ร่วมกันต่อภาพประวัติศาสตร์ชาติไทยที่หายไปที่วัดวรเชษฐ์

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย ธัมมนัตา, 23 กันยายน 2007.

  1. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,915
    ค่าพลัง:
    +6,434
    ขออนุโมทนาค่ะ
     
  2. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,915
    ค่าพลัง:
    +6,434
    วัดวรเชษฐ์ ปรากฏในหลักฐาน วัน วลิต เรียกวัดนี้ว่า Boeretiet

    เจอข้อมูลเพิ่มเติม วัน วลิต บันทึกในจดหมายเหตุ ในปี 1636 หรือ พ.ศ. ๒๑๗๙ ในวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. ๒๑๗๙ ดังนี้​

    อ้างอิง:



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">10 December 1636

    On 10 December of the year 1636



    the Junior Merchant Reynier van Tsum and the

    Assistants Isaac Moerdijck, Joost Laurentsz, Jan Hart, Guiliaem uyt de Hove, Harman van Tetrode, Dirck van der Veen, Daniel Jacobsz Blijswijck, Jacob Woutersz Barbier, as well as the steward Gerrit Gerritsz, a white boy and two blacks, went sailing in a prao in order to behold the beauty of the rice-fields and also to take a little pleasure. [They went on this outing] with my permission because for several months, on Sundays as well as on weekdays, we had all been very busy and this day just happened to be a quiet one. But due to wilfulness or wanton thoughtlessness of the Assistants Joost Laurentsz and Daniel Jacobsz, as well as the carelessness of the rest of the party (God improves),




    this day of merriment ended in great sadness because, before the day was done, the entire party found itself in mortal danger, while those of us who had stayed in the lodge were also in peril, as will become apparent from the account that follows. The aforementioned persons went to Boeretiet2 (one of the three principal temples in and around the city), which is situated on the other side of the river, a short distance inland, right opposite the Prince’s palace.








    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    สรุปเรื่องคือ ฝรั่งชาติฮอลันดาจำนวน 12 คนตามชื่อที่ปรากฏในบันทึก เป็นลูกจ้างบริษัทการค้าของฮอลันดา ซึ่งทำงานหนักตลอดปีแม้กระทั่งวันอาทิตย์ แต่ว่าตามธรรมเนียมฝรั่งจะมีตรุษฝรั่ง จึงมี่วันหยุดพอให้ได้พักผ่อนกัน พวกเขาทั้งสิบสองคนจึงจัดอาหารออกไปปิคนิคนอกสถานที่ เพื่อจะได้กินดื่มกันอย่างเต็มที่ โดยไปนั่งที่ริมตลิ่งในบริเวณวัดวรเชษฐ์ ซึ่งเป็นวัดที่อยู่ตรงข้ามกับวังเจ้าชาย (ถ้าคนศึกษาแผนที่กรุงศรีอยุธยาโบราณจะทราบว่า วังหลัง ซึ่งปัจจุบันไม่เหลือซากแล้ว อยู่ตรงข้ามกับวัดวรเชษฐ์โดยอยู่กันคนละฝั่งแม่น้ำ) ​

    ในจดหมายเหตุวัน วลิต เขียนว่า Boeretiet ตัววัดอยู่ห่างจากริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาเข้าไปหนึ่งกิโลเมตร ​

    พอจะเป็นหลักเป็นฐานได้หรือไม่ว่า วัดนี้เรียกว่า วัดวรเชษฐ์ มาตั้งแต่อย่างน้อยสมัยพระเจ้าปราสาททอง เพราะบันทึกนี้บันทึกในช่วงเวลาที่ตรงกับสมัยของพระองค์​

    ข้อมูลนี้คงนำไปยืนยันว่าวัดใช้ชื่อนี้มานานมากแล้ว​

    อ้างอิงและอ่านบันทึก The Dutch in Siam: Jeremias van Vliet and the 1636 Incident at Ayutthaya จาก



    <!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 มีนาคม 2010
  3. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,915
    ค่าพลัง:
    +6,434
    [​IMG]


