังผลการทดลองแบบ bedini motor เรามาหาความรู้เหกี่ยวกับการดึงพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ดีกว่า ไปหาข้อมูลมาให้อ่านกัน


    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=10 bgColor=#ffffe8 border=0><TBODY><TR bgColor=#ffff20><TD align=middle colSpan=2>[FONT=BrowalliaUPC,EucrosiaUPC,Maewong,Ratanakosin,Krungthep]เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>จัด<WBR>เป็น<WBR>สิ่ง<WBR>ประดิษฐ์<WBR>ชนิด<WBR>ใด<WBR><WBR> [/FONT]<TR><TD vAlign=top>[​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG] [​IMG] [​IMG]
    [FONT=BrowalliaUPC,EucrosiaUPC,Maewong,Ratanakosin,Krungthep][SIZE=-1][ ขยาย<WBR>ดู<WBR>ภาพ<WBR>ใหญ่ ] [/SIZE][/FONT]
    <TD width=450>[FONT=BrowalliaUPC,EucrosiaUPC,Maewong,Ratanakosin,Krungthep]<DD>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์ หรือ<WBR>โซลาร์เซลล์ (Solar Cells) เป็น<WBR>สิ่ง<WBR>ประดิษฐ์<WBR>อิเล็กทรอนิกส์ ที่<WBR>เปลี่ยน<WBR>พลัง<WBR>งาน<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ทำ<WBR>จาก<WBR>สาร<WBR>กึ่ง<WBR>ตัว<WBR>นำ ซึ่ง<WBR>ดูด<WBR>กลืน<WBR>พลัง<WBR>งาน<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>แล้ว<WBR>เปลี่ยน<WBR>เป็น<WBR>พาหะ<WBR>นำ<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>พาหะ<WBR>นำ<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ที่<WBR>เกิด<WBR>ขึ้น<WBR>จาก<WBR>พลัง<WBR>งาน<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>นี้<WBR>จะ<WBR>ถูก<WBR>แยก<WBR>เป็น<WBR>ประจุ<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>บวก<WBR>และ<WBR>ลบ<WBR>ด้วย<WBR>โครง<WBR>สร้าง<WBR>หัว<WBR>ต่อ<WBR>พี<WBR>เอ็น<WBR>ของ<WBR>สา<WBR><WBR>รกึ่ง<WBR>ตัว<WBR>นำ<WBR>เพื่อ<WBR>ให้<WBR>เกิด<WBR>แรง<WBR>ดัน<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ที่<WBR>ขั้ว<WBR>ทั้ง<WBR>สอง<WBR>ของ<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์ เมื่อ<WBR>ต่อ<WBR>ขั้ว<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ของ<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์กับโหลด เช่น หลอด<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>หรือ<WBR>มอเตอร์<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า กระแส<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>จะ<WBR>ไหล<WBR>สู่<WBR>โหลดเหล่า<WBR>นั้น และ<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>อุปกรณ์<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>เหล่า<WBR>นั้น<WBR>ทำ<WBR>งาน<WBR>ได้ <DD>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>เป็น<WBR>อุปกรณ์<WBR>ผลิต<WBR>พลัง<WBR>งาน<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ที่<WBR>ไม่<WBR>ต้อง<WBR>ใช้<WBR>เชื้อ<WBR>เพลิง<WBR>อื่น<WBR>ใด นอก<WBR>จาก<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ซึ่ง<WBR>เป็น<WBR>พลัง<WBR>งาน<WBR>ที่<WBR>ได้<WBR>เปล่า ไม่<WBR>มี ของ<WBR>เสีย<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>เกิด<WBR>มล<WBR>พิษ<WBR>ใน<WBR>ขณะ<WBR>ใช้<WBR>งาน เป็น<WBR>อุปกรณ์<WBR>ที่<WBR>ติด<WBR>ตั้ง<WBR>อยู่กับที่ ไม่<WBR>มี<WBR>การ<WBR>เคลื่อน<WBR>ไหวใด ๆ ขณะ<WBR>ทำ<WBR>งาน จึง<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>ปัญหา<WBR>ด้าน<WBR>ความ<WBR>สึก<WBR>หรอ หรือ<WBR>ต้อง<WBR>การ<WBR>การ<WBR>บำรุง<WBR>รักษา<WBR>เหมือน<WBR>อุปกรณ์<WBR>ผลิต<WBR>พลัง<WBR>งาน<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>แบบ<WBR>อื่น ๆ เช่น เครื่องปั่น<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ด้วย<WBR>น้ำ<WBR>มัน<WBR>ดีเซล นอก<WBR>จาก<WBR>นั้น<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ยัง<WBR>มี<WBR>น้ำ<WBR>หนัก<WBR>เบา จึง<WBR>ให้<WBR>อัตรา<WBR>ส่วน<WBR>ระหว่าง<WBR>กำลัง<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ต่อ<WBR>น้ำ<WBR>หนัก<WBR>ได้<WBR>ดี<WBR>ที่<WBR>สุด <DD>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>มี<WBR>ข้อ<WBR>เสีย<WBR>ใน<WBR>เรื่อง<WBR>ประสิทธิภาพ เพราะ<WBR>ให้<WBR>กำลัง<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ต่อ<WBR>พื้น<WBR>ที่<WBR>หนึ่ง<WBR>หน่วย<WBR>ไม่<WBR>มาก<WBR>นัก