ดาวหาง, อุกาบาต วัตถุนอกโลกที่คาดว่าจะเข้ามาในโลกช่วง ปีนี้ (2014)

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 7 มีนาคม 2013.

  1. Tossaporn K.

    Tossaporn K. เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,565
    ค่าพลัง:
    +7,747
    คุณ Falkman ครับ รูปหน้าคนเหมือนเป็นพวกฝรั่ง หรือ งานนี้ที่ยุคนไทยให้สู้กันรบกันเองเป็นฝีมือฝรั่ง ผมเดาว่าเป็นกลุ่มอีลูมิเนติ เฮ้อเศร้าครับ
     
  2. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    มีการสู้รบกันเอง ? ดูสีเสื้อคนขี่ม้า แดง เหลือง เขียว(ทหาร) ? มีไฟไหม้บ้านเรือน น่าจะหมายถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมาแล้ว ? รึว่าจะมีอีกรอบ ? แต่คนที่เฝ้าดูคนกำลังต่อสู้กันอยู่ข้างบนนั่น หน้าตาคุ้นมากๆเลย

    .
     
  3. kittapass

    kittapass เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    72
    ค่าพลัง:
    +257
    หน้าออกเหลี่ยมๆนะ

    ดูใบหน้า หน้าดูไบ
    มีรูปคอมพิวเตอร์ ต้องเกี่ยวกับวงการคอมพิวเตอร์ บริษัท ..วัตร คอมพิวเตอร์ แอนด์ ....จำกัด (มหาชน)555555555
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 กันยายน 2013
  4. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ดูนก ให้ดูขน
    ดูคน ให้ดูจมูก

    Wow .. ชัวร์ ล้าน %

    .
     
  5. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    อุกกาบาตทั้ง 2 ก้อนค้นพบเมื่อวันที่ 7 และ วันที่ 12 กย. และได้โคจรผ่านโลกเราไปแล้วครับ

    .
     
  6. natatik

    natatik เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มกราคม 2012
    โพสต์:
    873
    ค่าพลัง:
    +3,607
    ดูทหารที่อารักขา ข้างล่างซิ สีเทา!... กับสีอะไรน๊า?.....


    คุณ hiflyer เดี๋ยวนี้จมูกมันเสริมกันง่ายน่ะ ต้องดูที่คางอ่ะ มันทำยากหน่อย

    ปล. ขำ ๆ อย่าซีเรียส
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 กันยายน 2013
  7. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681

    สบายๆ คลายเครียดกับข่าวภัยพิบัติ 555

    แต่ผมว่า จมูกใหญ่ ปลายจมูกตก ซะขนาดนี้ ยังทำได้ด้วยหรอครับ 5555
    จริงๆแล้ว ศัลยกรรมทุกวันนี้ ทำได้ทุกอย่างเลย ถ้ามีเงิน และความอดทน

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 กันยายน 2013
  8. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    .
     
  9. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ตอนที่กำลังโพสต์นี้ 2013 RT73 กำลังจะผ่านโลกไปในเวลา 16:58 น. ครับ


    [​IMG]

    .
     
  10. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ดาวหางอีกดวง LoveJoy จะมาปรากฎบนฟ้าให้เห็นเวลาเดียวกับ ISON

    By Deborah Byrd in
    Blogs | Space on Sep 10, 2013

    Move over Comet ISON. A new Comet Lovejoy has arrived

    [​IMG]

    Australian amateur astronomer Terry Lovejoy has discovered a new comet. The new Comet Lovejoy will occupy the same part of the sky as Comet ISON by November 2013.

    Many are anticipating the brightening of Comet ISON, which is now in Earth’s predawn sky, not far from the bright planets Jupiter and Mars, but too faint to see without telescopes and/or photographic equipment. Read more about Comet ISON here. In the meantime, on September 9, 2013, noted comet discoverer Terry Lovejoy of Australia announced another new comet, bringing his total number of comet discoveries to four. The newest Comet Lovejoy will be in the same part of the sky as Comet ISON beginning in November. What a cool photo opportunity!

    [​IMG]

    The new comet has been formally labeled as C/2013 R1 Lovejoy. Terry Lovejoy apparently used a relatively small 8-inch (20 cm) Schmidt-Cassegrain reflecting telescope to photograph the new comet for two nights, as this faint object was located on the sky’s dome in front of the border between our constellations Orion and Monoceros.

    Read Terry Lovejoy’s own discovery story here.