    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">
    The Berckelang further told me that the King had ordered him most earnestly to impress upon me the following, ‘That the offences that these Netherlanders had committed had been very serious. They had lingered at Boeretiet against the will of the Religious, even though Boeretiet is one of the holiest temples in Siam, a temple frequented by the King himself, who often goes there to pray and to make offerings both to the temple itself and to the Religious. In addition, when these Netherlanders saw that the Prince’s slaves were kicking one of their companions and were taking him to the palace, they had tried to free him. They should have known that only the King’s Mandarins and slaves may enter the palace. For all these reasons, they had aroused the King’s wrath, which had put them in mortal danger. If one of the King’s greatest Mandarins had committed crimes of comparable severity, His Majesty most certainly would have punished him with death, irrespective of any attempt to intercede on his behalf.’​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    พระเจ้าปราสาททองทรงเสด็จที่วัดวรเชษฐ์บ่อยเพื่อทนุบำรุงพระอารามและพระศาสนา แสดงว่าน่าจะเป็นวัดที่พระเจ้าแผ่นดินเสด็จไปเสมอๆมาแต่ไหนแต่ไรแล้วใช่ไหมคะ


    ดังนี้แล้ววัดที่พระเจ้าแผ่นดินเสด็จเสมอๆ จะไม่มีความสำคัญได้อย่างไร


    Boeretiet is one of the holiest temples in Siam วัดวรเชษฐ์เป็นหนึ่งในวัดที่คนเคารพศรัทธามากที่สุดในสยามค่ะ


    ข้อมูลจากอีกบทความหนึ่งเขียนโดยสรุปโดยใช้ชื่อเรื่องว่า 12 Dutchmen Drunk On Chao Phya River, Stories of Siam ความตอนหนึ่งกล่าวถึงวัดวรเชษฐ์ดังนี้


    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">In total, he wrote four books about Siam, where he lived for nine years between 1633 and 1642. Apart from the “Diary of the Picnic Incident” (1636-37), the other three books are, “Description of the Kingdom of Siam” (1638), “Short History of the Kings of Siam” (1640) and the “Historical Account of King Prasat Thong” (1640). They are now available in a handsome volume called “Van Vliet’s Siam”. Chris Baker, Dhiravat Na Pombejra, Alfons van der Kraan and David K Wyatt teamed up to compile and edit all of van Vliet’s writings, which have shed light on the modern-day understanding of the life and times of the middle period of Ayutthaya. The volume is published by Silkworm Books. </TD></TR></TBODY></TABLE>
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">
    Over the weekend, the History Society held a special seminar and invited Baker and Dhiravat to talk about the book. Baker, who speaks fluent Thai with his Cambridge accent, said he believed the picnic incident took place at Wat Worachet, which van Vliet called Boeretiet. This temple is located outside the moat surrounding the Ayutthaya capital and is about one kilometre to the west. Baker has visited Ayutthaya several times to survey the site.

    Baker viewed van Vliet as a very educated person, who not only excelled in commerce but also had a good knowledge of history and the classics.
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    ข้อมูลชัดเจนวัดวรเชษฐ์ Wat Worachet ที่วัน วลิตเขียนเป็น Wat Boeretiet ตั้งอยู่นอกเกาะเมืองทางด้านทิศตะวันตก ตัวพระอารามห่างจากแม่น้ำเจ้าพระยา 1 กิโลเมตร

    12 Dutchmen Drunk On Chao Phya River - Thailand Forum
    <!-- google_ad_section_end -->
     
  4. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,915
    ค่าพลัง:
    +6,434

    พระรัตนมหาธาตุที่พระเจ้าอู่ทองทรงสร้างน่าจะเป็นเจดีย์ทรงพระปรางค์

    คล้ายกับที่ทรงสร้างวัดพุทไธสวรรย์ ซึ่งสร้างในปี พ.ศ. ๑๘๙๖

    ในอีกสี่ปีต่อมา คือปี พ.ศ. ๑๙๐๐ ทรงสร้างวัดป่าแก้ว สร้างแบบพระรัตนมหาธาตุ

    คงจะคล้ายกับทรงพระปรางค์วัดพุทไธสววรย์

     
  5. hi5

    hi5 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    352
    ค่าพลัง:
    +701
    สารน์จาก ทหารเอกพระโพธิสัตว์..
    ชาวเหนือ และชาวอิสาน จงเปลี่ยนมา
    สนับสนุน คนดีมี ศีล ๕ ให้ปกครองบ้านเมือง เป็นการแก้กรรม
    และเป็นเหตุ เป็นผล ที่จะทำให้คุณภาพชีวิต ของทุก ๆ คนจะดีขึ้น
    การรักษาบ้านเมืองให้มีศีล ๕ การทำมาหากินก็คล่อง
    ไม่ต้องกลัวผู้มีอิทธิพล ไม่ต้องเสียค่าคอมมิสชัน ผลลัพธุ์สุดท้ายเศรษฐกิจของทุกคนก็ดี
    เหตุ ผล ก็มาจากความพอเพียง
    เศรษฐกิจพอเพียง คือ
    การดำเนินกิจการงานทุกอย่างบนหลักศีล ๕ พรหมวิหาร ๔