จึง<WBR>ใช้<WBR>พื้น<WBR>ที่<WBR>รับ<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ค่อน<WBR>ข้าง<WBR>มาก เพื่อ<WBR>ให้<WBR>ได้<WBR>พลัง<WBR>งาน<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>เพียง<WBR>พอ<WBR>ต่อ<WBR>การ<WBR>ใช้<WBR>งาน ประกอบกับราคา<WBR>ของ<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ค่อน<WBR>ข้าง<WBR>สูง ทำ<WBR>ให้<WBR>ยัง<WBR>ไม่<WBR>เป็น<WBR>ที่<WBR>นิยม<WBR>ใช้<WBR>งาน<WBR>อย่าง<WBR>กว้าง<WBR>ขวาง<WBR>นัก <DD>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ถูก<WBR>พัฒนา<WBR>ขึ้น<WBR>เพื่อ<WBR>ใช้<WBR>งานกับโครง<WBR>การ<WBR>อวกาศ<WBR>มา<WBR>โดย<WBR>ตลอด ดาว<WBR>เทียม<WBR>ทุก<WBR>ดวง<WBR>ที่<WBR>ส่ง<WBR>ขึ้น<WBR>ใช้<WBR>งาน<WBR>ด้าน<WBR>สื่อ<WBR>สาร ตลอด<WBR>จน<WBR>ยาน<WBR>อวกาศ<WBR>ที่<WBR>ใช้<WBR>สำรวจ<WBR>จักรวาล ล้วน<WBR>แล้ว<WBR>แต่<WBR>ต้อง<WBR>มี<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>เป็น<WBR>แหล่ง<WBR>กำเนิด<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ทั้ง<WBR>สิ้น เพราะ<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>อุปกรณ์<WBR>ผลิต<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ใด ๆ ที่<WBR>จะ<WBR>เหมาะ<WBR>สม<WBR>เทียบ<WBR>เท่า<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์ <DD>การ<WBR>ผลิต<WBR>กำลัง<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ที่<WBR>ผ่าน<WBR>มา<WBR>ต้อง<WBR>ใช้<WBR>พลัง<WBR>งาน<WBR>น้ำ โดย<WBR>การ<WBR>สร้าง<WBR>เขื่อน ต้อง<WBR>ใช้<WBR>พลัง<WBR>งาน<WBR>น้ำ<WBR>มัน<WBR>เชื้อ<WBR>เพลิง เช่น โรง<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ที่<WBR>ผลิต<WBR>ด้วย<WBR>น้ำ<WBR>มัน<WBR>และ<WBR>ก๊าซ<WBR>ธรรม<WBR>ชาติ ต้อง<WBR>ใช้<WBR>พลัง<WBR>งาน<WBR>จาก<WBR>ถ่าน<WBR>หิน เช่น โรง<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ที่<WBR>ผลิต<WBR>ด้วย<WBR>ถ่าน<WBR>ลิกไนต์ ซึ่ง<WBR>ล้วน<WBR>แล้ว<WBR>แต่<WBR>มี<WBR>ปัญหา<WBR>ด้าน<WBR>สิ่ง<WBR>แวด<WBR>ล้อม<WBR>ทั้ง<WBR>สิ้น<WBR>อีก<WBR>ทั้ง<WBR>ราคา<WBR>ของ<WBR>น้ำ<WBR>มัน<WBR>เชื้อ<WBR>เพลิง<WBR>ต่าง ๆ ขยับ<WBR>ตัว<WBR>สูง<WBR>ขึ้น และ<WBR>ปริมาณ<WBR>เชื้อ<WBR>เพลิง<WBR>เหล่า<WBR>นี้<WBR>ก็<WBR>มี<WBR>น้อย<WBR>ลง<WBR>ตาม<WBR>ลำ<WBR>ดับ และ<WBR>อาจ<WBR>จะ<WBR>หมด<WBR>ไป<WBR>ใน<WBR>อนาคต<WBR>พลัง<WBR>งาน<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>จึง<WBR>เป็น<WBR>ทางเลือก<WBR>หนึ่ง เพื่อ<WBR>เป็น<WBR>พลัง<WBR>งาน<WBR>นอก<WBR>รูป<WBR>แบบ<WBR>สำหรับ<WBR>ทด<WBR>แทน<WBR>ต่อ<WBR>ไป การ<WBR>ใช้<WBR>งาน<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>เพื่อ<WBR>ผลิต<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>บน<WBR>พื้น<WBR>โลก จึง<WBR>ได้<WBR>รับ<WBR>ความ<WBR>สน<WBR>ใจ<WBR>มาก<WBR>ขึ้น ตั้ง<WBR>แต่<WBR>เกิด<WBR>วิกฤติ<WBR>พลัง<WBR>งาน เมื่อ<WBR>ประเทศ<WBR>กลุ่ม<WBR>โอเปคขึ้น<WBR>ราคา<WBR>น้ำ<WBR>มัน<WBR>ดิบ<WBR>ใน<WBR>ปี พ.ศ<WBR>. ๒๕๑๖ โรง<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>พลัง<WBR>งาน<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ที่<WBR>ใช้<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>เป็น<WBR>อุปกรณ์<WBR>ผลิต<WBR>พลัง<WBR>งาน<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>ขน<WBR><WBR>าดใหญ่ และ<WBR>ดำ<WBR>เนิน<WBR>การ<WBR>ทด<WBR>ลอง<WBR>มี<WBR>อยู่<WBR>หลาย<WBR>แห่<WBR>งบนพื้น<WBR>โลก รวม<WBR>ทั้ง<WBR>ใน<WBR>ประเทศ<WBR>ไทย<WBR>ด้วย [/FONT]</DD></TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=10 bgColor=#ffffe8 border=0><TBODY><TR bgColor=#ffff20><TD align=middle colSpan=2>[FONT=BrowalliaUPC,EucrosiaUPC,Maewong,Ratanakosin,Krungthep]วัสดุ<WBR>ที่<WBR>ใช้<WBR>ทำ<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>มี<WBR>อะไร<WBR>บ้าง<WBR><WBR>[/FONT] <TR><TD vAlign=top>[​IMG]
    [​IMG] [​IMG]
    [FONT=BrowalliaUPC,EucrosiaUPC,Maewong,Ratanakosin,Krungthep][SIZE=-1][ ขยาย<WBR>ดู<WBR>ภาพ<WBR>ใหญ่ ] [/SIZE][/FONT]
