ขอเชิญร่วมทำบุญสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์อาพาธ

ในห้อง 'ตลาด พระเครื่องเพื่อการกุศล' ตั้งกระทู้โดย พันวฤทธิ์, 29 พฤศจิกายน 2007.

  1. benyapa

    benyapa ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    1,088
    ค่าพลัง:
    +5,431
    ขอเชิญเพื่อนๆ ร่วมอนุโมนานะคะ ไถ่ชีวิตวัว 2 ตัวค่ะ เห็นเจ้าของโรงฆ่าบอกว่าท้อง 1 ตัวค่ะ http://larndham.org/index.php?<WBR>/topic/33351-%e0%b8%8a%e0%b9%<WBR>88%e0%b8%a7%e0%b8%a2%e0%b8%8a%<WBR>e0%b8%b5%e0%b8%a7%e0%b8%b4%e0%<WBR>b8%95%e0%b8%a7%e0%b8%b1%e0%b8%<WBR>a7-%e0%b8%97%e0%b8%b5%e0%b9%<WBR>88%e0%b9%82%e0%b8%a3%e0%b8%87%<WBR>e0%b8%86%e0%b9%88%e0%b8%b2/<WBR>page__pid__697642__st__520&#<WBR>entry697642
     
  2. channarong_wo

    channarong_wo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มีนาคม 2008
    โพสต์:
    408
    ค่าพลัง:
    +1,510
    10/03/10 เวลา 11.37 น. ได้โอนปัจจัยเพื่อร่วมกองบุญสงฆ์อาพาธประจำเดือน มีนาคม เป็นจำนวน 2000 บาท ครับ
    ปัจจัยทั้งหมดเป็นการรวบรวมจากเพื่อนร่วมงาน ที่ปรารถนาจะร่วมบุญอันยิ่งใหญ่นี้ เกือบ 3 ปีที่ได้ร่วมบุญกันมา
    ชื่นใจครับที่ได้เห็นทุกคน ให้ด้วยความเต็มใจ ไม่มีรังเกียจรังงอน และไม่มีทีท่าว่าจะหยุดกัน
    ผู้นำบุญก็พลอยชื่นใจไปด้วย ผลบุญอันยิ่งใหญ่ที่ไม่สามารถประมาณค่าเป็นตัวเลขได้นี้ แม้ไม่หวัง แม้ไม่คิด แม้ไม่มีใครรู้
    แต่ฟ้ารู้ สวรรค์รู้ .... ขอผลบุญทั้งหลายทั้งมวล จงย้อนกลับมาเป็น กำลัง เดชะ ชัยชนะ และความสำเร็จ
    ขอความสงบ ร่มเย็น เป็นสุข ไม่มีโรคภัย จงบังเกิดแก่ท่านทั้งหลาย ชั่วกัปป์ ชั่วกัลล์ โมทนาสาธุกับทุกๆท่านด้วยครับ
    และขออนุโมทนาบุญ กับ พี่น้องทั้งหลายในเวปพลังจิต โดยเฉาะกระดาน สงเคราะห์สงฆ์อาพาธแห่งนี้...สาธุครับ
     
  3. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    [​IMG]

    ภั พ พ ต า ธ ร ร ม ๖

    ธรรมอันทำให้เป็นผู้ควรที่จะบรรลุกุศลธรรมที่ยังไม่บรรลุ
    และทำให้กุศลธรรมที่บรรลุแล้วให้เจริญเพิ่มพูน,

    คุณสมบัติที่ทำให้เป็นผู้ควร เหมาะ สามารถ
    หรือพร้อมที่จะได้จะถึงสิ่งดีงามที่ยังไม่ได้ไม่ถึง
    และทำสิ่งที่ดีงามที่ได้ที่ถึงแล้วให้เจริญเพิ่มพูน


    (Bhabbata-dhamma: qualities making one fit for attaining the wholesome
    not yet attained and augmenting the wholesome already attained)


    ๑. ฉลาดในหลักความเจริญ

    คือ รู้เข้าใจกระบวนเหตุปัจจัยที่จะทำให้เกิคความเจริญเพิ่มพูน
    (To be knowledgeable about improvement or gain)


    ๒. ฉลาดในหลักความเสื่อม

    คือ รู้เข้าใจกระบวนเหตุปัจจัยที่จะทำให้เกิดความสูญเสียเสื่อมสลาย
    (To be knowledgeable about lose or decline )


    ๓. ฉลาดในอุบาย

    คือรู้เข้าใจชำนาญในวิธีการที่จะแก้ไขจัดทำดำเนินการให้สำเร็จลุล่วง
    (To be skillful in the means)


    ๔. สร้างฉันทะที่จะบรรลุกุศลธรรมที่ยังมิได้บรรลุ

    (To arouse the will to attain the good one has not attained)

    ๕. ระวังรักษากุศลธรรมที่ได้ลุถึงแล้ว
    (To maintain the good one has attained)

    ๖. ทำให้สำเร็จจุดหมายด้วยการกระทำต่อเนื่องไม่ยั้งหยุด หรือขาดตอน
    (To accomplish one’s aim through preserving performance
    or continuance in action)


    (องฺ.ฉกฺก.๒๒/๓๕๐/๔๘๒)

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    (ที่มา : พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม โดย พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต)
    มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, หน้า ๑๙๗)


    ขอขอบคุณ คุณกุหลาบสีชา จาก

    แสดงกระทู้ - ภั พ พ ต า ธ ร ร ม ๖ &bull; ลานธรรมจักร
     
  4. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    หากใครถูกจริตกับกสิณดวงแก้ว ลองพิจารณาดูครับ เป็นบุญเป็นกุศลทั้งนั้น


    <TABLE class=tablebg cellSpacing=1 width="100%"><TBODY><TR></TR><TR><TD align=middle>[​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    เมื่อสละอารมณ์ได้ในทางปฏิบัติ ไม่เกี่ยวด้วยอารมณ์เลย ใจหลุดจากอารมณ์เหมือนอะไร เหมือน ไข่แดงกับไข่ขาวอยู่ด้วยกันจริงๆ แต่ว่าไม่เกี่ยวกัน ไข่แดงมีเยื่อหุ้มอยู่นิดหนึ่ง บางๆ ไม่เกี่ยวกับไข่ขาวด้วย ไข่ขาวหุ้มอยู่ข้างนอกไม่ติดกัน รสชาติของไข่แดงก็รสหนึ่ง รสชาติของไข่ขาวก็รสหนึ่ง ไม่เข้ากัน อยู่คนละทางเห็นปรากฏทีเดียว เห็นที่ไหนอยู่ที่ไหนจึงเป็นทางปฏิบัติ เห็นปรากฏชัดอยู่ในกลางดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์ ใสบริสุทธิ์เท่าฟองไข่แดงของไก่ กลางกายมนุษย์นี่ ดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์ก็ใสบริสุทธิ์เท่าฟองไข่แดงของไก่ นั่นแหละ แต่ส่วนจิตที่เป็นสมาธิก็อยู่กลางดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์นั่นแหละ ไม่ใช่จิตดวงเดียว ในกลางดวงจิตมีวิญญาณ แต่ดวงจิตอยู่ในกลางดวงจำ ดวงจำอยู่ในกลางดวงเห็น แต่ว่าพูดถึงจิตดวงเดียวแล้วก็ จิตไม่เกี่ยวด้วยอารมณ์ทีเดียว อารมณ์ไม่เข้าไปแตะทีเดียว นิ่งหยุดดิ่งอยู่ศูนย์กลางดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์ แล้วผู้ปฏิบัติของตัวก็เห็น ใครเห็น นี้เป็นทางปฏิบัติ กายมนุษย์ละเอียดมันเห็น ไม่ใช่กายมนุษย์คนหยาบนี่ กายมนุษย์ ละเอียดที่มันฝันออกไป กายมนุษย์ คนนั้นแหละมันเห็น มันอยู่ในกลางดวงนั่นแหละ มันเห็นดวงจิตบริสุทธิ์สนิทหลุดจากอารมณ์ดังนี้ ไม่มีอารมณ์เข้าไปเกี่ยวข้องเลยทีเดียว เป็นดวงจิตใสเหน่งอยู่นั่นแหละ เหมือนไข่แดง แต่ว่ามันไม่ใสอย่างไข่แดงหรอก ใสเหมือนกระจกส่องเงาหน้า ใสเหน่งทีเดียว ตากายมนุษย์ละเอียดมันเห็น เพราะว่ามันก็รู้ว่าดวงจิตของมนุษย์เวลานี้ไม่เกี่ยว ด้วยอารมณ์ทั้ง ๖ เลย อารมณ์ทั้ง ๖ ไม่ได้เข้าไปเกี่ยวเลย หลุดจากกันหมด เห็นอย่างนี้เรียกว่า โวสฺสคฺคารมฺมณํ กริตฺวา ลภติ สมาธึ มันก็นิ่ง นิ่งแน่นอนอยู่กับดวงจิตมั่นไม่คลาดเคลื่อน ดวงจิตนั่นก็ซ้อนอยู่กับดวงจำ ดวงเห็น ดวงวิญญาณ ก็ซ้อนอยู่ในกลางดวงจิตนั่นแหละ ทั้ง ๔ อย่างนี้ซ้อนไม่คลาดเคลื่อนกันเป็นจุดเดียวกันนั่นแหละ ไม่ลั่นลอดจากกัน เป็นก้อนเดียวชิ้นเดียวอันเดียวทีเดียว เห็นชัดๆ อย่างนี้เรียกว่า สมาธิในทางปฏิบัติแท้ๆ อย่างนี้เรียกว่าได้สมาธิ จิตฺตสฺเสกคฺคตํ ได้ถึง เอกคฺคตา ได้ถึงซึ่งความเป็นหนึ่ง จิตดวงนั้นแหละถึงซึ่งความเป็นหนึ่งทีเดียว ไม่มีสอง ไม่มีเขยื้อน แน่นแน่วเหมือนอย่างกับ น้ำที่ใส่ไว้ในแก้วตั้งไว้ในที่มั่น ไม่มีลมพัดมาถูกต้องเลย ไม่เขยื้อนเลยทีเดียว อยู่ทีเดียว หยุดอยู่กับที่ทีเดียว นั้นได้ชื่อว่า จิตฺตสฺเสกคฺคตํ ถึงซึ่งความเป็นหนึ่งทีเดียว จิตถึงซึ่งความเป็นหนึ่งขนาดนั้น นั่นได้สมาธิอย่างนี้เรียกว่าได้สมาธิแล้ว แต่ว่าสมาธิโดยปริยายเบื้องต่ำ อย่างนี้ เป็นสมาธิโดยปริยายเบื้องต่ำ ไม่ใช่สมาธิโดยปริยายเบื้องสูง
    <TABLE class=tablebg cellSpacing=1 width="100%"><TBODY><TR class=row2><TD width="100%" height=25>


    </TD></TR><TR class=row2><TD class=profile vAlign=top>
    [​IMG]