    กรรมาธิปไตย ไม่มีใครใหญ่เกินกรรม
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 มีนาคม 2010
  6. ธัมมนัตา

    ธัมมนัตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    1,514
    ค่าพลัง:
    +9,766
    เชิญชมภาพมุมอื่น ที่วัดนี้
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  7. ธัมมนัตา

    ธัมมนัตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    1,514
    ค่าพลัง:
    +9,766
    ภาพวัดวรเชษฐ์ ในมุมอื่น

    (ส่วนพระรูปสมเด็จพระนเรศวรไม่ได้ตั้งอยู่ที่นี่)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Worachet plaster.jpg
      Worachet plaster.jpg
      ขนาดไฟล์:
      476.2 KB
      เปิดดู:
      111
    • Pra Naresauan1.jpg
      Pra Naresauan1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      287.8 KB
      เปิดดู:
      107
    • CIMG1146.jpg
      CIMG1146.jpg
      ขนาดไฟล์:
      661.6 KB
      เปิดดู:
      113
    • CIMG1154.JPG
      CIMG1154.JPG
      ขนาดไฟล์:
      578 KB
      เปิดดู:
      141
    • CIMG1155.JPG
      CIMG1155.JPG
      ขนาดไฟล์:
      571.3 KB
      เปิดดู:
      113
    • CIMG1157.JPG
      CIMG1157.JPG
      ขนาดไฟล์:
      590.5 KB
      เปิดดู:
      112
    • CIMG1160.JPG
      CIMG1160.JPG
      ขนาดไฟล์:
      581.9 KB
      เปิดดู:
      119
    • CIMG1151.JPG
      CIMG1151.JPG
      ขนาดไฟล์:
      646.6 KB
      เปิดดู:
      102
    • CIMG1152.JPG
      CIMG1152.JPG
      ขนาดไฟล์:
      570.8 KB
      เปิดดู:
      123
    • CIMG1226.JPG
      CIMG1226.JPG
      ขนาดไฟล์:
      518.9 KB
      เปิดดู:
      104
    • CIMG1162.JPG
      CIMG1162.JPG
      ขนาดไฟล์:
      572.8 KB
      เปิดดู:
      112
    • CIMG1161.JPG
      CIMG1161.JPG
      ขนาดไฟล์:
      591 KB
      เปิดดู:
      112
    • CIMG1156.JPG
      CIMG1156.JPG
      ขนาดไฟล์:
      600.2 KB
      เปิดดู:
      95
  8. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,915
    ค่าพลัง:
    +6,434
    ภาพร่างแผนที่ฝั่งตะวันตกของอยุธยา ลายมือหมอแกมเฟอร์

    หมอแกมเฟอร์เข้าเขตเมืองไทยเมื่อวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ค.ศ. ๑๖๙๐ หรือพ.ศ. ๒๒๓๓ สมัยพระเพทราชา กลับออกไปวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ค.ศ. เดียวกัน ระยะเวลาที่ท่านอยู่ในบ้านเมืองไทย แม้จะน้อยเพียง ๒ เดือน (๕๗ วัน)

    ในวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. ๒๒๓๓ หมอแกมเฟอร์ได้เดินทางท่องเที่ยวรอบๆกรุงศรีอยุธยา ไปที่เจดีย์ภูเขาทองและร่างภาพไว้

    ที่สำคัญก็คือได้ร่างภาพของวัดวรเชษฐ์ไว้ จะสังเกตุเห็นวัดวรเชษฐ์อยู่ทางฝั่งตะวันตกและเห็นแนวถนนโบราณด้วย

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 มีนาคม 2010
  9. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,915
    ค่าพลัง:
    +6,434
    วัดป่าแก้วแห่งกรุงศรีอยุธยา