    <TD width=450>[FONT=BrowalliaUPC,EucrosiaUPC,Maewong,Ratanakosin,Krungthep]<DD>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ทำ<WBR>จาก<WBR>วัสดุ<WBR>สาร<WBR>กึ่ง<WBR>ตัว<WBR>นำ เช่น ซิลิคอน มี<WBR>ทั้ง<WBR>ที่<WBR>เป็น<WBR>ผลึก<WBR>เดี่ยว (Single Crystal) ผลึก<WBR>ย่อย (Poly Crystal) และ<WBR>ไม่<WBR>เป็น<WBR>ผลึก<WBR>หรือ<WBR>เป็น<WBR>สารอะมอร์ฟัส (Amorphous) ซิลิคอน<WBR>เป็น<WBR>วัสดุ<WBR>สาร<WBR>กึ่ง<WBR>ตัว<WBR>นำ<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>ราคา<WBR>ถูก<WBR>ที่<WBR>สุด เพราะ<WBR>ซิลิคอน<WBR>เป็น<WBR>ธาตุ<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>มาก<WBR>ที่<WBR>สุด<WBR>ใน<WBR>โลก<WBR>ชนิด<WBR>หนึ่ง สามารถ<WBR>ถลุง<WBR>ได้<WBR>จาก<WBR>หิน<WBR>และ<WBR>ทราย และ<WBR>มี<WBR>ใช้<WBR>งาน<WBR>ใน<WBR>อุตสาหกรรม<WBR>อิเล็กทรอนิกส์<WBR>อย่าง<WBR>กว้าง<WBR>ขวาง เช่น ใช้<WBR>ทำ<WBR>ทรานซิสเตอร์ และ<WBR>วง<WBR>จร<WBR>ไอ<WBR>ซี ที่<WBR>ใช้<WBR>ใน<WBR>อุปกรณ์<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>อิเล็กทรอนิกส์<WBR>ทุก<WBR>ชนิด เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ที่<WBR>ทำ<WBR>จาก<WBR>ผลึก<WBR>ซิลิคอน ทั้ง<WBR>ผลึก<WBR>เดี่ยว<WBR>และ<WBR>ผลึก<WBR>ย่อย มี<WBR>การ<WBR>ผลิต<WBR>ออก<WBR>ใช้<WBR>งาน<WBR>มาก<WBR>ที่<WBR>สุด ใน<WBR>ปัจจุบัน เพราะ<WBR>มี<WBR>ประสิทธิภาพ<WBR>สูง<WBR>ประมาณ ๑๒ - ๑๕ % ซึ่ง<WBR>เพียง<WBR>พอ<WBR>ต่อ<WBR>การ<WBR>ประยุกต์<WBR>แม้<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>ราคา<WBR>แพง<WBR>เมื่อ<WBR>เทียบกับค่า<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ใน<WBR>ระบบ<WBR>สาย<WBR>ส่ง<WBR>การ<WBR>ใช้<WBR>งา<WBR><WBR>นจึง<WBR>จำกัด<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>พื้น<WBR>ที่<WBR>เฉพาะ เช่น ใน<WBR>ชน<WBR>บท<WBR>ที่<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ใช้<WBR>เป็น<WBR>หลัก <DD>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ชนิดอะมอร์ฟัสซิลิคอน<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>ราคา<WBR>ถูก<WBR>ที่<WBR>สุด เพราะ<WBR>ซิลิคอน<WBR>ที่<WBR>ไม่<WBR>เป็น<WBR>ผลึก<WBR>หรือ<WBR>เป็น<WBR>สารอะมอร์ฟัสนั้น<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>ลักษณะ<WBR>เป็น<WBR>ฟิล์ม<WBR>บาง ไม่<WBR>สิ้น<WBR>เปลือง<WBR>เนื้อ<WBR>วัสดุ เตรียม<WBR>ได้<WBR>ที่<WBR>อุณหภูมิ<WBR>ต่ำ<WBR>และ<WBR>ผลิต<WBR>ได้<WBR>ง่าย แต่<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ชนิดอะมอร์ฟัสซิลิคอน<WBR>นี้<WBR>มี<WBR>ประสิทธิภาพ<WBR>การ<WBR>แป<WBR>รพ<WBR>ลัง<WBR>งาน<WBR>ไม่<WBR>สูง<WBR>นัก คือ เพียง ๕ - ๑๐ % จึง<WBR>เหมาะ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ประยุกต์<WBR>ใช้กับอุปกรณ์<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ที่<WBR>กิน<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>น้อย เรา<WBR>จึง<WBR>เห็น<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ชนิด<WBR>นี้<WBR>ใช้<WBR>งานกับเครื่องคิด<WBR>เลข นาฬิกา<WBR>ข้อ<WBR>มือ วิทยุ<WBR>ทรานซิสเตอร์ เป็น<WBR>ต้น <DD>นอก<WBR>จาก<WBR>ซิลิคอน<WBR>แล้ว วัสดุ<WBR>สาร<WBR>กึ่ง<WBR>ตัว<WBR>นำ<WBR>อื่น ๆ ก็<WBR>ใช้<WBR>ทำ<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ได้<WBR>เช่น<WBR>เดียว<WBR>กัน เช่น แกลเลียม<WBR>อาร์เซไนด์ (GaAs : Gallium Arsenide) แคดเมี<WBR>ยมซัลไฟด์ (CdS : Cadmium Sulphide) ทอง<WBR>แดง<WBR>อินเดียมไดเซเลไนด์ (CuInSe(,๒) : Copper Indium Diselenide) ซึ่ง<WBR>ล้วน<WBR>แล้ว<WBR>แต่<WBR>เป็น<WBR>สาร<WBR>ประกอบ<WBR>กึ่ง<WBR>ตัว<WBR>นำ<WBR>ทั้ง<WBR>สิ้น เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ที่<WBR>ทำ<WBR>จาก<WBR>วัสดุ<WBR>แกลเลียม<WBR>อาร์เซไนด์จะ<WBR>เป็น<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>ประ<WBR>สิทธิ<WBR><WBR>ภาพ<WBR>สูง ๒๐ - ๒๕ % ใช้<WBR>งานกับแสง<WBR>ความ<WBR>เข้ม<WBR>สูง<WBR>ได้<WBR>ดี<WBR>ทน<WBR>ทานกับรังสี<WBR>อนุภาค<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>พลัง<WBR>งาน<WBR>สูง จึง<WBR>เหมาะกับงาน<WBR>ด้าน<WBR>อวกาศ แม้<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>ราคา<WBR>แพง<WBR>กว่า<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ที่<WBR>ทำ<WBR>จาก<WBR>ซิลิคอน<WBR>ถึง ๕๐ เท่า <DD>ส่วน<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ที่<WBR>ทำ<WBR>จาก<WBR>แคดเมี<WBR>ยมซัลไฟด์และ<WBR>ทอง<WBR>แดง<WBR>อินเดียมไดเซเลไนด์นั้น จะ<WBR>มี<WBR>ราคา<WBR>ถูก<WBR>พอ ๆ กับซิลิคอน เพราะ<WBR>มี<WBR>ลักษณะ<WBR>เป็น<WBR>ฟิล์ม<WBR>บาง และ<WBR>เตรียม<WBR>ได้<WBR>ง่า<WBR>ย <DD>วัสดุ<WBR>สาร<WBR>กึ่ง<WBR>ตัว<WBR>นำ<WBR>ที่<WBR>ใช้<WBR>ทำ<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ได้<WBR>ดี ต้อง<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>สามารถ<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>ดูด<WBR>กลืน<WBR>แสง<WBR>จาก<WBR>พลัง<WBR>งาน<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์ โดย<WBR>มี<WBR>ขนาด<WBR>ของ<WBR>แถบ<WBR>พลัง<WBR>งาน<WBR>ที่<WBR>เหมาะ<WBR>สมกับสเปกตรัม<WBR>ของ<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์ และ<WBR>สามารถ<WBR>ประดิษฐ์<WBR>โครง<WBR>สร้าง<WBR>หัว<WBR>ต่อ<WBR>พี<WBR>เอ็น เพื่อ<WBR>ใช้<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>แยก<WBR>พาหะ<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>ประจุ<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ต่าง<WBR>กัน<WBR>ออก<WBR>ไป<WBR>ยัง<WBR>ขั้ว<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>บวก<WBR>และ<WBR>ลบ<WBR>ได้ [/FONT]</DD></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=10 bgColor=#ffffe8 border=0><TBODY><TR bgColor=#ffff20><TD align=middle colSpan=2>[FONT=BrowalliaUPC,EucrosiaUPC,Maewong,Ratanakosin,Krungthep]โครง<WBR>สร้าง<WBR>ของ<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>เป็น<WBR>อย่าง<WBR>ไร<WBR><WBR> [/FONT]<TR><TD vAlign=top>[​IMG]
    [​IMG] [​IMG]
    [FONT=BrowalliaUPC,EucrosiaUPC,Maewong,Ratanakosin,Krungthep][SIZE=-1][ ขยาย<WBR>ดู<WBR>ภาพ<WBR>ใหญ่ ] [/SIZE][/FONT]
    <TD width=450>[FONT=BrowalliaUPC,EucrosiaUPC,Maewong,Ratanakosin,Krungthep]<DD>โครง<WBR>สร้าง<WBR>หลัก<WBR>โดย<WBR>ทั่ว<WBR>ไป<WBR>ของ<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ได้<WBR>แก่<WBR>หัว<WBR>ต่อ<WBR>พี<WBR>เอ็น<WBR>ของ<WBR>สาร<WBR>กึ่ง<WBR>ตัว<WBR>นำ เช่น ซิลิคอน (Si) เมื่อ<WBR>มี<WBR>การ<WBR>เติม<WBR>สาร<WBR>เจือ<WBR>ฟอสฟอรัส (P) จะ<WBR>มี<WBR>สาร<WBR>กึ่ง<WBR>ตัว<WBR>นำ<WBR>ชนิด<WBR>เอ็น เพราะ<WBR>นำ<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ด้วย<WBR>อิเล็กตรอน<WBR>ซึ่ง<WBR>มี<WBR>ประจุ<WBR>ลบ<WBR>และ<WBR>เมื่อ<WBR>ซิลิคอน<WBR>เติม<WBR>ด้วย<WBR>สาร<WBR>เจือ<WBR>โบรอน (B) จะ<WBR>เป็น<WBR>สาร<WBR>กึ่ง<WBR>ตัว<WBR>นำ<WBR>ชนิด<WBR>พี เพราะ<WBR>นำ<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ด้วย<WBR>โฮลซึ่ง<WBR>มี<WBR>ประจุ<WBR>บวก ดัง<WBR>นั้น<WBR>เมื่อ<WBR>นำ<WBR>สาร<WBR>กึ่ง<WBR>ตัว<WBR>นำ<WBR>ชนิด<WBR>พี<WBR>และ<WBR>ชนิด<WBR>เอ็น<WBR>มา<WBR>ต่อ<WBR>กัน ก็<WBR>จะ<WBR>เกิด<WBR>หัว<WBR>ต่อ<WBR>พี<WBR>เอ็น<WBR>ขึ้น โครง<WBR>สร้าง<WBR>ของ<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ชนิด<WBR>ซิลิคอน จึง<WBR>ทำ<WBR>จาก<WBR>ผลึก<WBR>ซิลิคอน<WBR>เป็น<WBR>ฐาน<WBR>หนา<WBR>ประมาณ ๓๐๐ ไมครอน (หรือ<WBR>ประมาณ ๐.๓ มิลลิเมตร) ด้าน<WBR>รับ<WBR>แสง<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>ชั้น<WBR>แพร่<WBR>ซึม (Diffused Layer) ที่<WBR>มี<WBR>การ<WBR>นำ<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ตรง<WBR>ข้ามกับฐาน<WBR>ซึ่ง<WBR>หนา<WBR>เพียง ๐.๕ ไมครอน การ<WBR>ออก<WBR>แบบ<WBR>ให้<WBR>หัว<WBR>ต่อ<WBR>พี<WBR>เอ็น<WBR>ตื้น<WBR>นี้<WBR>เป็น<WBR>สิ่ง<WBR>จำ<WBR>เป็น เพราะ<WBR>ต้อง<WBR>การ<WBR>ให้<WBR>แสง<WBR>ที่<WBR>ตก<WBR>กระ<WBR>ทบ<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ทะลุ<WBR>ทะลวง<WBR>ถึง<WBR>หัว<WBR>ต่อ<WBR>ให้<WBR>ได้<WBR>มาก<WBR>ที่<WBR>สุด หาก<WBR>หัว<WBR>ต่อ<WBR>พี<WBR>เอ็น<WBR>อยู่<WBR>ลึก<WBR>เกิน<WBR>ไป จะ<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>จำนวน<WBR>พาหะ<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ที่<WBR>เกิด<WBR>จาก<WBR>การ<WBR>ดูด<WBR>กลืน<WBR>แสง<WBR>แพร่<WBR>ซึม<WBR>ถึง<WBR>หัว<WBR>ต่อ<WBR>พี<WBR>เอ็น<WBR>ได้<WBR>น้อย<WBR>ลง<WBR>ส่ง<WBR>ผล<WBR><WBR>ให้<WBR>ปริมาณ<WBR>กระแส<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ที่<WBR>ได้<WBR>มี<WBR>จำนวน<WBR>น้อย<WBR>ลง<WBR>ไป<WBR>ด้วย