    ส่วนสมาธิโดยปริยายเบื้องสูงต้องพูดถึงฌาน จิตที่เป็นดวงใส ที่เห็นเป็นดวงใสอยู่นั่นแหละ ผู้ปฏิบัติจะเข้าถึงซึ่งสมาธิโดยปริยายเบื้องสูง ต่อไปได้ ใจต้องหยุดนิ่งกลางดวงจิตที่ใสนั่น ต้องหยุดนิ่งทีเดียว พอหยุด ถูกส่วนเข้าเท่านั้นแหละ ก็เกิดเป็นฌานขึ้นกลางดวงจิตที่หยุดนั่น กลางดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์ กลางดวงจิตที่หยุดนั่น นิ่งหนักเข้าๆ พอถูกส่วนเข้าก็เข้ากลางของหยุดนั่น เข้ากลางของหยุดพอถูกส่วนถึงขนาดถึงที่เข้า เป็นดวงผุดขึ้นมา เป็นดวงผุดขึ้นๆ กลางนั่นแหละ ดวงใหญ่ไม่ใช่ดวงย่อย วัดผ่าเส้นศูนย์กลาง ๒ วา หนาคืบหนึ่ง กลม เป็นปริมณฑล กลมรอบตัว วัดผ่าเส้นศูนย์กลาง ๒ วา หนาคืบหนึ่ง ใสเป็นกระจกคันฉ่องส่องเงาหน้า ถ้าดวงนั้นผุดขึ้นมา มีกายๆ หนึ่ง กายมนุษย์ละเอียดนั่นแหละ ขึ้นนั่งอยู่กลางดวงนั้น





    <TABLE class=tablebg cellSpacing=1 width="100%"><TBODY><TR></TR><TR><TD align=middle>[​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>"เห็นสิบแล้วเห็นศูนย์ เป็นเค้ามูลสืบกันมา

    เที่ยงแท้แน่นักหนา ตั้งอนิจจาเป็นอาจิณ

    จุติแล้วปฏิสนธิ์ ย่อมเวียนวนอยู่ทั้งสิ้น

    สังขาราไม่ยืนยิน ราคีสิ้นเป็นตัวมา"



    </TD><TD vAlign=top></TD></TR></TBODY></TABLE>
    บางส่วนจากคำสอนของหลวงพ่อวัดปากน้ำ จากเวบ

    แสดงกระทู้ - สมาธิเบื้องต่ำและสมาธิเบื้องสูงหลวงพ่อสด วัดปากน้ำ &bull; ลานธรรมจักร
     
  5. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    ท่านผู้มีพลังจิตอันน่าเกรงขามและน่าตกใจยิ่งนัก ท่านหลวงปู่โยคีดำ แห่งดินแดน "เอือมระอาศรัทธาธรรม"



    [​IMG]
     
  6. สิทธิชัยพัทยา

    สิทธิชัยพัทยา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มกราคม 2009
    โพสต์:
    52
    ค่าพลัง:
    +304
    วันนี้โอนเงินช่วยสงฆ์อาพาธ เศษสตางค์ผมใส่เป็น .55 สตางค์นะครับ ขอร่วมอนุโมทนาบุญด้วยครับ
     
  7. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    สืบหาพระเครื่องดีวันนี้ คงต้องเอาพระเก่ามาเล่าใหม่ครับ แต่คราวนี้มีทรงพิมพ์มาให้ดูเพิ่มเติมกันอีก บางพิมพ์ผมเพิ่งเคยเห็นเหมือนกัน หากสนใจ คงต้องไปสอบถามเพิ่มเติมที่วัดเอาเอง ยามว่างๆ ก็ลองไปดูของจริง เพราะเท่าที่ทราบยังมีของดีอีกหลายอย่างในห้องบูชาพระเครื่องของทางวัดครับ


    ขอขอบคุณ
    ห้องพระวัดสัมพันธ์วงศ์

    หมายเหตุ เท่าที่ผมเคยสอบถามจากท่าน อ.ประถม อาจสาคร (นามปากกา ปรัศนีย์ ประชากร) ผู้ที่มีส่วนรู้เห็นพิธีการอธิษฐานจิตในพิธีนี้ที่ จ.ระยอง ท่านเคยบอกว่า พระเนื้อสีน้ำตาลนี้ จัดสร้างในรุ่นหลัง และสร้างเสร็จท่านเจ้าคุณชินเทพฯ นำไปให้หลวงปู่แหวนอธิษฐานจิตอีกที ถ้าจะให้ชัวร์เลย ก็ต้องเช่าเนื้อสีขาวที่เป็นผงแก่ปูนนั่นละดีที่สุด ส่วนเนื้อสีน้ำตาลนั้น บางองค์ก็มีเกศาธาตุของหลวงปู่แหวนด้วยเช่นองค์ที่ผมมีอยู่ ซึ่งตรวจโดยตาเนื้อโดย อ.ประถมฯ และตรวจโดยตาในโดยพี่ใหญ่ที่เป็นฌาณลาภีบุคคลประจำทุนนิธิฯ จึงสอดคล้องกันกับที่อธิบายไว้ข้างต้นครับ ส่วนพระพิมพ์นาคปรกผงสีขาวที่มีตราด้านหลังเป็นของวัดสัมพันธ์วงศ์นั้น ถ้าตรวจโดยใช้ตาในแล้ว จะเห็นเป็นดั่งดวงดาวสุกสว่างใสพราวระยับ เต็มไปหมด หมายถึงเทพพรหมชั้นสูงท่านลงมาในพิธีนี้กันหมด ตามคำเชิญของท่านโยคีฮาเล็บนั่นเอง พระรุ่นนี้แขวนเดี่ยวได้สบายมาก สำหรับข้อมูลการสร้างพระรุ่นนี้ มีพิมพ์เพิ่ม มีก๊อปปี้กันมาหลายครั้ง ผมก็มีก๊อปปี้ที่ให้ท่าน อ.ประถมฯ ดูแล้วเหมือนกัน ซึ่งเป็นบทความที่เขียนในหนังสือพลังเหนือโลก ผมก็ว่าก็น่าจะตรงที่สุดครับ ลองอ่านดูความพิสดารดูเอาเองก็แล้วกัน

    ผงโยคีฮาเล็บ…ผงสำคัญใน”พระผงมงคลมหาลาภ”…ตอนที่ ๑

    [​IMG]พระผงมงคลมหาลาภ

    ถ้าผมเอ่ยถึงพระผงมงคลมหาลาภของวัดสัมพันธวงศ์ เชื่อว่าหลายคนต้องรู้จักอย่างแน่นอน และจากการข้อมูลจากวัดสัมพันธวงศ์ที่มีแจกจ่ายให้ ต่างก็ยอมรับว่ามวลสารนั้นมีหลากหลายเยอะแยะมากมาย ลองเข้ากูเกิลแล้วพิมพ์คำว่า”พระผงมงคลมหาลาภ”จะพบข้อมูลดังกล่าวที่ลอกกัน ไปแปะวางประกอบการซื้อขายพระ ผมก็ไม่ได้บอกว่าข้อมูลจากวัดนั้นไม่จริง แต่มีอะไรบางอย่างที่อาจดูให้ละเอียด เท่าที่ผมเห็นพระผงมงคลมหาลาภนั้นค่อนข้างเป็นพระผงเนื้อละเอียด ดูร่วนๆเบาๆ และมีโซนสีเดียวคือสีขาว เลยทำให้ผมสงสัยว่า ดินต่างๆนาๆหรือผงพระเก่าที่นำมาผสมทำไมจึงก่อให้เกิดเนื้อพระได้โซนเดียว ได้……..ที่ผมเห็นหนังสือเล่มหนึ่งที่เป็นหนังสือที่เขียนเกี่ยวกับพิธีปลุก เสกที่วัดสารนาถเมื่อปี 2496 นั้น เป็นหนังสือที่คุณเนาว์เคยลงรูปให้ดูในเวปพุทธวงศ์ หนังสือเล่มนี้เป็นสมบัติของอาจารย์ชินพร เท่าที่ผมเคยดูก็ไม่ได้มีบันทึกมวลสาร บันทึกมวลสารนั้นน่าจะเป็นการบันทึกหลังจากพิธี และมีความเป็นไปได้ว่าอาจจะเป็นการบันทึกเมื่อไม่นานมานี้ เพราะมีการนำข้อมูลมาช่วยอัพราคาพระจากที่วัดทำบุญองค์ละ 1,000-1,500 บาท บางเวปนั้นปล่อยพระได้สูงถึง 4,000-5,000 บาท….ผมอาจจะจำการบันทึกในหนังสือเล่มนั้นได้ไม่ครบและอาจคลาดเคลื่อน ดังนั้นอย่าเชื่อผมมากนัก…
    ..วันนี้มีบันทึกอีกด้านหนึ่งมาให้อ่านกันครับ…
    [​IMG]นิตยสารพลังเหนือโลก

    เป็นเรื่องแปลกประหลาดอยู่เหมือนกันที่นิตยสารเล่มนี้ก็วางไว้ในตู้ หนังสือที่บ้านเชียงใหม่ เป็นหนังสือที่คุณพ่อผมเก็บไว้ ไม่เคยได้รื้อค้นสักที เคยรื้อหาหนังสือเล่มอื่นก็ไม่เคยเปิดอ่านเล่มนี้สักที พอหยิบมาอ่านก็ไม่ได้เอ๊ะใจว่าจะมีเรื่องผงโยคีฮาเล็บ ที่เอามาอ่านเพราะสนใจเรื่องพระอริยคุณาธาร ปุสโสหรือฟาษีสันตจิตมากกว่า พออ่านไปเรื่อยๆก็เจอเรื่องนี้เข้า
    ..เป็นนิตยสารอายุ 27 ปี….พลังเหนือโลก เล่มที่ 10 ออกเมื่อ พฤศจิกายน 2525 รายนามคนเขียน ก็มีทั้งอาจารย์ประถม อาจสาคร,คุณชินพร สุขสถิตย์ และคุณธงชัย อุดมความสุข
    [​IMG]นิตยสารพลังเหนือโลก

    คอลัมภ์นี้ชื่อว่า…ฤาษีสันตจิต โดย ปรัศนี ประชากร นามนี้เป็นนามปากกาของอาจารย์ประถม อาจสาคร
    เนื้อความที่เกี่ยวข้องมาดังนี้……
    ท่านอาจารย์ชื้น จันทร์เพชรหรือโยคีฮาเล็บ ผู้ทรงพลังจิตแก่กล้าชนิดหาตัวจับยาก สำเร็จปรจิตวิชาจากหิมาลัยบรรพต ยังออกปากสรรเสริญพระฤาษีสันตจิตต่อหน้าบรรดาสานุศิษย์ของท่านว่า นอกจากตัวท่านแล้วในเมืองไทยยังมีโยคีอีกองค์หนึ่งเรียกว่าโยคีสันตจิต มีอำนาจฌานแก่กล้ามาก โยคีรูปนี้เวลาจะทำน้ำมนต์ไม่ต้องใช้บาตรและดอกไม้ธูปเทียน ใช้ศิษย์ไปตักน้ำมากระแป๋งใหญ่ๆ นั่งมองไปคุยไปเล่นๆแผล็บเดียวเท่านั้น ถ้ามองด้วยตาในจะเห็นรังสีจิตเป็นอักษรคูโบ๊สขึ้นแพรวพราวไปหมดทีเดียว นับว่าเป็นผู้สำเร็จทางจิตที่เก่งกล้าผู้หนึ่ง
    [​IMG]พระผงมงคลมหาลาภ