    วัดวรเชษฐ์(นอกเกาะ) แต่เดิมนั้นชื่อว่าวัดป่าแก้ว ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อเป็นวัดป่าแก้วแห่งกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระเจ้าอู่ทองผู้สถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นผู้ทรงสร้างขึ้นในปีพ.ศ. ๑๙๐๐ โดยสร้างพระปรางค์ (รัตนมหาธาตุ)เป็นเจดีย์ประธานของวัด คล้ายกับที่สร้างพระปรางค์(รัตนมหาธาตุ)ไว้ที่วัดพุทไธศวรรย์ โดยสร้างวัดนี้ตามรูปแบบผังของการสร้างวัดสมัยอยุธยาตอนต้นเหมือนกันทั้งสองวัด เมื่อครั้งพระเจ้าอู่ทองมาสร้างกรุงนั้นทรงประทับที่เวียงเล็ก(เวียงเหล็ก)ซึ่งเป็นบริเวณวัดพุทไธศวรรย์เดิม เมื่อทรงย้ายราชธานีเข้ามาในเกาะเมืองแล้วจึงทรงสร้างพระปรางค์วัดพุทไธศวรรย์บนที่ประทับเดิมในปี พ.ศ. ๑๘๙๖ ต่อมาทรงเริ่มสร้างพระบรมมหาราชวังแล้วจึงสร้างวัดป่าแก้วประจำกรุงศรีอยุธยา โดยวัดป่าแก้วนี้สร้างหลังจากสร้างวัดพุทไธศวรรย์ได้ไม่นาน
    <O:p</O:p
    ลักษณะเด่นของแผนผังการสร้างวัดในสมัยพระเจ้าอู่ทองหรือสมัยอยุธยายุคต้นคือ
    <O:p</O:p
    ๑ พระเจดีย์ประธานของวัดเป็นพระปรางค์ แบบแผนการสร้างวัดในยุคต้นนั้นวางตำแหน่งสิ่งก่อสร้างหลักของวัดไว้โดยระเบียบเด่นชัดคือเจดีย์ประธานซึ่งนิยมสร้างเป็นทรงปรางค์มีระเบียงคตล้อมพื้นที่ และจากบันทึกพงศาวดารกล่าว่า สมเด็จพระรามาธิบดีทรงสร้างพระรัตนมหาธาตุไว้ที่วัดป่าแก้ว คำว่าพระรัตนมหาธาตุอาจเป็นศัพท์เฉพาะที่ใช้เรียกรูปแบบพระเจดีย์ทรงพระปรางค์ ซึ่งดูได้จากของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรวิหาร กรุงสุโขทัย พระปรางค์ประธานของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จ.พิษณุโลก พระปรางค์ประธานของวัดไชยวัฒนาราม ซึ่งเรียก รัตนมหาธาตุ เช่นเดียวกันหมด

    <O:p</O:p๒ เขตพุทธาวาสทั้งหมดจะตั้งอยู่บนฐานไพที ฐานไพทีนี้เป็นลักษณะเฉพาะของแผนผังการสร้างวัดในยุคต้นกรุงศรีอยุธยา โดยสร้างรองรับเขตพุทธาวาสทั้งหมด ที่วัดวรเชษฐ์(นอกเกาะ)นั้นเขตพุทธาวาสก็อยู่บนฐานไพทีเช่นเดียวกับที่วัดพุทไธศวรรย์ แต่ที่วัดวรเชษฐาราม(ในเกาะ)มิได้สร้างพระเจดีย์ไว้บนฐานไพที

    <O:p</O:p
    ๓ พระอุโบสถจะอยู่ด้านตะวันตกของพระปรางค์ประธาน โดยแผนผังการสร้างวัดยุคต้นนี้จะมีแบบแผนการสร้างพระวิหารหลวงไว้ตะวันออก ท้ายวิหารหลวงล้ำแนวระเบียงคตเข้ามาในบริเวณของเจดีย์ประธาน ส่วนด้านตะวันตกของระเบียงคตคืออุโบสถด้านหน้าของอุโบสถจึงอยู่ทางตะวันตก และมักก่อขนาดเล็กกว่าวิหารหลวง ทั้งวัดพุทไธศวรรย์และวัดวรเชษฐ์ ต่างมีพระอุโบสถอยู่ทางด้านทิศตะวันตกของพระปรางค์ประธานทั้งสองวัด ซึ่งทำให้เชื่อได้ว่าสร้างในยุคสมัยเดียวกัน