    Now that the comet has been confirmed by other astronomers, amateur astronomers will be getting excited! Watch this space.

    [​IMG]

    Both Comet ISON and Comet Lovejoy are faint now. Both will get brighter. Unlike ISON, no one is expecting Comet Lovejoy to become visible to the eye alone. It might not be all that easy to spot through a telescope. So why the excitement? For sure, some will photograph the two comets together on the sky’s dome.

    By the way, there will actually be three comets visible in the sky together in early November. Comet Encke will be joining the crowd around then. Read more the “comet convoy” at Cumbrian Sky.

    [​IMG]

    Bottom line: Australian amateur astronomer Terry Lovejoy has discovered a new comet, his fourth. The new Comet Lovejoy will be in the same part of the sky as Comet ISON beginning around the start of November 2013. For those with the right equipment, it’ll be a great photo opportunity.
     
  11. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ตอนนี้ดาวหาง ISON มาได้ครึ่งทาง จากระยะที่ 1 ถึงระยะที่ 2 อีก 14 วันก็จะถึงวงโคจรของดาวอังคาร แล้วครับ แต่ก็ยังอยู่ห่างจากโลกเรา 383 ล้าน กม.

    [​IMG]

    .
     
  12. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ลองติดตามดูได้เลย เพราะ 1 ตุลา จะเข้าใกล้ดาวอังคารที่สุด
    แล้วดูว่าดาวอังคารจะมีอะไรเกิดขึ้นไหม... :cool:
     
  13. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ต้องรอดูของจริงเลยครับ ว่าทั้งหัว ลำตัวและหางจะขนาดไหน และด้วยระยะ 10 ล้าน กม. ( 0.06 AU ) จะมีผลต่อดาวอังคารอย่างไร เพราะเท่าที่รู้เส้นผ่านศูนย์กลางนิวเคลียส ประมาณ 5 กม.


    [​IMG]


    .
     
  14. AmpeerA

    AmpeerA เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,248
    ค่าพลัง:
    +900
    จองที่นั่งดูเรื่องตื่นเต้นด้วยคนจร้าาาา

    "เขาว่า"....ไอ้ศร มีสามขาคงได้เห็นจะๆเร็วๆนี้เนอะ
     
  15. AmpeerA

    AmpeerA เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,248
    ค่าพลัง:
    +900
    นี่ถ้าพี่จีนจับภาพได้จริงอย่างที่เห็น
    ไม่ต้องไปดู ซีม่า เอ๊ย ฟีม่า ไรหรอก
    ดูอาเจ็กแถวๆนี้ น่าจะได้น้ำยากว่า

    <iframe width="640" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/GEcf8Bb3n-U?feature=player_detailpage" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>
     
  16. AmpeerA

    AmpeerA เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,248
    ค่าพลัง:
    +900
    สุดหล่อข้างล่างพูดถีง "ความน่าจะเป็น"
    ว่า...ไม่น่าเป็นไปได้ที่ พี่จีนจะเจ๋งกว่าฮับเิบิลเมกา
    ที่ส่งดาวเทียมออกไปล่วงหน้าหลายเดือน
    เพื่อดักจับภาพ ไอ้ศร ได้อย่างชัดเป๊ะ เยี่ยงนี้

    <iframe width="640" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/QVIcVRAWrzo?feature=player_detailpage" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>
     
  17. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    เคยพูดถึงแล้วในความเห็น # 111 ดาวเทียมจีนเป็นดาวเทียมสื่อสาร ไม่มีกล้องโทรทรรศ์อวกาศ แต่อย่างใด และภาพที่เห็นเป็น Computer Graphic

    Tianlian I - Wikipedia, the free encyclopedia

    แหล่งต้นกำเนิดของวีดีโอยูทูปเรื่องนี้ มาจาก BPEarthWatch

    <iframe width="640" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/tazaW9C2O44?feature=player_detailpage" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>


    ซึ่งมีผลงานหลายครั้ง ปี 2011 เรื่อง Comet Elenin ปี 2012 เรื่อง เกี่ยวกับปฏิทินชาวมายาและวันสิ้นโลก และคาดว่าปีหน้า ก็คงมีเรื่องใหม่ขึ้นมาอีกเช่น ดาวหาง C/2013 A1 ชนดาวอังคาร

    BPEarthWatch เป็นเวบขายของ อุปกรณ์เกี่ยวกับภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ

    .
     