ขั้ว<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ที่<WBR>อยู่<WBR>ด้าน<WBR>รับ<WBR>แสง<WBR>ของ<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>ลักษณะ<WBR>เป็น<WBR>ก้าง<WBR>ปลา หรือ<WBR>รูป<WBR>แบบ<WBR>อื่น ๆ เพื่อ<WBR>ให้<WBR>ได้<WBR>พื้น<WBR>ที่<WBR>รับ<WBR>แสง<WBR>มาก<WBR>ที่<WBR>สุด ใน<WBR>ขณะ<WBR>เดียว<WBR>กัน<WBR>สามารถ<WBR>รวบ<WBR>รวม<WBR>พาหะ<WBR>นำ<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ที่<WBR>เกิด<WBR>ขึ้น<WBR>ได้<WBR>มาก<WBR>ที่<WBR>สุด<WBR>ด้วย ส่วน<WBR>ขั้ว<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ด้าน<WBR>หลัง<WBR>ของ<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>ขั้ว<WBR>โลหะ<WBR>เต็ม<WBR>หน้า ผิว<WBR>ด้าน<WBR>รับ<WBR>แสง<WBR>ที่<WBR>นอก<WBR>เหนือ<WBR>จาก<WBR>ขั้ว<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>แบบ<WBR>ก้าง<WBR>ปลา<WBR>แล้ว ยัง<WBR>มี<WBR>ชั้น<WBR>ต้าน<WBR>การ<WBR>สะท้อน<WBR>แสง (AR : Anti Reflection Coating) ปิด<WBR>ทับ<WBR>เพื่อ<WBR>เพิ่ม<WBR>ประสิทธิภาพ<WBR>การ<WBR>ดูด<WBR>กลืน<WBR>แสง<WBR>ให้<WBR>มาก<WBR>ขึ้น<WBR>โดย<WBR>มิ<WBR>ให้<WBR>แสง<WBR>สะท้อน<WBR>กลับ เรา<WBR>จึง<WBR>เห็น<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>เป็น<WBR>สี<WBR>เงิน<WBR>เข้ม เพราะ<WBR>มี<WBR>ชั้น<WBR>โลหะ<WBR>ออกไซด์<WBR>เป็น<WBR>ชั้น<WBR>ต้าน<WBR>การ<WBR>สะ<WBR>ท้อง<WBR>แสง<WBR>นั่น<WBR>เอง [/FONT]</DD></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=10 bgColor=#ffffe8 border=0><TBODY><TR bgColor=#ffff20><TD align=middle colSpan=2>[FONT=BrowalliaUPC,EucrosiaUPC,Maewong,Ratanakosin,Krungthep]สมบัติ<WBR>ทางไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ของ<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>เป็น<WBR>อย่าง<WBR>ไร<WBR><WBR> [/FONT]<TR><TD vAlign=top>[​IMG]
    [​IMG] [​IMG] [​IMG]
    [FONT=BrowalliaUPC,EucrosiaUPC,Maewong,Ratanakosin,Krungthep][SIZE=-1][ ขยาย<WBR>ดู<WBR>ภาพ<WBR>ใหญ่ ] [/SIZE][/FONT]
    <TD width=450>[FONT=BrowalliaUPC,EucrosiaUPC,Maewong,Ratanakosin,Krungthep]<DD>เมื่อ<WBR>แสง<WBR>ตก<WBR>ระ<WBR>ทบ<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์ จะ<WBR>เกิด<WBR>กระแส<WBR>และ<WBR>แรง<WBR>ดัน<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ขึ้น<WBR>ที่<WBR>ขั้ว<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ทั้ง<WBR>สอง<WBR>ของ<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์ ปกติ<WBR>ผลึก<WBR>ฐาน<WBR>ที่<WBR>ใช้<WBR>มัก<WBR>เป็น<WBR>สาร<WBR>กึ่ง<WBR>ตัว<WBR>นำ<WBR>ชนิด<WBR>พี ดัง<WBR>นั้น<WBR>ขั้ว<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ด้าน<WBR>หลัง<WBR>มัก<WBR>เป็น<WBR>ขั้ว<WBR>บวก (+) ใน<WBR>ขณะ<WBR>ที่<WBR>สาร<WBR>กึ่ง<WBR>ตัว<WBR>นำ<WBR>ด้าน<WBR>รับ<WBR>แสง<WBR>มัก<WBR>เป็น<WBR>ชนิด<WBR>เอ็น ขั้ว<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ทางด้าน<WBR>รับ<WBR>แสง<WBR>จึง<WBR>เป็น<WBR>ขั้ว<WBR>ลบ (-) เมื่อ<WBR>ต่อ<WBR>ให้<WBR>ครบ<WBR>วง<WBR>จร<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>เกิด<WBR>กระแส<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ไหล<WBR>ขึ้น ปริมาณ<WBR>ของ<WBR>กระแส<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>จะ<WBR>ขึ้นกับความ<WBR>เข้ม<WBR>แสง เช่น เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ชนิด<WBR>ซิลิคอน<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>ขนาด<WBR>เส้น<WBR>ผ่า<WBR>ศูนย์<WBR>กลาง ๔ นิ้ว เมื่อ<WBR>ถูก<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ที่<WBR>ความ<WBR>เข้ม<WBR>แสง<WBR>ปกติ จะ<WBR>ให้<WBR>กระแส<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ได้<WBR>สูง<WBR>ประมาณ ๒ - ๓ แอมแปร์ แรง<WBR>ดัน<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>วง<WBR>จร<WBR>เปิด<WBR>ที่<WBR>เกิด<WBR>ขึ้น<WBR>ที่<WBR>ขั้ว<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ทั้ง<WBR>สอง<WBR>ของ<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ชนิด<WBR>ซิลิคอน จะ<WBR>มี<WBR>ค่า<WBR>ประมาณ ๐.