    เห็นพระมหมัดนะบีห์
    อาจารย์ของผมองค์นี้ท่านชอบสนุกชอบสอดรู้สอดเห็นในสิ่งที่แปลกประหลาด คราวหนึ่งพระเดชพระคุณมหารัชชมังคลาจารย์แห่งวัดสัมพันธวงศ์ ประสงค์จะสร้างพระพิมพ์เนื้อผงขึ้นเป็นที่ระลึกในการหล่อพระประธานพระพุทธ มงคลมุนีนารถเพื่อประดิษฐานในพระอุโบสถวัดสารนาถธรรมมาราม อ.แกลง จ.ระยอง ท่านเจ้าประคุณจะทำอะไรจะต้องใหญ่และมีจำนวนมาก จึงมอบภาระนี้ให้ พ.ต.อ.ชลอ อุทกภาชน์ สิทธิงวิหาริกไปดำเนินการ พ.ต.อ.ชลอ อุทกภาชน์ ก็นำความไปหารือโยคีฮาเล็บ ผู้เป็นอาจารย์ทางพรหมศาสตร์ ท่านอาจารย์โยคีฮาเล็บจึงคิดก้วยปัญญาในการสร้างผงวิเศษแบบประยุกต์ คือไปนำว่าน เกสร ดินสอพอง ปูนขาว มาเป็นจำนวนมากขนาดต่อลังไม้ขนาดยาวมาบรรจุมวลสารดังกล่าวลงไป แล้วอัญญเชิญวิญญาณพรหมฤาษีชั้นสูงลงประทับทรงร่ายมนตร์เสกเป่าคุ้ยกันจนผง ฟุ้งไปหมด ส่งภาษาคูโบ๊สกันลั่นบ้านหกคะเมนตีลังกา ในบริเวณปริมณฑลพิธีมีฝ่ายสงฆ์ประกอบพิธีทางไสยเพิ่มอีกแรงหนึ่ง จนน้ำเทพมนต์ซึ่งบรรจุใส่โอ่งเกิดหมุนติ้วดุจมีใครมาคนเล่น หลังจากเสร็จพิธีประมาณ 3 วัน หลวงพ่อลี วัดอโศการามมีกิจที่วัดสัมพันธวงศ์ ได้เข้าไปในโบสถ์และเห็นเข้าก็เอื้อมมือจะหยิบพิจารณาดูก็ต้องสะดุ้งโหยงหด มือกลับเพราะปรากฎว่าผงนี้แรงที่สุดในชีวิตที่ผ่านมา และได้ขอผงไปประมาณ 1 บาตรเพื่อผสมสร้างพระพิมพ์ของท่าน ส่วนทางวัดสัมพันธวงศ์ ก็นำเอาผงเนื้อกษัตริย์ล้วนๆมาสร้างเป็นพระกันเลยเพราะถือว่าไม่ต้องผสมของ อื่นก็สร้างกันไม่หวาดไหวอยู่ พิพม์เสร็จก็นิมนต์พระคณาจารย์ชื่อดังแห่งยุคแห่งปี2496มาร่วมทำการปลุกเสก ใช้แพรสีเขียวห่อหุ้มพระถึงเจ็ดชั้น ห่อหนึ่งก็ใช้ฉัตรเบ็ญจาต้นหนึ่ง(ฉัตรห้าชั้น)รวมเป็ยฉัตรถึง 1,700 ต้น พระ 1,700 ห่อๆหนึ่งประมาณพะ 100 องค์ ก็ในพิธีสร้างผงวิเศษอันยิ่งใหญ่แห่งยุคและสร้างเพียงครั้งเดียว หลวงพ่อฤาษีก็อยากเห็นว่าที่เรียกวิญญาณต่างๆนั้นมาจริงหรือเปล่า ท่านก็มองดูด้วยตาทิพย์เห็นว่าเทพพรหมต่างๆที่รับรับเชิญได้เสด็จมาในงาน ปลุกเสกผงจริงและก็เชิญเลยไปถึงท้าวจตุโลกบาล เป็นนายทวารเฝ้ากันพวกราหูจรและเพ็ชรพระยาธรซึ่งชอบก่อกวนทำลายพิธีกรรม ได้เห็นพระเยซูคริสต์ พระมหมัดนะบีห์ พระบราไฮห์มาร่วมในพิธีด้วยแต่ยืนอยู่เพียงประตู แต่งกายแบบนักบวชครองผ้ากาละสีคล้ำ พวกมหาเทพในศาสนาพรหมดึกดำบรรพ์มากันมาก พระอรหันตเจ้าไม่มีมาร่วม เพราะไม่ใช่กิจและพระอรหันตเจ้าย่อมไม่ประทับทรงในแบบเดรัจฉานวิชา
    ต่อมาพระเครื่องชุดนี้ได้นำเข้าปลุกเสก(การเรียกพุทธาภิเษก มหาพุทธาภิเษกนั้นเป็นคำตู่) ที่พระอุโบสถวัดสารนาถธรรมาราม อ.แกลง จ.ระยอง ถึง18วัน18คืน พระคณาจารย์ปรกเป็นพระกรรมฐานสายพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต เท่าที่นึกออกก็มี ท่านอาจารย์สิงห์ ขันตะยาคะโม,อาจารย์ฝั้น อาจาโร,ท่านอาจารย์กงมา จิรปุญโญ,ท่านอาจารย์พระอริยคุณาธาร ปุสโส,ท่านอาจารย์ลี ธัมมธโร,ท่านอาจารย์สีโห,ท่านอาจารย์จันทร์ เขมปตโต,ท่านอาจารย์ตื้อ,ท่านอาจารย์อ่อน ญานสิริ,ท่านอาจารย์วัน อุตตะโมฯลฯ ประมาณ 30รูปและพระคณาจารย์นอกสายคือพระวรพรต ปัญญาจารย์ วัดอรัญญิการาม ชลบุรี พระเครื่องชุดนี้เรียกกันว่า พระมงคลมหาลาภ ในพิธีมีการสวดลัคขี คือบทพระพุทธคุณหนึ่งแสนจบ โบสถ์วัดสารนาถธรรมารามนี้กว้างใหญ่มากขนาดฐานพระประธานก็เท่ากับโบสถ์ ธรรมดาหนึ่งหลังแล้ว ขณะประกอบพิธีได้ประมาณ 7 วัน โคมไฟติดเพดานเกิดล่วงหล่นลงมาในระดับสูงและเป็นโคมแก้วแต่ก็ไม่แตกเสียหาย นับเป็นอิทธิวัตถุที่ทรงพลังยิ่งใหญ่แห่งยุครัตนโกสินทร์ แต่ของดีมันอาภัพ พลังคุ้มครองทางแคล้วคลาดสูงมากไม่แพ้พระรอดมหาวัน เมื่อใช้กรรมวิธีทางปรจิตตรวจดูทางในปรากฎนิมิตเป็นพระพุทธรูป กั้นด้วยนพปดลเสวตฉัตร(มหาเสวตฉัตรเก้าชั้น)ซึ่งไม่เคยพบในพระสมเด็จและวัด ใดๆ นอกจากพระพิมพ์ซึ่งเสกโดยพระโลกอุดรหรือหลวงพ่อดำผู้เหาะเหินเดินฟ้า อาจารย์ของหลวงพ่อโพรงโพธิ์ และหลวงพ่อโพรงโพธิ์เป็นอาจารย์ของหลวงพ่อวัดมะขามเฒ่าและหลวงพ่อเงิน บางคลาน


    ผงโยคีฮาเล็บ…ผงสำคัญใน”พระผงมงคลมหาลาภ”
    …ตอนที่ ๒


    [​IMG]พระผงมงคลมหาลาภทุกขนาด

    ส่วนอีกเนื้อความหนึ่งเป็นการเขียนในกระทู้หนึ่งของคุณโต้ง บุรีรัมย์ซึ่งมีเนื้อความใกล้เคียงกับที่ผมนำมาให้อ่าน
    การปลุกเสกที่วัดสัมพันธวงศ์
    คุณประถมได้กล่าวถึงการปลุกเสกที่วัดสัมพันธวงศ์ไว้ในหนังสือพลังเหนือโลก ซึ่งมาจากบันทึกของอาจารย์คุณประถมคือพระอริยคุณาธาร เป็นลักษณะที่พิสูจน์ยากเพราะเป็นเรื่องของการพิจารณาด้วยตาทิพย์ คนธรรมดามองไม่เห็น นำมาลงให้พิจารณาไตร่ตรองกันเอง
    ในพิธีที่วัดสัมพันธวงศ์มีผู้เก่งกาจอยู่มากมายอาทิ โยคีโยฮาเล็บ คุณแม่บุญเรือน โตงบุญเติม เป็นต้นแต่ทุกคนต่างเห็นตรงกันว่าพระอริยคุณาธาร ท่านมีความรู้กว้างขวางที่สุดจนโยคีโยฮาเล็บ ขนานนามท่านว่า โยคีสันตจิตจึงเชิญท่านมาช่วยตรวจสอบการอัญเชิญพรหมชั้นต่างๆจริงเท็จอย่าง ไร
    การปลุกเสกพระที่พระอุโบสถ วัดสัมพันธวงศ์ เจ้าการพิธีได้จัดให้มีการอัญเชิญพรหม เสด็จลงทำการปลุกเสกพระ และนิมนต์พระสงฆ์( ตามที่กล่าวถึงในเรื่องมวลสารการสร้างพระแล้วนั้น) ปลุกเสกซ้ำอีกครั้งหนึ่ง โยคีโยฮาเล็บ (อาจารย์ชื่น จันทร์เพ็ชร) บ้านพรานนก และ พ.ต.ท.ชลอ อุทกภาชน์ เป็นเจ้าพิธีอัญเชิญพระพรหม พระอริยคุณาธารได้เข้าร่วมในงานพิธีนี้ และเพื่อสอบว่าพระพรหม รับอัญเชิญมาประกอบพิธีหรือไม่
    พิธีเริ่มตอนบ่าย 4 โมงโดยมีพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ ต่อจากนั้นโยคีโยฮาเล็บและ พ.ต.ท. ชลอฯได้ทำพิธีอัญเชิญพระพรหมเป็นภาษาปากฤตเป็นภาษาเก่าแก่ที่สุดของชมพูทวีป เก่ากว่าบาลี-สันสกฤต เมื่ออัญเชิญเสร็จแล้ว ปรากฏมีรัศมีสว่างรุ่งเรืองมาจากเบื้องบน แล้วลงมาปรากฏที่แท่นบูชาตามตำแหน่งที่เจ้าพิธีจัดไว้ สักครู่เจ้าพิธีอัญเชิญพระกาลซึ่งเป็นพรหมสูงสุดประทับทรงในร่างทรงที่ เตรียมมา ต่อนั้นอัญเชิญพระพรหมอื่นๆลงมาประทับร่างทรงที่เตรียมไว้ภายใต้การบงการของ พระพรหมสูงสุด(คือพระกาล)แล้วกระทำการปลุกเสกประมาณครึ่งชั่วโมง คำบริกรรมที่เหล่าพระพรหมใช้ในการบริกรรมปลุกเสกทราบจากเจ้าพิธีว่าเป็นภาษา คูโบ๊ส ซึ่งเป็นภาษาเก่าแก่ สำเนียงคล้ายภาษาแขก พระพรหมผู้ทำการปลุกเสกนั้นทราบว่าเป็นโสฬสมหาพรหมทั้งสิ้น มีพระกาลเป็นประธานในการปลุกเสก นอกจากนั้นเจ้าพิธีได้อัญเชิญพระพรหมนารอทมาประทับ ณ แท่นบูชามุมตะวันออกเฉียงเหนือของพระอุโบสถ ทำหน้าที่พิทักษืป้องกันภยันตรายจากมารที่จะมาทำลายพิธีการ พระพรหมองค์นี้เมื่อครั้งเป็นมนุษย์เป็นชางลพบุรีก่อนสมัยพุทธกาล วัยชราท่านได้ออกบวชเป็นฤาษีพร้อมพะสหายคือพญาตาไฟ บำเพ็ญพรตอยู่เขาวุ้ง(สมอคอน)ลพบุรี
    [​IMG]พระอริยคุณาธาร(เส็ง)