  18. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    กลางเดือนตุลาคมนี้ รอฟังข่าวว่า แจ็คพอตจะหล่นทับใคร !!!!

    ยาน Sleek GOCE ที่โคจรรอบโลกในระดับที่ต่ำมาก (ขอบบนสุดของชั้นบรรยากาศโลก) หลังเสร็จสิ้นภาระกิจ 4 ปีและเชื้อเพลิงได้หมดลง ช่วงที่ถูกแรงโน้มถ่วงดึงเข้าสู่บรรยากาศชั้นต่ำ ยานฯจะแตกกระจายเป็นเสี่ยงๆและลุกไหม้ คาดว่าจะมีเพียง 20% ที่หลงเหลือและร่วงลงบนพื้นโลก แม้โอกาสที่จะสร้างความเสียหายไม่มาก ( พื้นที่ผิวโลก 2 ใน 3 ส่วน เป็นมหาสมุทรและที่ไม่มีผู้คนอาศัย ) แต่ถ้าถึงคราวเคราะห์ก็คงห้ามไม่ได้

    [​IMG]

    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]

    .
     
  19. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    COMET ISON: Comet ISON is still more than two months away from its spectacular close encounter with the sun. Amateur astronomers aren't waiting. The brightening comet has become a good target for backyard telescopes in the pre-dawn sky and pictures of the comet are pouring in. Last night, Chris Schur captured this image from his home observatory in Payson, Arizona:

    [​IMG]

    "This 25 minute exposure shows the comet through a 12 inch telescope," says Schur. "The image has sharp focus, perfect tracking and the star trails are unbroken and smooth. A nearby star added to the nice composition."

    At the moment, ISON is too dim for the naked eye--"I estimate the comet's magnitude to be +12.5," says Schur--but it is on track to become an impressive sungrazer. For comparison, Comet ISON is brighter than Comet Lovejoy was in 2011 at a similar distance from the sun. The fact that Comet Lovejoy turned into a spectacular sungrazer bodes well for the performance of Comet ISON.

    Observers of Comet ISON will notice that it is in the same part of the sky as Mars.
    The comet will make a close approach to the Red Planet on October 1st, and during that time Mars satellites will be taking ISON's picture at point blank range. Those images will likely rival or improve upon the view from Earth. Stay tuned to the Comet ISON Photo Gallery for updates from both planets.

    SpaceWeather.com -- News and information about meteor showers, solar flares, auroras, and near-Earth asteroids

    ดาวหาง ISON เริ่มสว่างขึ้นเรื่อยๆ แล้ว ดูได้จากกล้องดูดาว แต่ยังไม่สว่างพอที่จะเห็นได้ด้วยตาเปล่า แต่วันที่ 1 ตุลาคม ลองสังเกตท้องฟ้า ตรงดาวอังคารอาจจะเห็นดาวหางอยู่ข้างๆ
     
  20. maxttdcv

    maxttdcv เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2011
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +760
    Piyacheep S. Vatcharobol
    นักวิทยาศาสตร์รัสเซียและยุโรปพบว่า ดาวหางไอซอน ขยับวงโคจรใหม่ เปลี่ยนแนวไปจากเดิม
    ให้ผ่านดวงจันทร์ของดาวอังคาร Phobos อย่าแปลกประหลาด (ดั่งยานอวกาศที่สามารถปรับแนวการบิน และวงโคจรได้)

    และเขาขมวดสรุปท้ายว่า ดาวหางไอวอน ไม่ใช่ก้อนน้ำแข็งสกปรกแน่นอน
    แต่เป็นวัตถุบางอย่างในขอบพรหมแดนอวกาศ ที่อยู่การควบคุมของยอดอัฉริยะ
    ที่จะไปปฏิบัติการบางอย่างกับดวงจันทร์ของดาวอังคารที่ไม่สามารถอธิบายได้

    คอยจับตาวันที่ ๑ ตุลาคมนะครับ
    บรรพบุรุษของฟาโรห์จะกลับมาตามศิลาจารึกที่ค้นพบหรือไม่?

    This ROSCOSMOS report summarizes its findings by stating that it “cannot be ruled out of theory” that Comet ISON is not a “dirty ice-ball” comet at all, but may, in fact, be an interstellar object under intelligent control on a mission to Phobos for as an yet unexplained mission.

    Experts Puzzled After Great Comet Makes Mars Orbital �Adjustments�
    [​IMG]
     

แชร์หน้านี้

Loading...