๖ โวลต์ ซึ่ง<WBR>กำหนด<WBR>ได้<WBR>จาก<WBR>ชนิด<WBR>ของ<WBR>สาร<WBR>กึ่ง<WBR>ตัว<WBR>นำ<WBR>เพราะ<WBR>เป็น<WBR>ค่า<WBR>คง<WBR>ที่ ดัง<WBR>นั้น<WBR>ลักษณะ<WBR>สมบัติ<WBR>ทางไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ของ<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์ ทั้ง<WBR>กระแส<WBR>และ<WBR>แรง<WBR>ดัน<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า จึง<WBR>สามารถ<WBR>แสดง<WBR>ได้<WBR>ใน<WBR>รูป<WBR>ลักษณะ<WBR>สมบัติ<WBR>ทางไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ของ<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์ <DD>บน<WBR>เส้น<WBR>ลักษณะ<WBR>สมบัติ<WBR>กระแส<WBR><WBR>-แรง<WBR>ดัน<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>นี้<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>จุด<WBR>ทำ<WBR>งาน ซึ่ง<WBR>หมาย<WBR>ถึง<WBR>จุด<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ให้<WBR>ทั้ง<WBR>กระแส<WBR>และ<WBR>แรง<WBR>ดัน<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>ค่า<WBR>สูง<WBR>สุด ผล<WBR>คูณ<WBR>ของ<WBR>กระแส<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>และ<WBR>แรง<WBR>ดัน<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ที่<WBR>จุด<WBR>ทำ<WBR>งาน<WBR>นี้<WBR>คือ กำลัง<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>สูง<WBR>สุด<WBR>ที่<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ผลิต<WBR>ได้ ตัว<WBR>อย่าง<WBR>ของ<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ชนิด<WBR>ซิลิคอน<WBR>ขนาด<WBR>เส้น<WBR>ผ่า<WBR>ศูนย์<WBR>กลาง ๔ นิ้ว ที่<WBR>ยก<WBR>มา<WBR>นี้ จึง<WBR>มี<WBR>กำลัง<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ประมาณ ๐.๕ x ๒ = ๑ วัตต์ ปกติ<WBR>แผง<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>จะ<WBR>ประกอบ<WBR>ด้วย<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ต่อ<WBR>อนุกรม<WBR>กัน ๓๐ - ๕๐ ตัว เพื่อ<WBR>ให้<WBR>ได้<WBR>แรง<WBR>ดัน<WBR>สูง<WBR>ขึ้น<WBR>เหมาะ<WBR>สมกับการ<WBR>ประยุกต์ และ<WBR>มี<WBR>กำลัง<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ประมาณ ๓๐-๕๐ วัตต์<WBR>ต่อ<WBR>แผง<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ที่<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ผลิต<WBR>ได้<WBR>เป็น<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>กระแส<WBR>ตรง เช่น<WBR>เดียวกับแบตเตอรี่<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า หรือ<WBR>ถ่าน<WBR>ไฟ<WBR>ฉาย การ<WBR>ใช้<WBR>งาน<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>จึง<WBR>มี<WBR>ลักษณะ<WBR>เช่น<WBR>เดียวกับแบตเตอรี่<WBR>หรือ<WBR>ถ่าน<WBR>ไฟ<WBR>ฉาย ทำ<WBR>ให้<WBR>สามารถ<WBR>ใช้<WBR>ประ<WBR>โยชน์<WBR>ร่วม<WBR>กัน<WBR>ได้ เพราะ<WBR>เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ผลิต<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>ได้<WBR>เมื่อ<WBR>มี<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์ และ<WBR>เก็บ<WBR>สะ<WBR>สม<WBR>พลัง<WBR>งาน<WBR>นั้น<WBR>ไว้<WBR>ใน<WBR>แบตเตอรี่<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า เพื่อ<WBR>ใช้<WBR>งาน<WBR>ใน<WBR>ยาม<WBR>ที่<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ได้ เซลล์<WBR>แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>จึง<WBR>ใช้<WBR>เป็น<WBR>ตัว<WBR>อัด<WBR>ประจุ<WBR>ให้<WBR>แก่<WBR>แบตเตอรี่ หรือ<WBR>ถ่าน<WBR>ไฟ<WBR>ฉาย<WBR>ได้ เนื่อง<WBR>จากเครื่องใช้<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>โดย<WBR>ทั่ว<WBR>ไป<WBR>มัก<WBR>ใช้กับไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>กระแส<WBR>สลับ<WBR>จึง<WBR>ไม่<WBR>สามารถ<WBR>ใช้<WBR>งานกับเซ<WBR>ลล์แสง<WBR>อาทิตย์<WBR>ได้<WBR>โดย<WBR>ตรง ต้อง<WBR>เปลี่ยน<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>กระแส<WBR>ตรง<WBR>นี้<WBR>ให้<WBR>เป็น<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า<WBR>กระแส<WBR>สลับ<WBR>ก่อน<WBR>โดย<WBR>ใช้อินเวอร์เตอร์ (Inverter) [/FONT]</DD></TD></TR></TBODY></TABLE>