    นี่เป็นส่วนหนึ่งในบันทึกของพระอริยคุณาธารซึ่งก็มรณภาพไปแล้ว จริงเท็จเป็นอย่างไรก็แล้วแต่ท่านผู้อ่านพิจารณากันมวลสารในการสร้างพระ
    จากบทความของคุณประถม( จากเรื่องฤาษี สันตจิต เส็ง ปสฺโส) กล่าวว่าท่านเจ้าคุณพระรัชมงคลมุนี ท่านทำอะไรจะต้องใหญ่และมีจำนวนมากดังนั้นการลบผงจึงทำไม่ทันแน่ ท่านจึงให้ พ.ต.อ.ชลอ อุทกภาชน์ สิทธิวิหาริกไปดำเนินการ พ.ต.อ.ชลอ อุทกภาชน์จึงไปหารือกับโยคีโยฮาเล็บ ผู้เป็นอาจารย์ฝ่ายพรหมศาสตร์ ท่านโยคีโยฮาเล็บจึงประยุกต์โดยการนำว่านเกสร ดินสอพอง ปูนขาว มาเป็นจำนวนมากขนาดต่อลังไม้ขนาดยาวบรรจุมวลสารดังกล่าว แล้วอัญเชิญวิญญาณพรหมฤาษีชั้นสูงประทับทรงร่ายมนตร์เสกเป่าคุ้ยกันจนฟุ้งไป หมด ส่งภาษาคูโบ๊สกันลั่นบ้าน และในบริเวณปริมณฑลพิธีมีฝ่ายสงฆ์ประกอบพิธีอีกแรงหนึ่ง ดังในหนังสือมังคลามหานุภาพ กล่าวว่า บรรจุพระพุทธมนต์ลงในน้ำ และผงที่จะสร้างพระโดยนิมนต์อาจารย์จากหลายวัดเข้าพิธีปลุกเสกเช่น พระพรหมมุนี (ผิน สุวโจ)วัดบวรนิเวศวิหาร พระวรเวทย์คุณาจารย์ (เมี้ยน ปภสฺสโร)วัดพระเชตุพนวิมลมัคลาราม พระสะอาด อภิวฒฺฒโน วัดสัมพันธวงศ์ พระครูนอ วัดกลางท่าเรือ พระอาจารย์บุ่ง วัดใหม่ทองเสน พระชอบ สัมมารี วัดอาวุธวิกสิตารามเป็นต้น และยังมีผงจากพระอาจารย์ต่างๆ ว่าน108 อย่าง ดอกไม้บูชาพระ 108 ผงที่ทำด้วยดินจากท่าน้ำ7 ท่า สระ7 สระ ผงจากคัมภีร์และใบลานเก่า ผงจากดินสังเวชนียสถาน 4 แห่ง และดินจากสถานที่สำคัญในพุทธศาสนาอีก 9 แห่ง ผงปูนขาวหินจากราชบุรี ผงปูนซิเมนต์ขาว ดินเหนียวอย่างดีสีเหลือง และน้ำอ้อย นำมาประสมกับผงที่ทำใหม่บดให้ละเอียด กรองด้วยผ้าป่าน ผสมน้ำมนตร์ที่ทำไว้พิมพ์เป็นรูป พระมงคลมหาลาภบ้าง สมเด็จบ้าง ส่วนพิมพ์อื่นๆสร้างด้วยดินผสมผงเผาแล้วนำมาเข้าพิธีปลุกเสกในคราวเดียวกัน อาจารย์ประถมเขียนสรุปรายละเอียดการปลุกเสกไว้เพิ่มเติมว่า
    เมื่อโยคีโยฮาเล็บ เจ้าพิธี สร้างผงวิเศษด้วยวิธีประยุกต์ของท่านแล้วอัญเชิญพรหมชั้นโสฬสมาทำการปลุกเสก ผง เสร็จพิธีแล้ว ท่านพ่อลี วัดอโศการามเข้าไปเดินดูในโบสถ์ว่าทำอะไรกัน ก็ยื่นมือไปหมายผัสสะดูก็สะดุ้งโหยง” เฮ้ยหยังแรงจังซี้ “ก็เลยขอผงไป 1 บาตร เพื่อสร้างพระพุทธจักรของท่านที่วัดอโศการาม ต่อจากนั้นทางวัดก็จัดหาว่าน เกษรดอกไม้ ผงต่างๆ ตามที่ได้เขียนรายละเอียดไปแล้ว นำไปให้อาจารย?ชอบ วัดอาวุธเป็นแม่งานจัดสร้าง เพราะมีฝีมือทางนี้ น่าเสียดายที่เนื้อพระแก่ปูนทำให้เนื้อหามวลสารไม่สะดุดตา ต่อมาก็ให้โหรวางลัคนาฤกษ์ปลุกเสกตรงกับเพชรฆาตฤกษ์คือถือว่าพระพุทธเจ้า ตรัสรู้ในระหว่างเพชรฆาตฤกษ์ เป็นฤกษ์ชนะมาร แต่ทางโหราศาสตร์ถือเป็นฤกษ์ที่เหมาะแก่การยาตราทัพ ฤกษ์ตีค่าย นับว่าเป็นฤกษ์แข็ง ที่หลวงพ่อพระอริยคุณษธาร บันทึกว่าปลุกเสกพระ น่าจะเป็นวาระสอง หลังการสร้างผงวิเศษ การทำพิธีก็แปลก ใช้เบ็ญจาห้าชั้นถึง1,500ต้น สำหรับประดิษฐานพระเครื่องห่อหุ้มด้วยแพรเขียว 1,500 ห่อใหญ่ๆ และถวายพระนามว่า พระมงคลมหาลาภ ( แต่มิได้ประกอบด้วยมหัทโนฤกษ์ ) อาจารย์ชั้นเยี่ยมถูกนิมนต์เข้าร่วมพิธีเป็นส่วนใหญ่ รวมระยะเวลาปลุกเสก 1 ชั่วโมงครึ่ง โดยเริ่มต้นพร้อมกัน ฝ่ายพรหมช่วยเสก 1 ชั่วโมงก็กลับ ส่วนพระสงฆ์เสกต่ออีก 1 ชั่วโมงโยคีโยฮาเล็บ กับพระอริยคุณาธารก็ลงมือเสกด้วย คุณประถมบอกว่าเสียดายช่วงนั้นอยู่ชายแดนไม่งั้นอาจได้พระงดงามกว่านี้ ต่อจากนั้นก็ได้นำพระมงคลมหาลาภไปที่วัดสารนาถธรรมาราม เพื่อเข้าพิธีพุทธาภิเษกพระประธาน โดยนิมนต์พระสายท่านอาจารย์มั่น ภิริทัตโต ประมาณ 30 รูป เสกกัน 18 วัน 18 คืน สวดลัคขีคือห้องพระพุทธคุณ อิติปิโสภควา เล่นกันแสนจบทีเดียว เป็นพระที่ตรวจพบว่าอยู่ในชั้นนพปดลเสวตฉัตรเช่นเดียวกับพระหลวงปู่ใหญ่พระ ครูโลกอุดร แต่รังสีไม่ใช่ทองคำเป็นสีเขียว เรื่องแคล้วคลาดอย่าบอกใครด้วยฤาษีนารอทท่านนั่งมองอยู่ ไม่ต้องเที่ยวแสวงหาพระรอดมหาวันให้เหนื่อยยาก คุณประถมกล่าวอีกว่าตัวท่านเองใช้พระครูโลกอุดร สมเด็จวัดระฆัง พระมงคลมหาลาภห้อยคอบูชา
    ….หลังจากอ่านแล้ว ถึงรู้ว่า พระผงมงคลมหาลาภนั้น ไม่ได้สร้าง 84,000 องค์ มีเพียง 15,000-17,000 องค์เท่านั้น น่าจะมีพระพิมพ์อื่นที่ร่วมสร้างจนครบจำนวน 84,000 องค์ และเป็นที่เชื่อได้ว่าพระผงมงคลมหาลาภนั้นสร้างจากผงโยคีฮาเล็บล้วนๆ
    ..ถ้าใครมีพระผงรุ่นนี้อยู่แล้วก็ดีใจด้วยครับ ของดีระดับอาจารย์ประถมรับรองครับ
    [​IMG]พระนางพญาวัดสัมพันธวงศ์

    ภาพพระนางพญาวัดสัมพันธวงศ์นี้เป็นพระเนื้อดิน นำเข้าพิธีปลุกเสกที่วัดสารนาถ อ.แกลง จ.ระยอง เดียวกับพระผงมงคลมหาลาภ เนื้อหาต่างจากพระผงมงคลมหาลาภ ซึ่งเมื่อย้อนกลับไปดูในการเตรียมมวลสารสร้างพระนั้นมีการรวบรวมดินจากสถาน ที่สำคัญและจากพระกรุด้วย จากรูปพระนางพญานี้อาจไม่ชัด


    2009 May � พระเครื่องศักดิ์สิทธิ์….PraSakSit Blog
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Ckh%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><link rel="Edit-Time-Data" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Ckh%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_editdata.mso"><!--[if !mso]> <style> v\:* {behavior:url(#default#VML);} o\:* {behavior:url(#default#VML);} w\:* {behavior:url(#default#VML);} .shape {behavior:url(#default#VML);} </style> <![endif]--><link rel="themeData" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Ckh%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_themedata.thmx"><link rel="colorSchemeMapping" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Ckh%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_colorschememapping.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves>false</w:TrackMoves> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cordia New"; panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cambria Math"; panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4; mso-font-charset:1; mso-generic-font-family:roman; mso-font-format:eek:ther; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:0 0 0 0 0 0;} @font-face {font-family:Calibri; panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-unhide:no; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; margin-top:0cm; margin-right:0cm; margin-bottom:10.0pt; margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-fareast-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} .MsoChpDefault {mso-style-type:export-only; mso-default-props:yes; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-fareast-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} .MsoPapDefault {mso-style-type:export-only; margin-bottom:10.0pt; line-height:115%;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 52.05pt 72.0pt 72.0pt; mso-header-margin:35.4pt; mso-footer-margin:35.4pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin;} </style> <![endif]--><link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Ckh%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><link rel="Edit-Time-Data" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Ckh%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_editdata.mso"><!--[if !mso]> <style> v\:* {behavior:url(#default#VML);} o\:* {behavior:url(#default#VML);} w\:* {behavior:url(#default#VML);} .shape {behavior:url(#default#VML);} </style> <![endif]--><link rel="themeData" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Ckh%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_themedata.thmx"><link rel="colorSchemeMapping" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Ckh%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_colorschememapping.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves>false</w:TrackMoves> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cordia New"; panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cambria Math"; panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4; mso-font-charset:1; mso-generic-font-family:roman; mso-font-format:eek:ther; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:0 0 0 0 0 0;} @font-face {font-family:Calibri; panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-unhide:no; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; margin-top:0cm; margin-right:0cm; margin-bottom:10.0pt; margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-fareast-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} .MsoChpDefault {mso-style-type:export-only; mso-default-props:yes; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-fareast-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} .MsoPapDefault {mso-style-type:export-only; margin-bottom:10.0pt; line-height:115%;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt; mso-header-margin:35.4pt; mso-footer-margin:35.4pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin;} </style> <![endif]-->
     
  8. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    ขอประชาสัมพันธ์งานบุญในเดือนนี้ให้ทราบครับ โดยงานบุญในเดือนนี้จะจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 28 มีนาคม 2553 โดยในงาน จะมีลูกแก้วสารพัดนึกของ ท่านหลวงปู่โยคีดำ หรือ หลวงปู่เครา มาให้บูชา เพื่อนำรายได้ช่วยกันสร้างทีพักให้คณะศรัทธา ญาติโยมทั้งหลายที่ขึ้นไปกราบหลวงปู่ด้วยครับ เพราะทางขึ้น-ทางลง ตอนไปกราบหลวงปู่ฯ ก็แสนลำบากต้องเดิินขึ้นเขากันไปขนาดทางขึ้นมีความชันตั้งแต่ 30-60 องศา ระยะทางราวๆ 1 กม.ลดเลี้ยวไปตามไหล่เขา ขึ้นไปก็ไม่อยากลง พอลงมาจะขึ้นไปอีกก็ท้อใจ เลยจะสะสมช่วยกันคนละไม้คนละมือสร้างที่พักโยม ทุกๆ คนที่ขึ้นไปจะได้มีที่พักเหนื่อยพอสบายตัวได้บ้าง