    <O:p</O:p
    ส่วนเจดีย์วัดใหญ่ชัยมงคลนั้น สันนิษฐานว่าเจดีย์องค์เดิมที่บัดนี้ถูกครอบอยู่ด้วยเจดีย์องค์ใหญ่ทีเห็นอยู่ในปัจจุบัน เจดีย์องค์เล็กด้านในนั้นน่าจะสร้างในสมัยทวารวดี โดยสังเกตุรูปแบบเจดีย์ที่นิยมสร้างในสมัยทวารวดีที่เด่นชัดเห็นได้จาก พระปฐมเจดีย์ ซึ่งสร้างครอบเจดีย์องค์เดิมเช่นกัน เจดีย์วัดใหญ่ชัยมงคลจึงไม่น่าจะเป็นเจดีย์ที่สร้างขึ้นโดยสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง และสันนิษฐานว่าวัดใหญ่ชัยมงคลมิใช่วัดป่าแก้วแห่งกรุงศรีอยุธยาที่สมเด็จพระเจ้าอู่ทองทรงสร้างขึ้นเมื่อปีพ.ศ. ๑๙๐๐

    <O:p</O:p
    จากการศึกษาของ น ณ. ปากน้ำที่กล่าวว่า

    “ธรรมเนียมการสร้างวัดป่าแก้วที่อยู่ในเขตอรัญญิกนั้นล้วนอยู่นอกกำแพงเมืองทางด้านทิศตะวันตกของตัวเมืองใหญ่ทั้งสิ้น และสำหรับวัดป่าแก้วเขตอรัญญิกของอยุธยาปัจจุบันทราบกันว่าแท้จริงแล้วว่า คือ วัดหนึ่งที่ถูกปล่อยให้รกร้าง และเรียกว่าวัดประเชด หรือชื่อ วัดวรเชษฐ (นอกเกาะ) ตั้งอยู่กลางทุ่งประเชดทางทิศตะวันตกนอกกำแพงเมือง ด้านวังหลัง ออกไปประมาณ ๔ กิโลเมตร

    <O:p</O:pและยืนยันความเป็นวัดป่าแก้วเมื่อสงครามเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ที่พระยาเพชรบุรี(เรือง)ยกกองทัพเรือออกจากกรุงไปรับศึกพม่าทางน้ำ ยกไปตั้งที่วัดป่าแก้วแสดงว่าวัดป่าแก้วต้องมีอาณาเขตถึงแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อตั้งกองบัญชาการกองทัพเรือได้สะดวก วัดใหญ่ชัยมงคลไม่มีชัยภูมิติดแม่น้ำเจ้าพระยาแต่วัดวรเชษฐ์นั้นมีทั้งถนนโบราณและชัยภูมิติดแม่น้ำเจ้าพระยา วัดป่าแก้วที่พระยาเพชรบุรี (เรือง) ยกออกมารับศึกพม่านั้นควรจะหมายถึง วัดวรเชษฐ์(นอกเกาะ)

    <O:p</O:pจากหลักฐานด้านเจดีย์ทรงปรางค์ ฐานไพทีและแผนผังการสร้างวัดในยุคต้นกรุงศรีอยุธยาเป็นข้อสนับสนุนความเห็นของ น ณ.ปากน้ำและวัดป่าแก้วที่พระยาเพชรบุรีตั้งทัพเรือรับมือข้าศึก เป็นข้อสนับสนุนได้เป็นอย่างดีว่าวัดวรเชษฐ์เป็นวัดป่าแก้วแห่งกรุงศรีอยุธยา<O:p</O:p
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 เมษายน 2010
  10. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,915
    ค่าพลัง:
    +6,434
  11. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,915
    ค่าพลัง:
    +6,434
    [​IMG]

    กรมศิลปากรให้ชื่อวัดว่า วัดวรเชตเทพบำรุง ที่จริงต้องชื่อว่า วัดวรเชษฐ์ เพราะว่าวัดนี้ใช้ชื่อนี้มาหลายร้อยปีแล้วค่ะ

    อุโบสถของวัดวรเชษฐ์จะอยู่ทิศตะวันตกของพระปรางค์เหมือนกันกับอุโบสถวัดพุทไธศวรรย์
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  12. ดอนdon

    ดอนdon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    1,580
    ค่าพลัง:
    +3,291
    ขออนุโมทนา สาธุครับผม<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --> สวยดี น่าติดตาม
     