    ที่มา : http://kpnet3.nectec.or.th/kp6/BOOK20/chapter6/t20-6-l1.htm#sect3
     
  18. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    <TABLE class=contentpaneopen><TBODY><TR><TD class=contentheading width="100%">ข้อมูลการอนุญาตให้ใช้สิทธิในเทคโนโลยีการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์เชิงพาณิชย์ </TD><TD class=buttonheading align=right width="100%">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=contentpaneopen><TBODY><TR><TD vAlign=top colSpan=2>ข้อมูลการอนุญาตให้ใช้สิทธิในเทคโนโลยีการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์เชิงพาณิชย์ของสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ


    1. คํานํา
    สืบเนื่องจากความสําเร็จในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการสร้างเซลล์แสงอาทิตย ์ชนิดฟิล์มบางซิลิคอน และการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับบริษัทเอกชน เพื่อผลิตเซลล์แสงอาทิตย์เชิงพาณิชย์ของสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโ ลยีแห่งชาติ (สวทช.) ซึ่งเซลล์แสงอาทิตย์ดังกล่าวเป็นเซลล์แสงอาทิตย์ที่มีต้นทุนการผลิตต่ำมีประ สิทธิภาพเฉลี่ยประมาณ 7% ทั้งนี้เพื่อเป็นการผลักดันให้เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตเซลล์แสงอาทิตย ์ในประเทศไทย ซึ่งเป็นการเสริมความมั่นคงด้านพลังงาน โดยลดการพึ่งพาเทคโนโลยีการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์จากต่างประเทศ นอกจากนี้ยังสามารถลดการสูญเสียเงินตราออกนอกประเทศ โดยลดการซื้อเชื้อเพลิงเพื่อผลิตพลังงาน ลดการซื้อเซลล์และแผงแสงอาทิตย์จากต่างประเทศ สวทช. จึงมีแผนงานที่จะถ่ายทอดเทคโนโลยี การผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ให้กับภาคเอกชนที่สนใจลงทุนในธุรกิจนี้ ในการก่อสร้างโรงงานผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ขนาดกําลังการผลิตเฉลี่ยประมาณ 10 เมกะวัตต์ต่อปี ภายใต้การดูแลและให้คําปรึกษาของสวทช. ตามสัญญาการอนุญาตให้ใช้สิทธิในเทคโนโลยีการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์

    2. เทคโนโลยีการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ของ สวทช.
    2.1 เทคโนโลยีการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดฟิล์มบางซิลิคอน
    • เทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิตเซลล์ แสงอาทิตย์เป็นเทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดฟิล์มบางซิลิคอน แบบเซลล์ซ้อน มีข้อดีคือ

    • ไม่มีปัญหาเรื่องการขาดแคลนวัตถุดิบอย่างที่เกิดขึ้นกับเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดผลึก
    • ประสิทธิภาพไม่ลดลงมากเมื่อใช้งานที่อุณหภูมิสูง เมื่อเทียบกับแผงเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดผลึกซิลิคอน หรือ Energy yield สูงกว่าชนิดผลึก
    • ต้นทุนวัสดุต่ำ เนื่องจากเป็นแบบฟิล์มบาง ขนาด 1 ไมครอน เมื่อเทียบกับความหนาของเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดผลึกที่มีความหนาประมาณ 200-300 ไมครอน
    • สามารถผลิตเป็นปริมาณมากได้ พื้นที่ขนาดใหญ่ได้ และใช้พลังงานในการสร้างเซลล์แสงอาทิตย์ต่ำ เนื่องมาจากใช้อุณหภูมิต่ำแค่ 250 องศา ทําให้ต้นทุนการผลิตโดยรวมต่ำและส่งผลให้ต้นทุนของเซลล์แสงอาทิตย์มีราคาถูก
    • ปัจจุบันมีหลายบริษัทที่ผลิตเซลล์แสงอาทิตย์นี้ เช่น บริษัทบางกอกโซลาร์ บริษัท Kaneka ของญี่ปุ่น บริษัท RWE Schott Solar ของเยอรมัน เป็นต้น


    2.2 เทคโนโลยีการผลิตของเครื่องจักร (แบบ Batch)

    การผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดนี้ จะใช้เครื่องจักรที่มีเทคโนโลยีการผลิตแบบจํานวนมาก (แบบ Batch) ที่ออกแบบโดยคณะนักวิจัยของ สวทช. ดังแสดงในรูปที่ 2 โดยเซลล์แสงอาทิตย์ที่ได้จะมีขนาด 1.25 เมตร x 0.64 เมตร จํานวน 48 แผ่น ในแต่ละ Batch และมีประสิทธิภาพเฉลี่ย 7% การผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ด้วยวิธีนี้ จะทําให้ต้นทุนการผลิตในส่วนที่มาจากเครื่องจักรต่ำกว่า วิธีอื่นๆ เช่น แบบ Roll-to-roll หรือ Continuous batch ที่บริษัทในประเทศสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่นใช้อยู่

    2.3 เทคโนโลยีการสร้างเครื่องจักรภายในประเทศ

    เครื่องจักรหลักที่ใช้ในสายการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ตามแบบเทคโนโลยีของสวทช.น ี้ จะใช้เครื่องจักรที่ สร้างขึ้นภายในประเทศ ภายใต้การควบคุมของสวทช. ซึ่งมีราคาต่ำกว่าที่นําเข้าจากต่างประเทศ นอกจากนี้ระยะเวลาที่ใช้ในการสร้างเครื่องจักรจะสั้นกว่าที่นําเข้าจากต่างป ระเทศ กอปรกับเครื่องจักรดังกล่าวยังสามารถรองรับเทคโนโลยี การผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ประสิทธิภาพสูงเพิ่มขึ้นได้ด้วย โดยการปรับปรุงเงื่อนไขและกระบวนการเคลือบฟิล์มบางซิลิคอนเท่านั้น

    3. เงินลงทุนของโครงการ

    งบประมาณการลงทุนก่อสร้างโรงงานผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ขนาดกําลังการผลิตเฉลี่ย 10 เมกะวัตต์ต่อปี เป็นจํานวนเงินประมาณ 380 ล้านบาท ประกอบด้วย ค่าที่ดินเป็นเงิน 30 ล้านบาท (ขนาด 5.5 ไร่) ค่าก่อสร้างอาคารโรงงาน 20 ล้านบาท ค่าเครื่องจักรและอุปกรณ์ 240 ล้านบาท ระบบสนับสนุนการผลิต 40 ล้านบาท และค่ าใช้จ่ายในการดําเนินงานประมาณ 50 ล้านบาท (ทั้งนี้เงินลงทุนดังกล่าวยังไม่รวมมูลค่าเทคโนโลยีในการผลิต)

    4. ต้นทุนการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ของ สวทช.