    หากกล่าวถึงลูกแก้วฯ ของหลวงปู่ฯ นี้ ก็ต้องบอกว่ามีความพิสดารมากมายก่ายกอง ผมเองทุกวันนี้ยังแขวนไว้กับตัวเอง 1 ลูก ไม่ถอดออกจากคอ ยกเว้นยามอาบน้ำ และยามนอน มีลูกแก้วท่านอุ่นใจมาก ผู้ที่มีจิตดีจะรู้ได้ด้วยตัวเองทุกคนขอย้ำว่าทุกคนจริงๆ วันว่างๆ นึกถึงท่านก็นั่งคลำลูกแก้วเล่น บ๊ะ...เอาเรื่องจริงๆ คลำพระเล่นมาก็เยอะ กราบพระปฏิบัติดีปฏิบัติชอบมาก็มากเจอลูกแก้วหลวงปู่ฯ ได้สนทนาธรรมกับท่าน ได้ปฏิบัติธรรมกับท่าน ต้องบอกว่าสุดๆ จริงๆ ไม่เสียแรงที่เกิดมาชาติหนึ่งมาเจอพระสำเร็จอภิญญาได้ขนาดนี้ แม้จะตายก็นอนหลับตาอย่างสบาย ผมจึงขอกราบอนุญาตท่านในการให้นายสติ หรือ อ.ปุ๊ นำลงมาจากเขาได้สัก 10กว่า ลูก เพื่อหารายได้มาถวายท่าน นี่ก็ยังไม่รู้ว่าจะให้บูชากันเท่าไร ใกล้ๆ คงต้องว่ากันอีกทีครับ

    สุดท้ายเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมา ผมได้รับโทรศัพท์จาก น้องสุภรณ์ อดิิศัยสกุล จนท.พยาบาลของหอป่วยชาย ที่จัีดเป็นห้องพยาบาลของสงฆ์อาพาธด้วยว่า มีพระภิกษุรูปหนึ่ง ชื่อพระภิกษุ สนอง นามสกุล พบพวก อายุราว 80 ปี ได้มรณะภาพลงอันเนื่องมาจากโรคหัวใจวายเฉียบพลัน และท่านเป็นผู้ที่ยากจนและไร้ญาติมาดูแล ทาง รพ.แม่สอด จึงขอความช่วยเหลือในเรื่องค่าโลงศพ ค่าขนส่งศพให้ด้วย ผมจึงตอบตกลงโดยทันที ทั้งนี้ ตามหลัีกเกณฑ์ของทุนนิธิฯ ที่ตั้งไว้ว่า หากพบว่าพระสงฆ์รูปใดที่มารักษาตัวที่ รพ.ในส่วนภูมิภาคที่ทุนนิธิฯ ได้ให้ความช่วยเหลือไว้แล้ว เกิดมรณะภาพลง และเป็นพระสงฆ์ที่ยากจน และไร้ญาติขาดมิตรแล้วให้ดำเนินการช่วยเหลือคือ ค่าโลงศพ ค่าขนส่งศพ และจัดให้มีผ้าไตรของทุนนิธิฯ วางไว้หน้าโลงศพให้หนึ่งผืนด้วยโดยทันที และทุนนิธิฯ จะได้ช่วยเหลือเงินในส่วนนี้ แยกออกจากการบริจาคตามปกติให้ด้วย โดยในเบื้องต้น น้องสุภรณ์ฯ แจ้ังว่าใช้เงินประมาณ 8,000.- บาท (เช่นเดียวกับที่ รพ.สมเด็จพระยุพราช (ปัว) จ.น่าน เมื่อเดือนที่แล้ว ผมจึงนำรูปมาลงให้ดูกัน ในส่วนของรายละเอียดส่วนตัวของพระรูปนี้ เช่นวัดที่สวดศพ และที่อยู่พร้อมใบมรณะบัตรจะได้นำมาแจ้งให้ทราบอีกครั้งหนึ่ง

    จึงแจ้งมาให้ทราบและโมทนาบุญร่วมกัน สำหรับรายละเีอียดเพิ่มเติมของกิจกรรมทำบุญและอื่นๆ จะได้แจ้งให้ทราบในภายหลังครับ

    พันวฤทธิ์
    13/3/53

    [​IMG]

    ผ้าไตรสำหรับทอดหน้าโลงศพที่เป็นผ้าไตรของทุนนิธิฯ บริจาคให้ 1 ชุด เพื่อเป็นเกียรติให้กับท่านผู้ล่วงลับ

    [​IMG]


     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 มีนาคม 2010
  9. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    สุดท้ายเป็นการขอขมากรรม กับสิ่งที่เราได้กระทำล่วงเกินไว้ในพุทธศาสนา เช่นการลบหลู่ดูหมิ่น ในพระสงฆ์องค์เจ้าต่างๆ หรือ ลัทธิบูชาต่างๆ จาก ท่านหลวงปู่เครา ท่านให้ทำดังนี้ครับ
    1. จุดธูป 16 ดอกกลางแจ้ง ขอให้พรหมเทวาทั้่ง 16 ชั้นฟ้า 15 ชั้นดิน ท่านเป็นพยานรับรู้ในเรื่องที่เราจะขอขมา เสร็จแล้วปักธูปไว้ในที่สูงเช่นกระถางต้นไม้
    2. จุดธูป 9 ดอกที่หน้าโต๊ะหมู่บูชา ตั้งนะโม 3 จบ บูชา พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ แล้วบอกให้ท่านทราบว่าเราจะขอขมาใคร เรื่องอะไร และขอให้ท่านได้โปรดยกโทษเรา และอย่าให้เป็นหนี้กรรมกับเราสืบไป

    สาเหตุที่ต้องทำอย่างนี้ หลวงปู่ฯ บอกว่า เศษกรรมนี้แรงนัก ขัดขวางทางธรรม และทางนิพพาน หากไม่แก้ ก็ไม่มีความเจริญในธรรม และเข้านิพพานไม่ได้ แม้หลวงปู่เองก็เช่นกัน ที่ต้องมานั่งใช้กรรมในชาตินี้อย่างแสนสาหัส แทนที่จะบรรลุธรรมในชาติที่แล้วก็ด้วยกรรมที่ตนเองก่อขึ้น...เอ้า..ใครรู้ว่าตนเองเคยปรมาสใครรีบทำซะไม่เสียหลายครับ ทำแล้วสบายใจด้วย ที่สำคัญก็คือพรหมเทพเทวา ท่านรับรู้และเป็นพยานให้เราจริงๆ ด้วยนา...
     
  10. jirautes

    jirautes เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    195
    ค่าพลัง:
    +575
    :cool:สวัสดีครับวันนี้ครอบครัวผมได้ใอนเงินทำบุญ500บ.
    (13/03/10*เวลา 15:24 น.*)

    :boo:
     
  11. channarong_wo

    channarong_wo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มีนาคม 2008
    โพสต์:
    408
    ค่าพลัง:
    +1,510
    ท่านพี่ครับ เพราะอดีตภพชาติ ที่ผ่านมาเราไม่รู้ได้ว่า เราได้เคยลบหลู่ดูหมิ่นดูแคลน แม้กระทั่งทุกสิ่งอย่าง กับใครใว้บ้าง
    เราควรจะทำเยี่ยงไรดีครับ สิ่งที่ท่านพี่บอกมาเหมือนรู้ว่าเราทำกับใครเอาใว้ อิอิ...ช่วยเฉลยทีครับ
    เผื่อบางที อะไรที่มันขัดๆอยู่ อาจได้เวลาเสียที.....ขอบคุณครับ

     
  12. Themis

    Themis เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    61
    ค่าพลัง:
    +995
    ร่วมทำบุญครับ 100.00 บาท โอนเงินเรียบร้อยแล้ว อนุโมทนาบุญกับท่านอื่น ๆ ด้วยครับ

    <table id="ctl00_ContentPlaceHolder1_tbConfirm" class="IBTABLE" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr class="IBTR"> <td class="boldleft" colspan="2">รับคำสั่งเรียบร้อยแล้ว
    ธนาคารได้ดำเนินการตามคำสั่งโอนเงินของท่านเรียบร้อยแล้ว</td></tr> <tr class="IBTR"> <td colspan="2"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody> <tr class="IBTR"> <td class="IBTD" width="30%">หมายเลขอ้างอิงธนาคาร</td> <td class="IBTD" width="33%">14345104</td> <td class="left" rowspan="18" valign="center">
    </td></tr> <tr id="ctl00_ContentPlaceHolder1_trConfImmediateDate" class="IBTR"> <td class="IBTD">วันที่</td> <td class="IBTD">14 มี.ค. 2553</td></tr> <tr id="ctl00_ContentPlaceHolder1_trConfImmediateTime" class="IBTR"> <td class="IBTD">เวลา</td> <td class="IBTD" colspan="2">11:17:54 Bangkok, Thailand (GMT +7:00)</td></tr> <tr> <td class="tdGroupSpacing" colspan="2"> </td></tr> <tr class="IBTR"> <td class="IBTD" colspan="2">โอนเงินจาก:</td></tr> <tr class="IBTR"> <td class="IBTD">บัญชีผู้โอน</td> <td class="IBTD">114-0-939131</td></tr> <tr id="ctl00_ContentPlaceHolder1_trConfDateDeductFund" class="IBTR"> <td class="IBTR">วันที่หักบัญชี</td> <td class="IBTR">14 มี.ค. 2553</td></tr> <tr> <td class="tdGroupSpacing" colspan="2"> </td></tr> <tr class="IBTR"> <td class="IBTD" colspan="2">โอนเงินไป:</td></tr> <tr class="IBTR"> <td class="IBTD">บัญชีผู้รับโอน</td> <td class="IBTD">ทุนสงเคราะห์สงฆ์อาพาธ </td></tr> <tr id="ctl00_ContentPlaceHolder1_trConfAccountName" class="IBTR"> <td class="IBTD">ชื่อบัญชี</td> <td class="IBTD">PRATOM F.</td></tr> <tr id="ctl00_ContentPlaceHolder1_trConfBank" class="IBTR"> <td class="IBTD">ธนาคาร</td> <td class="IBTD">BAY</td></tr> <tr id="ctl00_ContentPlaceHolder1_trConfDate2ReceiveFund" class="IBTR"> <td class="IBTD">วันที่เงินเข้าบัญชี</td> <td class="IBTD">14 มี.ค. 2553</td></tr> <tr> <td class="tdGroupSpacing" colspan="2"> </td></tr> <tr class="IBTR"> <td class="IBTD">จำนวนเงิน</td> <td class="IBTD">100.00</td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  13. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    ผมได้ post ในกระทู้ของหลวงปู่เคราและได้ตั้งคำถามว่า
    สมมุติว่าผมกำลังจะตาย ใจกำลังจะขาด กระผมควรนึกหรือว่าทำอย่างไรเป็นสิ่งแรกดีครับ

    หลวงปู่ท่านก็ได้ตอบคำถามมาว่า
    เห็นถึงความเสื่อมแห่งสรรพสังขารทั้งหลายเป็นอารมณ์......