  13. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,915
    ค่าพลัง:
    +6,434
    ความสำคัญที่สองของวัดวรเชษฐ์ก็คือเป็นวัดที่สมเด็จพระเอกาทศรถทรงสร้างหรืออาจจะทรงซ่อมและสร้างถาวรวัตถุอื่นเพิ่ม (เพื่อเป็นสถานที่ถวายพระเพลิงสมเด็จพระนเรศวรมหาราช) ในยุคสมัยของการสร้างพระปรางค์ยุคแรกๆนั้นคงใช้เทคนิควิธีเหมือนกัน เช่นวัดมหาธาตุที่สร้างโดยพระราเมศวรในปีพ.ศ. ๑๙๒๗ ยอดพระปรางค์วัดมหาธาตุทะลายลงมาในรัชสมัยของพระเจ้าทรงธรรม(ครองราชย์ พ.ศ. ๒๑๕๕-๒๑๗๑) อายุของพระปราค์ก่อนจะทลายคงราว ๒๒๘ – ๒๔๔ ปี ดังนั้นพระปรางค์วัดวรเชษฐ์ที่สร้างในปี พ.ศ. ๑๙๐๐ ก็มีโอกาศทลายลงได้ในราวปี พ.ศ. ๒๑๒๘- ๒๑๔๔ สมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชาและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ซึ่งคงมีงานบูรณะพระเจดีย์เกิดขึ้นในสมัยของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชหรือสมเด็จพระเอกาทศรถ เพราะพระปรางค์วัดวรเชษฐ์เป็นรูปแบบที่พัฒนามาจากพระปรางค์สมัยอยุธยาตอนต้นโดยซุ้มทิศทั้ง ๔ ด้าน เริ่มยื่นออกมาจากเรือนธาตุมากกว่าปรางค์ระยะแรกรูปแบบของพระปรางค์ดังกล่าวน่าจะให้อิทธิพลต่อการก่อสร้างพระปรางค์วัดไชยวัฒนารามซึ่งสร้างขึ้นเมื่อพ.ศ.๒๑๗๓ ในเวลาต่อมา
    <O:p</O:p
    ๑. แนวถนนโบราณนอกพระนครสายเดียวมีปรากฏในแผนที่หมอแกมเฟอร์ซึ่งเข้ามาในสมัยสมเด็จพระเพทราชา แสดงว่าถนนนี้มีมาก่อนสมัยสมเด็จพระเพทราชา แสดงถึงความสำคัญของวัดวรเชษฐ์ อันอาจจะเป็นถนนเพื่อการเสด็จพระราชดำเนินของกษัตริย์และพระราชวงศ์ในสมัยโบราณ
    <O:p</O:p
    ๒. ศิลปปูนปั้นประดับเจดีย์ทรงปราสาทยอดของวัดเป็นศิลปะที่เกิดขึ้นในสมัยราชวงศ์หมิง อันได้แก่ลายกลีบบัวมีไส้ และช่องกระจกย่อมุมไม้สิบสอง โดยเฉพาะช่องกระจกย่อมุมไม้สิบสอง
    [​IMG]

    ศิลปะย่อมุมไม้สิบสองเกิดขึ้นหลังปี พ.ศ. ๒๐๗๘ ที่พระราชวังต้องห้าม ศิลปะการสร้างเก๋งจีนย่อมุมไม้สิบสองในสวนหลังวัง ในพระราชวังหลวงกรุงปักกิ่งตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราช
    [​IMG]

    คาดว่าการสร้างพระเจดีย์ทรงปราสาทยอดในวัดวรเชษฐ์จะต้องสร้างหลังจากรัชสมัยของสมเด็จพระไชยราชาธิราช หรือหลังปี พ.ศ.๒๐๗๘ ไปแล้วจึงได้นำอิทธิพลรูปแบบการก่อสร้างแบบย่อมุมไม้สิบสองจากจีนมาใช้เป็นลวดลายประดับเจดีย์ ซึ่งเป็นหลักฐานว่าเจดีย์องค์นี้น่าจะถูกสร้างขึ้นในสมัยอยุธยายุคกลาง หรืออาจจะในสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ
    <O:p</O:p
    ๓. การสร้างพระปรางค์ประธานได้รับการบูรณะใหม่ และพระเจดีย์ต่างๆในวัดวรเชษฐ์นั้นถูกสร้างและถูกบูรณะในสมัยยุคกลาง แต่แผนผังวัดยังคงเดิมตามแบบแผนของวัดในสมัยยุคต้นที่สมเด็จพระเจ้าอู่ทองทรงสร้างและทรงตั้งวัดนี้ให้เป็นวัดป่าแก้วแห่งกรุงศรีอยุธยา<O:p</O:p
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 เมษายน 2010

แชร์หน้านี้

Loading...