    ต้นทุนการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ ประกอบด้วยค่าวัตถุดิบทางตรง 75% ค่าแรงงานทางตรง 5% และค่าโสหุ่ยการผลิต 20% ซึ่งคิดเป็นต้นทุนการผลิตเฉลี่ยประมาณ 50 บาท/วัตต์ (1.25 เหรียญสหรัฐ/วัตต์) โดยการผลิตจะใช้วัตถุดิบที่สามารถจัดหาได้ ภายในประเทศในสัดส่วน 50% ของวัตถุดิบทั้งหมด ขณะที่ต้นทุนการผลิตเฉลี่ยของเซลล์แสงอาทิตย์ในตลาดโลกอยู่ที่ประมาณ 105 บาท/วัตต์ (2.6 เหรียญสหรัฐ/วัตต์) ซึ่งจะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีการผลิตของ สวทช. มีต้นทุนการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ที่ ต่ำกว่าถึง 50%

    5. กรอบการให้ความช่วยเหลือของ สวทช. ในการอนุญาตให้ใช้สิทธิในเทคโนโลยี

    6. เงื่อนไขเบื้องต้นในการอนุญาตให้ใช้สิทธิในเทคโนโลยีการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ของ สวทช.

    • เป็นการอนุญาตให้ใช้สิทธิในเทคโนโลยีการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ในรูปแบบ Non-exclusive โดยขอสงวนสิทธิในการอนุญาตให้ผู้ประกอบการรายอื่นใช้สิทธิในเทคโนโลยีการผลิ ตเซลล์แสงอาทิตย์นี้ได้ แต่จำกัดจํานวนราย โดยเป็นการทําสัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิในเทคโนโลยีการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ ในระยะเวลา 6 ปี
    • สวทช. จะเรียกเก็บเงินค่าตอบแทนแรกเข้า(upfront) และเงินค่าตอบแทนรายปี (Royalty
    Fee) เป็นเวลา 5 ปี หลังจากที่บริษัทเริ่มผลิตเชิงพาณิชย์
    • สวทช. จะให้ความช่วยเหลือและแนะนําแก่บริษัทฯ โดยให้ข้อมูลทางเทคนิค เช่น รายละเอียดเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต วัตถุดิบที่ใช้รวมทั้งแหล่งซื้อเครื่องจักรและวัตถุดิบ เป็นต้น
    • สวทช. จะให้ความช่วยเหลือและแนะนําแก่บริษัท ด้านกระบวนการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ โดยจัดส่งเจ้าหน้าที่จากสวทช. ไปปฏิบัติงานในบริษัท จนได้ผลงานตามที่กําหนด
    • รับประกันคุณภาพของแผงเซลล์แสงอาทิตย์เป็นเวลา 1 ปี
    • สวทช. ขอสงวนสิทธิในการปรับเพิ่มราคามูลค่าเทคโนโลยีสําหรับผู้ประกอบการรายต่อๆ ไป




    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ที่มา : http://www.nstda.or.th/th/index.php...category&id=36&Itemid=62&limit=1&limitstart=1
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 มีนาคม 2009
  19. boontar

    boontar เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 มีนาคม 2008
    โพสต์:
    2,717
    ค่าพลัง:
    +5,514
    ทะยอยเล่าไปเรื่อยๆนะครับ
    ชื่องานเค้าคือ
    World alternative energy sciences expo 2009 หรือ
    การประชุมและนิทรรศการวิทยาศาสตร์พลังงานทางเลือกนานาชาติ
    จัดโดยกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    ผู้ออกร้านเป็นบริษัท-หน่วยราชการ-สถานศึกษา-โครงงานวิจัย
    หนักไปทางคนไทยแทบไม่มีนานาชาติ(ตามชื่องาน)
    เริ่มที่ Solarcell นะครับ มีผลิตหลายบริษัท+มีวิจัยหลายหน่วยงาน
    ราคาขายปลีกแผงSolarcell ในงานอยู่ที่140-180บาทต่อWatt
    ถ้ารวมเครื่องCharge+Battery จะตกราวๆ200-250บาทต่อWatt
    มีการเอาReflectorประกอบล้อมแผง Cellเพิ่มไฟฟ้าอีกราวๆ100%
    คร่าวๆก็100-125บาทต่อWatt ถือว่าราคาลงมาเยอะทีเดียว
    แต่ยังไงก็kilowattไม่หนีแสนบาท
    ผมไปดูงานด้านพลังงานก็เห็นชาวบ้านใช้กันมากขึ้น
    ในรูปคือSolarcellติดบนแพกระชังปลา เห็นมีเยอะ
    บนเกาะพระทองก็เห็นอยู่(ปี2007ราคา500บาทต่อWatt)
    แผงบนเกาะพระทอง(ในรูปที่7)3000Wattsราคา1.5ล้านบาท

    ถ้าพื้นที่อยู่ห่างไกล Solarcell ดูจะมีความแน่นอนและคุ้มค่าครับ
    คำแนะนำการใช้งาน--หมั่นล้างขี้นก
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 มีนาคม 2009
  20. boontar

    boontar เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 มีนาคม 2008
    โพสต์:
    2,717
    ค่าพลัง:
    +5,514
    กังหันลมมีมาแสดงหลายสถาบันและเสนอขายหลายบริษัท
    แต่พอถามถึงความเร็วและทิศทางลมจะเพียงพอคุ้มค่าหรือไม่
    มักจะไม่ได้คำตอบชัดเจน
    เพราะสถิติความเร็วลมที่ขอมาจากกรมอุตุฯหรือกรมอุทกศาสตร์-
    -ในรอบ50ปีจะมีข้อมูลวัดลมในพื้นที่กว้างมากๆ
    การวัดเฉพาะที่ที่จะติดตั้ง ทางบริษัทจะวัดให้ลูกค้า
    Curve ความเร็วลม VS เวลา ต้องวัดเป็นปีๆ
    ผมหาซื้อ(หรือเช่าหรือยืม)เครื่องบันทึก ความเร็วลม VS เวลา-
    -แบบบันทึกอัตโนมัติ 24 ชั่วโมง ก็หาไม่ได้เลย
    วัดแบบจดที่ละชั่วโมงนั้นผมทำได้เองอยู่แล้วแต่ข้อมูลหยาบมาก
    สรุปว่า ลูกค้ากังหันลมต้องเจรจาข้อมูลVS ความคุ้มค่าให้ดีๆ
    ถ้า Sure ก็แหลมพรหมเทพภูเก็ต ลมแรงแน่ ตั้งกังหันเสร็จนานแล้ว
    รูปที่ 1-2 เป็นรูปกังหันลมในงาน
    รูปที่3 เป็นเครื่องวัดลมของผมเอง วัดแบบคร่าวๆ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

แชร์หน้านี้

Loading...