    แต่พึ่งมาอ่านเจอคำกลอนในหนังสือ ชีวิตเหนือโลก ดับโศกสิ้นทุกข์ ในตอน คิริมานันทสูตร นี่เองครับ
    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 มีนาคม 2010
  14. nathaphat

    nathaphat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    182
    ค่าพลัง:
    +750
    วันนี้ผมและครอบครัว อัครานนท์ ร่วมทำบุญ 200 ครับ ขออนุโมทนาบุญกับทุกท่านด้วยครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • slip150353.jpg
      slip150353.jpg
      ขนาดไฟล์:
      39.2 KB
      เปิดดู:
      74
  15. banjerdw

    banjerdw เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มกราคม 2008
    โพสต์:
    486
    ค่าพลัง:
    +1,110
    ขอร่วมอนุโมทนาบุญ กับคณะกรรมการทุนนิธิ รวมถึงเพื่อนๆ ญาติธรรมทุกท่านด้วยครับ
     
  16. san02

    san02 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    31
    ค่าพลัง:
    +145
    วันนี้โอนเงินร่วมทำบุญจำนวน 300 บาท ครับ
     
  17. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    แนะนำพระเครื่องดีมาคราวนี้เป็นเกจิอาจารย์รุ่นเก่าที่มรณภาพแล้ว แต่ลูกศิษย์ท่านยังมีชีวิตอยู่ ปิดตัวเงียบ เอ๊ะยังไง..ไปอ่านดูดีกว่าครับ

    หลวงปู่ทอง วัดราชโยธา, เป็นพระเกจิอาจารย์รุ่นเก่ายุคก่อนสงคราม ท่านมีวิชาอาคมแก่กล้า

    หลวงปู่ทอง วัดราชโยธา

    เป็นพระเกจิอาจารย์รุ่นเก่ายุคก่อนสงคราม ท่านมีวิชาอาคมแก่กล้า

    โดยเป็นลูกศิษย์ของหลวงปู่ภูวัดเงิน ตลิ่งชัน
    และพระอาจารย์แสงวัดมณีชลขันธ์ ลพบุรี
    ผู้เป็นอาจารย์ของสม เด็จพุทธาจารย์โต
    นอกจากนั้นท่านยังได้มีโอกาสศึกษาวิชาเพิ่มเติมกับ สมเด็จโตอีกด้วย

    ส่วน เกจิอาจารย์ที่คุ้นเคยไปมาหาสู่กัน เช่น หลวงปู่ปั้นวัดเงิน ตลิ่งชัน หลวงพ่อปานวัดบางเ *** ้ย สมุทรปราการ หลวงปู่ศุขวัดมะขามเฒ่า ชัยนาท หลวงปู่ภูวัดอินทร์ กรุงเทพฯ และท่านเจ้ามาวัดสามปลื้ม กรุงเทพฯ

    สำหรับลูกศิษย์ของท่านก็มี
    หลวง ปู่เผือกวัดกิ่งแก้ว สมุทรปราการ
    หลวงปู่เหลือ วัดสาวชะโงก ฉะเชิงเทรา,
    หลวง พ่อจง วัดหน้าต่างนอก อยุธยา,
    หลวงปู่คง วัดบางกะพ้อม สมุทรสงคราม,
    หลวง ปู่จาด วัดบางกะเบา ปราจีนบุรี,
    หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ,
    หลวง พ่อคล้าย วัดสวนขันธ์ นครศรีธรรมราช,
    หลวงพ่อทองอยู่ วัดใหม่หนองพระองค์ สมุทรสาคร,
    หลวงพ่ออี๋ สัต *** บ,...
    หลวงพ่อเพชรวัดสามปลื้ม กรุงเทพฯ

    และศิษย์ที่เป็นฆราวาส เช่น อาจารย์แก้วคำวิบูลย์ อาจารย์แถว
    และอาจารย์เจ็ก
    ในสมัยก่อนหลวงปู่ทอง ท่านเป็นพระที่มีอาวุโสสูง
    และทรงไว้ซึ่งวิทยาคมแก่กล้า
    ดังนั้นไม่ ว่าใครก็ล้วนมาขอเรียนวิชาต่างๆจากท่าน

    หลวงปู่ทองมีอายุยืนยาวถึง 117 ปี
    จึงมรณภาพด้วยโรคชราเมื่อปี 2480

    ท่าน ได้สร้างพระเครื่องไว้มากมายหลายรุ่นหลายพิมพ์มีทั้ง พิมพ์สมเด็จยันต์ข้าง พิมพ์ปิดตายันต์ข้าง พิมพ์แม่ธรณีบีบมวยผมยันต์ข้าง พิมพ์ปิดตาหลังยันต์อุเนื้อเมฆพัด เป็นต้น

    สำหรับพระเครื่องวัตถุ มงคลต่างๆ หลวงปู่ทองก็สร้างไว้พอสมควร
    แต่ปัจจุบัน ไม่ค่อยได้เห็นกัน เพราะหายากมาก
    คนรุ่นนั้นต่างเก็บไว้ใช้กันหมด ที่เราพอจะได้เห็นกันบ้างก็คือ
    สมเด็จเขียวเหนียวจริง หรือพระสมเด็จกรุบึงพระยาสุเรนทร์
    ซึ่งท่านสร้างและปลุกเสกให้

    แม้ แต่ตอนสงครามอินโดจีน พระยาพหลพลพยุหเสนา
    อดีตนายกรัฐมนตรี ก็ยังได้นิมนต์ท่านขึ้นเครื่องบิน ไปโปรยทรายเสก รอบวัดพระแก้ว และสนามหลวง รวมทั้งบริเวณใกล้เคียง
    เพื่อให้คุ้มครอง มิให้เป็นอันตรายจากระเบิดของข้าศึก
    และยังได้ขอร้องให้ท่านสร้างเสื้อ ยันต์เพื่อแจกทหารไปใช้ในสงคราม

    ซึ่ง เสื้อยันต์นี้มีกิตติศัพท์เลื่องลือกันมาก ว่าแคล้วคลาดยิงไม่ถูกหรือโดนยิงแล้วไม่เป็นอะไร บางคนโดนยิงล้มลง ก็ยังลุกขึ้นมาสู้ใหม่ได้ จนได้รับฉายาว่า ทหารไทยเป็นทหารผี

    ซึ่ง ตอนนั้น เสื้อยันต์ที่ท่านสร้าง จะจารเขียนด้วยดินสอดำ
    ท่านเองทำให้ไม่ ทัน จึงได้ขอให้พระอาจารย์อีก 5 ท่าน
    มาร่วมสร้างด้วย คือ
    1.หลวงปู่ แช่ม วัดตาก้อง นครปฐม,
    2.หลวงปู่คง วัดบางกะพ้อม,
    3.หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก อยุธยา,
    4.หลวงปู่จาด วัดบางกะเบา ปราจีนบุรี,
    5.หลวง ปู่เผือก วัดกิ่งแก้ว สมุทรปราการ

    หลวงปู่ทองท่านเป็นพระที่ความ ศักดิ์สิทธิ์เป็นอย่างยิ่ง
    ท่านมีอภิญญาปาฏิหาริย์มากมาย แม้แต่คนจะถ่ายรูปท่าน
    ก็ยังถ่ายไม่ติดเลยครับ ทำให้ปัจจุบัน จึงไม่ค่อยมีรูปท่านให้เห็นกัน
    จะ มีที่เห็นก็เพียงรูปเดียวก็คือ รูปที่บรรดาลูกศิษย์ทั้งหลายร่วมกันไปอ้อนวอนขอถ่ายรูปท่าน ซึ่งเป็นรูปที่ท่านกำลังลงจากกุฏิไปฉันเพลเท่านั้น

    ส่วนเนื้อหาก็มี ทั้ง เนื้อดิน เนื้อผง ดินผสมผง และเมฆพัด
    พระเครื่องของท่านมีพุทธคุณ สูงทางด้านเมตตาแคล้วคลาด
    และคงกระพัน ขนาดที่ว่าพี่น้องชาวมุสลิมที่อาศัยบริเวณใกล้เคียงวัดยังให้ความเคารพ นับถือท่านอย่
    างสูงเลย
    รูปที่แนบมาด้วย [​IMG]




    ปาฏิหาริย์น้ำพุทธมนต์ พระเกจิฯดัง"หลวงปู่ทอง"
    คอลัมน์ มุมพระเก่า สรพล โศภิตกุล

    วัดราชโยธา กรุงเทพมหานคร ในอดีตสมัยที่หลวงปู่ทองเป็นเจ้าอาวาส ตั้งอยู่ในแวดวงของหมู่แขก
    มีบ้าน แขกเรียงรายล้อมรอบอยู่ทั่วไปในบริเวณ
    ผู้เฒ่าผู้แก่เล่าขานกันว่าหลวง ปู่ทองได้แสดงอิทธิปาฏิหาริย์
    สร้างความดีจนบรรดาพวกแขกนับถือหลวงปู่ทอง เป็นจำนวนมาก

    กล่าวได้ทีเดียวว่าสมัยหลวงปู่ทองเป็นเจ้าอาวาสวัดราช โยธา
    พวกแขกในย่านนั้นแทบทุกบ้านต่างก็พากันนับถือหลวงปู่ทอง

    เรื่อง เล่าถึง "ปาฏิหาริย์" หลวงปู่ทองเรื่องหนึ่ง เล่าสืบกันมาว่า

    มีแขก คนหนึ่งเข้าไปตกปลาในวัด ด้วยปลาที่หน้าวัดและที่ในสระนั้น
    มีชุกชุมนัก แต่แกตกปลาตลอดทั้งคืนก็หาได้ปลาไม่
    แม้บางครั้งเหมือนจะมีปลามาติด แต่พอวัดขึ้นมากลายเป็นใบไม้
    บางครั้งก็ฮุบเหยื่อเหนี่ยวไปเหนี่ยวมา พอวัดจวนจะพ้นน้ำดิ้นไปมา
    จนน้ำกระจาย แต่พอพ้นน้ำขึ้นมากลับกลายเป็นใบไม้ไป

    ครั้งสุดท้ายคล้ายปลาจะกิน เบ็ดจริงๆ แต่วัดเท่าไรก็ไม่ขึ้น
    มันลากไปลากมาอยู่ในสระน้ำ ในใจก็คาดคิดว่าจะเป็นปลาตัวใหญ่ ด้วยบางทีลากเสียปลายคันเบ็ดจมลงน้ำไปด้วย
    บาง คราวก็ฉุดลากจนตัวแกเกือบคะมำลงน้ำ
    สุดท้ายเมื่อลากขึ้นมาพ้นน้ำได้กลับ กลายเป็นหัวกะโหลก
    ตกใจจนจับไข้อยู่หลายวัน

    ข่าวผีกินเบ็ดก็แพร่ กระจายออกไปว่า หลวงปู่ทองใช้ผีเฝ้าปลาในสระวัด

    ยามที่มีผู้คนล้ม ป่วย ซึ่งในสมัยนั้นการคมนาคมไม่สะดวก
    ห่างไกลจากสถานพยาบาล ทำให้มีผู้คนล้มตายกัน
    ด้วยรักษาไม่ทันการ ชาวบ้านในละแวกวัดที่เป็นคนไทยพุทธ
    ล้วนต่างไปหาหลวงปู่ทอง ท่านก็เป่าเสกให้กินยา กินน้ำมนต์
    พากันหายจากโรค

    ก็เป็นที่ร่ำ ลือกันว่าหลวงปู่ทองเป็นหมอวิเศษ
    คราวหนึ่งโรคอหิวาต์ได้ระบาดในชุมชน หมู่บ้านแขก และไทยพุทธ รอบๆ วัดราชโยธา มีผู้คนล้มป่วยกันมากมาย ชาวไทยพุทธที่ไปหาหลวงปู่ทองรักษาให้ล้วนต่างหายจากโรคกัน เป็นที่ร่ำลือกัน

    วัน หนึ่งพวกแขกละแวกวัดหลายสิบคนต่างพากันไปหาหลวงปู่ทอง
    มีหญิงแขกคนหนึ่ง อุ้มลูกที่ป่วยมาด้วย
    หลวงปู่ทองก็ให้การต้อนรับเป็นอย่างดี ได้ถามไถ่ว่ามีเหตุธุระอันใด
    จึงมาหาท่านถึงวัด พวกแขกก็เล่าเรื่องราวให้ฟัง
    ท่านก็บอกให้เอาเด็กป่วยมาให้ท่านดู
    พอ เห็นท่านก็ทราบว่าเด็กน้อยคนนี้เป็นอะไร

    หลวงปู่ทองให้ลูกศิษย์ไป หยิบไพลมาให้หัวหนึ่ง
    เมื่อได้มาท่านก็เหลาปลายไพลให้พอแหลม
    แล้วท่าน ก็จี้ลงไปที่ตัวเด็ก ทันทีที่จี้ถูกตัว เด็กร้องว่า "กลัวแล้วๆ
    ผมกลัว แล้ว"

    หลวงปู่ทองก็ถามไป "เอ็งชื่ออะไร"

    เสียงเด็กตอบว่า "ผมชื่อโดดครับ"

    หลวงปู่ทองว่า "ใครใช้เอ็งมา"

    เด็กตอบว่า "หมอสอนครับ"

    หลวงปู่ทองถามต่อ "เองมาทำไม"

    เด็กตอบกลับว่า "มาเอาชีวิตอ้ายหวังครับ"

    หลวงปู่ทองถาม "อ้ายหวังมันทำอะไรให้"

    เสียง เด็กตอบมาว่า "มันเยี่ยวรดหมอสอนครับ"

    หลวงปู่ทองก็ว่า "หน็อยแน่เรื่องเพียงเท่านี้ถึงจะมาเอาชีวิตชีวาเชียวรึ เอ็งจะอยู่หรือจะไป ถ้าอยู่ข้าจะให้เฝ้าปลาในสระที่หน้าวัด"

    เด็กคนนั้นนั่งก้มหน้าเฉย หลวงปู่ทองจึงเอาไพลจี้พร้อมสำทับไปว่า "ยังไง เอ็งจะอยู่หรือจะไป"

    เด็ก คนนั้นก็ว่า "ไม่อยู่ครับ หมอสอนแกสั่งให้รีบกลับเร็วๆ ครับ"

    หลวง ปู่ทองจึงเอากำหญ้าคาจุ่มน้ำมนต์ฟาดลงไปที่ตัวเด็ก
    เสียงของผีร้ายในร่าง เด็กก็ร้องว่า "ผมกลัวแล้วๆ ผมไปแล้วครับ"
    หลวง ปู่ทองก็เอาน้ำมนต์ซัดลงไปที่ร่างเด็กอีกครั้ง เด็กดิ้นล้มลงนอนเหยียดยาวแล้วเงียบไปชั่วขณะหนึ่ง พอลืมตาก็ลุกขึ้นนั่งได้ตามปกติ หายราวปลิดทิ้ง แล้วท่านก็เอาด้ายสายสิญจน์มาผูกข้อมือให้

    หลวงปู่ทองว่า ด้ายนี้เอาไว้ป้องกันมันจะเข้าอีกไม่ได้
    แล้วก็เอาน้ำมนต์ให้พวกแขกไปคน ละขวด พร้อมด้ายสายสิญจน์
    ส่วนน้ำมนต์เอาไปอาบบ้าง กินบ้าง ประพรมบ้านบ้าง
    น้ำมนต์นี้ป้องกันผีห่าได้

    ตั้งแต่วันนั้นเป็นต้น มา พวกแขกเหล่านั้นก็เชื่อมั่นในตัวหลวงปู่ทอง
    ต่างพากันนับถือ บางคนเห็นความศักดิ์สิทธิ์ของ "น้ำมนต์"
    หลวงปู่ทองด้วยตาของตนเอง บ้างก็ได้ยินคำร่ำลือคำบอกเล่า
    บางครั้งพระพายเรือออกบิณฑบาตผ่าน

    ทาง หน้าบ้านของแขกเหล่านั้น พวกเขาจะกวักมือเรียกให้พระจอดเรือแล้วเอาข้าวของมาฝากให้หลวงปู่ทอง บางคราวก็นำมาให้ถึงวัด
    เขาบอกว่าเขาให้คนที่นับถือ คนที่ไม่เข้าใจก็คิดว่าแขกใส่บาตรพระ
    กล่าวสำหรับน้ำมนต์ ในหนังสือพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
    ให้นิยามว่า "น้ำเสกเพื่ออาบเป็นมงคล" พจนานุกรมฉบับมติชน
    ว่า น้ำมนต์, น้ำมนต์ คือ "น้ำที่เชื่อว่าเป็นมงคลที่ได้จากการสวด
    หรือเสก ใช้อาบกินหรือประพรมเพื่อเป็นสิริมงคล"

    อย่างไรก็ตาม น้ำมนต์โดยทั่วไป มีการใช้อยู่ 3 ประเภท คือ
    1. ใช้เพื่อเป็นมงคล 2. ใช้เพื่อรักษาโรค 3. ใช้ระงับทุกข์ภัย

    ใช้เพื่อเป็นมงคล ใช้ในการทำบุญทางศาสนา

    ที่เรียกว่า งานมงคล ปกติต้องจัดตั้งบาตรน้ำมนต์ หรือขันน้ำมนต์
    ถ้าทำบุญขึ้นบ้านใหม่ ตั้งบาตรทรายด้วย มีด้ายสายสิญจน์
    โยงจากองค์พระพุทธรูปที่ตั้งเป็น ประธานในพิธี วงมาที่บาตรน้ำมนต์ พระสงฆ์ในพิธีทั้งหมดถือด้ายสายสิญจน์ขณะเจริญพระพุทธมนต์

    พระสงฆ์ ผู้เป็นสังฆเถระ จะหยดเทียนและดับเทียน
    เมื่อถึงบทมนต์ที่กำหนดรู้ไว้ เสร็จพิธีนั้นแล้ว พระสงฆ์เถระจะประพรมน้ำมนต์ให้แก่เจ้าของงานและผู้มาร่วมงาน

    ใช้ เพื่อรักษาโรค โบราณนิยมทำเป็นประจำ
    โดยเที่ยวไปนมัสการตักน้ำมนต์ใน โบสถ์ตามวัดต่างๆ
    นิยมว่า 7 วัด เอามารวมกันในหม้อน้ำมนต์ที่บ้านตั้งไว้หน้าที่บูชาพระ ใครเจ็บไข้ไม่สบายขึ้นมาก็ไปกราบขอน้ำมนต์กิน
    โดยมากมักหายคนจึงนิยม และนิยมใช้น้ำมนต์รักษากันสารพัดโรค

    ใช้เพื่อระงับทุกข์ ในธัมมปทัฏฐกถา ภาค 7 ปกิณกวรรค
    เรื่องอตโนบุพกรรม ท่านเล่าว่า เกิดภัยใหญ่ 3 ประการ

    เกิดขึ้นในกรุงไพสาลี แคว้นวัชชี คือ
    1. ทุพภิกขภัย ข้าวยากหมากแพง
    2. อมนุสสภัย อมนุษย์ให้โทษ
    3. โรคภัย ภัยเกิดแต่โรคระบาด คนล้มตายมากทั่วเมือง

    เจ้าลิจฉวีผู้ปกครองเมือง จัดการรักษาทุกทางก็ไม่ระงับ
    ในที่สุดเห็นทางแก้ไขอยู่ทางเดียวว่า พุทธานุภาพเท่านั้นจะช่วยได้
    จึงส่งคณะเจ้าลิจฉวีไปทูลเชิญเสด็จพระ พุทธองค์
    ซึ่งขณะนั้นประทับอยู่ที่กรุงราชคฤห์ แคว้นมคธ
    พระพุทธองค์ รับจะเสด็จกรุงไพสาลี โดยเสด็จทางเรือตามแม่น้ำคงคา พอพระพุทธองค์ย่างเข้าเขตแคว้นวัชชีฝนตกใหญ่ น้ำนอง
    พอฝนหาย เมืองสะอาด พอเสด็จถึงกรุงไพสาลี
    โปรดให้พระอานนท์รับเรียนรัตนสูตรให้เจ้าลิจฉวีถือ บาตรน้ำมนต์
    พระอานนท์บริกรรมรัตนปริต ประพรมน้ำมนต์ทั่วบริเวณกรุงไพสาลี
    ในกำแพงเมืองทั้งสามชั้น รอบแล้วกลับมาเฝ้าพระพุทธองค์ ภัยทั้ง 3 ระงับทันที ประชาชนกลับเป็นปกติสุขตามเดิม

    ในสารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน กล่าวถึงน้ำมนต์ว่า
    "น้ำมนต์นี้ ถ้าเสกด้วยพระพุทธมนต์ เรียกว่า น้ำพระพุทธมนต์
    นิยมว่า ต้องพระเสก ถ้าเสกด้วยโองการตามลัทธิไสยศาสตร์
    เรียก ว่า เทพมนต์ หรือทิพย์มนต์
    อย่างที่พวกพราหมณ์ทำอยู่ที่โบสถ์พราหมณ์ กรุงเทพฯ

    น้ำมนต์นี้ เชื่อกันว่าสามารถระงับทุกข์ระงับภัยได้จริงๆ
    แต่ จะแก้อะไร ก็มีคาถาสำหรับบริกรรม หรือเสกเฉพาะๆ
    เช่น แก้เสนียดจัญไร ก็มีคาถาสำหรับเสกเฉพาะ แก้เสนียดจัญไร
    แก้ปวดศีรษะ แก้โรคตาแดง ก็มีคาถาเฉพาะสำหรับแก้โรคนั้นๆ
    เป็นทุกข์ใจเพราะอะไร ก็มีคาถาบริกรรมเฉพาะ
    ทั้งนี้ก็เป็นอุปเท่ห์ของอาจารย์ผู้ทำน้ำมนต์ ต้องใช้น้ำสะอาดบริสุทธิ์
    ใส่ภาชนะเฉพาะ เช่น ขันที่ทำเฉพาะ เรียกว่า หม้อบ้าง ครอบบ้าง
    กลตบ้าง ตามที่มี แต่ใช้บาตรดีที่สุด ในน้ำมนต์ ควรมีใบเงิน ใบทอง ใบส้มป่อย ผิวมะกรูด เวลาจะรด ควรมีใบมะตูมทัดหู
    แต่ ทั้งนี้ ก็แล้วแต่อาจารย์ผู้รดจะทำให้ อย่างไรก็ต้องทำตามอาจารย์

    น้ำมนต์ นี้ที่จะขลังอาศัยเหตุประกอบ 3 ประการ คือ
    1. พระอาจารย์ผู้ทำ ต้องใจบริสุทธิ์ มีสมาธิเป็นอัปนาแนบแน่น
    มีวสีชำนาญการบริกรรม
    2. ผู้รด ต้องมีความเชื่อมั่นไม่ลังเลสงสัย มั่นใจ
    3. โรค หรือภัยนั้น อยู่ในวิสัยที่น้ำมนต์จะรักษาได้

    เมื่อเหตุ 3 ประการนี้ ประกอบพร้อมเป็นอันเดียวกัน ย่อมสำเร็จตามความประสงค์"

    หลวงปู่หลุย วัดลาดโยธา(วัดลาดบัวขาว) ศิษท์ในสายวัดราชโยธาองค์สำคัญ
    ที่ เป็นที่นับถือกันมากในหมู่ศิษท์วัดราชโยธา ท่านเก่งมากครับ แต่ค่อนข้างเก็บตัว
    ไม่ยอมให้หนังสือลงประวัติเท่าไหร่

    ในภาพขณะ เป็นประธานพิธีทางสงฆ์ ทำการเจิมองค์ช้างเอราวัณและพรมน้ำมนต์
    [​IMG]



    ขอขอบคุณข้อมูล

    สวนขลังดอทคอม
     
  18. ชิน9

    ชิน9 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    46
    ค่าพลัง:
    +247
    สวัสดีครับทุกท่าน ผมได้โอนเงินบริจาคจำนวน 2,000.-บาท

    04/03/2010 06 .47 น.โอนผ่าน internet banking tmb


    ด้วยบุญอุทิศนี้ให้อาม่า,ป๋า,แม่,อาโกว,ชิน9,น้องๆ,หลานๆ,เพื่อนๆ,บริวาร,ผู้มีพระคุณ,ครู,อาจารย์,คนไทยทุกคน,ลูกค้าทุกคน,ผู้เช่าบ้านและร้านของชิน9

    ขอเชิญเพื่อนๆมาร่วมอนุโมทนาบุญด้วยกันนะครับ<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
  19. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    วันนี้ไปที่ รพ.จุฬาฯ เหลือบเห็นของดีอย่างหนึ่งที่ รพ.จุฬาฯ และ ตามธนาคารต่างๆ ยังมีให้บูชากันอยู่ นึกขึ้นได้ ว่าลืมแนะนำของดีราคาถูกอีกอย่างหนึ่งที่หาทำบุญได้ง่ายมาก แต่หารู้ไม่พลังสุดยอดทั้งรูปองค์สมเด็จพระสังฆราช และสายรัดข้อมือ โดยเฉพาะรูปพระองค์ท่านวางไว้หน้ารถหรือบนโต๊ะทำงานได้เลยครับจี๊ดจ๊าดมาก ก็สมเด็จธีฯ วัดชนะสงครามนั่นน่ะธรรมดาซะที่ไหน ท่านสำเร็จกสิณธาตุทั้งสี่ธาตุ แถมเป็นองค์ประธานพิธีมังคลาภิเษกในครั้งนี้ซะด้วย ท่านไม่ยอมให้เสียชื่อแน่ ขนาดสมเด็จพระนางเจ้าฯ ยังเข้ามาฟังธรรม และปฏิบัติธรรมกับท่านโดยส่วนพระองค์บ่อยไป ของดีครับ นำสายรัดใส่ข้อมือเด็กแล้วปล่อยไปเล่นได้สบายใจ หายห่วง ขนาดหมอจุฬาฯ หลายคนยังใส่ไว้กับตัวเลย เห็นแล้วพลอยสบายใจแทนจริงๆ เลยนำมาแนะนำให้ทำบุญกัน ของดีครับ ของดี

    สายรัดข้อมือมหามงคลสมเด็จพระสังฆราช 96พรรษา 8
    รอบ
    <table align="left" border="0" cellpadding="1" cellspacing="5" width="20%"> <tbody> <tr bgcolor="#400040"> <td>[​IMG]
    </td></tr></tbody></table>
    นับเป็นปีมหามงคลที่สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงเจริญพระชนมายุครบ 8 รอบ 96 พรรษา ในวันที่ 3 ตุลาคม 2552 และวโรกาสครบรอบ 20 ปี (2 ทศวรรษ) แห่งการสถาปนาสมเด็จพระสังฆราช ในวันที่ 21 เมษายน พุทธศักราช 2552

    เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระญาณ สังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ซึ่งถือได้ว่าเป็นที่สุดแห่งความเป็นสิริมงคลของชีวิต

    ดังนั้น สำนักเลขานุการสมเด็จพระสังฆราช ได้จัดทำโครงการ "สายรัดข้อมือมหามงคลสมเด็จพระสังฆราช 8 รอบ 96 พรรษา" ในราคาชุดละ 199 บาท โดยคุณลักษณะของ สายรัดข้อมือมหามงคลสมเด็จพระสังฆราช เป็นสายรัดข้อมือ 3 สี 3 เส้น มีเส้นสีเหลือง สีขาว และสีฟ้า ซึ่งทั้ง 3 สีเป็นสีสัญลักษณ์ประจำพระองค์สมเด็จพระสังฆราช แต่ละสีมีความหมายดังนี้

    สีเหลือง หมายถึง สีแทนพระพุทธศาสนา สื่อถึงการเป็นพระเถระที่ทรงภูมิธรรมด้านการปฏิบัติธรรม

    สีขาว หมายถึง สีแทนพระบริสุทธิคุณ สื่อถึงการเป็นพระเถระที่ทรงเพียบพร้อมด้วยศีลาจารวัตร


    สีฟ้า หมายถึง สีวันประสูติ สื่อถึงการเป็นพระเถระที่ทรงภูมิธรรมด้านปริยัติ

    สายรัดข้อมือมหามงคลสมเด็จพระสังฆราช ได้ผ่านพิธีมังคลาภิเษก ณ พระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ โดยมีสมเด็จพระมหาธีราจารย์ เจ้าอาวาสวัดชนะสงคราม เป็นผู้แทนพระองค์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ในการประกอบพิธีมังคลาภิเษก

    พระราชรัตนมงคล ผู้ช่วยเลขานุการสมเด็จพระสังฆราช กล่าวว่า ลักษณะของสายรัดข้อมือ สายสีเหลือง ด้านนอก จารึกภาษาบาลีว่า พุทฺธํ ธมฺมํ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ อภิปูชยามิ เอเตน สจฺจวชฺเชน โสตฺถิเม โหตุ สพฺพทา ซึ่งจะเป็นลายพระหัตถ์ของสมเด็จพระสังฆราชและเป็นบทสวดมนต์ที่พระองค์ใช้สวด ทุกวัน ด้านในจารึกลายพระหัตถ์ มีตัวเลข 220 ซึ่งเป็นตัวเลขมงคล หมายถึงการครบรอบสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราช และตัวเลข 896 เป็นตัวเลขครบ 8 รอบ 96 พรรษา

    สายสีขาว ด้านนอก อัญเชิญตราสัญลักษณ์ประจำพระองค์ และจารึกพระนาม สด.พระญาณสังวร (ลายพระหัตถ์) ด้านในจารึกพระราชทินนามสมเด็จพระสังฆราช เป็นภาษาไทยและภาษาอังกกฤษ


    สายสีฟ้า ด้านนอกจารึกคติธรรมว่า ปุญญเมว โสสิกฺเขยฺย ควรศึกษาทำความดีแล และจารึกภาษาบาลี อายุ วณฺโณ สุขํ พลํ ด้านในจารึกคติธรรมปีใหม่ เว้นการควรเว้น ทำการควรทำ เพื่อพัฒนาตนและประเทศชาติ

    พระครูสังฆสิทธิกร หัวหน้าฝ่ายศาสนวิเทศ สำนักเลขานุการสมเด็จพระสังฆราช กล่าวว่า "สายรัดข้อมือมหามงคลสมเด็จพระสังฆราช ได้จัดทำขึ้นจำนวน 2 แสนเส้น พุทธศาสนิกชนที่สนใจสามารถร่วมบริจาคได้ในราคาชุดละ 199 บาท โดยรายได้จะนำไปจัดพิมพ์หนังสือพระนิพนธ์ อาทิ วิธีสร้างบุญบารมี หายใจให้เป็นสุข แจกจ่ายเป็นธรรมทานแก่วัดและสถานศึกษาทั่วประเทศ"

    พระครูสังฆสิทธิกรกล่าวอีกว่า "สำหรับพระอาการของสมเด็จพระสังฆราช ในขณะนี้ พระองค์ท่านมีพระอาการแจ่มใส พระพลานามัยสมบูรณ์ แต่จะต้องอยู่ในห้องปลอดเชื้อ และการดูแลของคณะแพทย์อย่างใกล้ชิด จึงขอให้พุทธศาสนิกชนร่วมกันถวายพระพรให้พระองค์มีพระพลานามัยแข็งแรง และร่วมกันใส่สายรัดข้อมือเป็นการเทิดพระเกียรติอย่างพร้อมเพรียงกัน"
     
  20. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    ต้องขออนุโมทนาและสาธุบุญกับท่านทั้งหลายตามข้างบนที่ได้ร่วมบริจาคมายังทุนนิธิฯ ด้วยครับ เดี๋ยวนี้นานๆ ครั้งจะเข้ามาในกระทู้ทีนึง มาทีก็ดีใจที่ยังมีผู้ร่วมเข้ามาทำบุญกันเหมือนเดิม ไว้รอให้ผมผ่านช่วงยุ่งๆ สองสามเดือนนี่ก่อนก็จะเข้ามาเหมือนเดิมสาเหตุเพราะช่วงนี้มีหลายงานเข้ามามากจริงๆ แต่ที่ไม่ได้ขาดเลยคือการใส่บาตรและนั่งสมาธิประจำวัน วันนี้ก็ใส่บาตรพระสงฆ์ไป 4 รูป ในวันเสาร์ห้า วันแห่งความร้อนแรงของการปลุกเสกเครื่องรางของขลัง ที่ฤกษ์ดีมีเพียงก่อน 10 โมง หลังจากนั้นเป็นโจโรฤกษ์ ที่วัตถุมงคลที่ทำมาในฤกษ์นี้มักต้องมีสิ่งแลกเปลี่ยน คือไม่ให้ฟรีๆ ดีน๊ะที่บางอย่างข้อแลกเปลี่ยนมันไม่ลงตัว ไม่งั้นเดือดร้อนทั้งเมืองแน่ แต่หากมีใครบางคนที่มีทิพจักขุญาณที่ดีๆ ก็จะรู้ว่าก่อนจะถึงวันนี้สักสองสามวันที่ผ่านมา เป็นวันเย็นของประเทศไทย เป็นวันที่มีพระภิกษุสงฆ์ที่ยังมีชีวิตอยู่ท่านได้บรรลุทั้งญาณอภิญญาและธรรมะขั้นสูงสุดเพิ่มขึ้น 1 องค์แล้ว ขนาดพระสงฆ์องค์เจ้าที่เก่งๆ หรือฆราวาสที่สำเร็จแล้ว ยังต้องอุทาน เทวดาฟ้าดินยังโมทนา ทำให้ฝนตกตามที่ต่างๆ รวมทั้งแผ่นดินไหวสะเทือนที่พม่าเมื่อวันก่อน ก็เพราะว่าท่านอยู่แถบนั้นนั่นเอง รอครับ รออีกสามปีตามวาระ จะพาไปกราบกันให้ได้ทุกคนสำหรับสมาชิกในทุนนิธิฯ นี้ ในวันนี้ขออนุโมทนากับทุกท่านอีกครั้ง สำหรับสมาชิกประจำ และเตรียมได้รับของแจกจากผมอีกครั้งสำหรับสมาชิกทุกท่าน ยังไม่บอกว่าเป็นอะไร ไว้รอสัปดาห์หน้าเตรียมส่งชื่อพร้อมที่อยู่ทาง pm มาหาผมได้เลยครับ แจกฟรี ครับแจกฟรี แต่เป็นของดีที่มีค่าควรเก็บไว้กับตัวครับ ผมคัดเลือกไว้ให้แล้วด้วยความยินดีเป็นที่สุดจริงๆ

    [​IMG]
     

แชร์หน้านี้

Loading...