เบญจภาคี ภ.ป.ร. เฉลิมพระเกียรติ ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีอีกพระดีของในหลวง

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย joni_buddhist, 28 พฤศจิกายน 2007.

  1. joni_buddhist

    joni_buddhist Legal returns ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กันยายน 2005
    โพสต์:
    13,555
    กระทู้เรื่องเด่น:
    203
    ค่าพลัง:
    +63,444
    ชุดเบญจภาคี ภ.ป.ร. เฉลิมพระเกียรติ ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี
    (Benjapakee P.P.R)


    <TABLE class=Fixfont height=384 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=553 align=center border=0><TBODY><TR><TD width=563 height=336>
    [​IMG][​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    วัตถุประสงค์ในการจัดสร้าง

    1. เพื่อนำรายได้ถวายโดยเสด็จพระราชกุศลตามพระราชอัธยาศัย
    2. เพื่อจัดสร้างอาคารเรียน จัดหาอุปกรณ์การศึกษาวิทยาลัยการอาชีพ วังไกลกังวล เฉลิมพระเกียรติวิทยาเขตชะอำ
    3. เพื่อจัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมวิชาชีพด้านสารสนเทศ และเทคโนโลยีการสื่อสารสำหรับประชาชนทั่วไปรวมทั้งหน่วย
    งานภาครัฐและภาคเอกชน
    4. เพื่อเป็นศูนย์ผลิตรายการโทรทัศน์ และสื่อการศึกษาสำหรับบริการหน่วยงานภาครัฐและเอกชน สนับสนุนการศึกษา
    ุชุมชน แก้ไขปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน และยกระดับมาตรฐานฝีมือแรงงาน


    <HR style="COLOR: orange" align=right width="100%" SIZE=1 hr>ปฐมเหตุการจัดสร้าง

    ในปี พ.ศ.2530 ได้รับพระราชดำริจากสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ให้จัดตั้งโรงเรียนสารพัดช่างวังไกล
    กังวลขึ้น ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
    ในปี พ.ศ.2542 นางปรียา ฉิมโฉม คหบดี อ.ชะอำ จ.ประจวบฯ ได้น้อมเกล้าฯ ถวายที่ดินบ้านหนองจันทร์ ตำบลเขา
    ใหญ่ อำเภอชะอำ จังหวัดประจวบฯ ขนาดพื้นที่ 27 ไร่ 1 งาน 68 ตารางวา แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระองค์ท่านได้
    พระราชทานที่ดินผืนนี้ แก่มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เพื่อให้ประโยชน์ด้านการศึกษา นายขวัญแก้ว วัชโรทัย ประ-
    ธานมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมและคณะผู้บริหารวิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล มีดำริร่วมกันที่จะใช้สถานที่แห่งนี้
    จัดตั้งวิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวลแห่งที่ 2 ขึ้น เพื่อให้เป็นอุทยานการศึกษาเป็นแหล่งประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้ด้านการ
    อาชีพแก่กุลบุตรกุลธิดา จะได้มีความรู้ไว้ประกอบสัมมาชีพ เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าของสังคมต่อไปในภายภาคหน้า ทั้ง
    เป็นการแบ่งเบาภาระของวิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวลแห่งแรก ซึ่งขณะนี้ ทั้งขนาดพื้นที่ อาคารเรียน อุปกรณ์การศึกษา ตลอด
    จนสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ ไม่สามารถขยาย เพื่อรองรับความต้องการเข้าศึกษาของเยาวชนซึ่งมีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ ได้
    ปี พ.ศ. 2549 เป็นปีมหามงคลของปวงชนชาวไทยที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงครองสิริราช
    สมบัติครบ 60 ปี ยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์พระองค์ใดในโลก และในปี พ.ศ.2550 เป็นปีที่พระองค์ท่านจะมีพระชนมายุ 80
    พรรษา จึงเป็น โอกาสสมควรยิ่งที่พสกนิการชาวไทยทั่วประเทศจะได้ถวายความจงรักภักดีร่วมกันบริจาคทุนทรัพย์ เพื่อจัด
    สร้างอาคารเรียนของวิทยาลัยแห่งนี้ มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ร่วมกับ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล ได้จัดสร้าง
    พระเครื่องยอดนิยม ชุด "พระเบญจภาคี ภ.ป.ร." ขึ้นเพื่อมอบให้กับผู้มีจิตศรัทธาร่วมบริจาคทรัพย์สร้างอาคารเรียนแห่งนี้ ทั้งนี้
    ทางวิทยาลัยได้รับพระมหากรุณาธิคุณสูงยิ่งโดยได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้เชิญอักษรพระปรมาภิไธย ภ.ป.ร.
    ประดิษฐานที่ด้านหลัง พระเครื่องบูชาชุดนี้ทุกองค์จึงขอเชิญชวนพสกนิกรชาวไทยทุกหมู่เหล่าได้รวมพลังถวายความจงรักภักดี
    แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโดยการสั่งจองพระเครื่องบูชาชุด " พระเบญจภาคี ภ.ป.ร." นำรายได้จากการบริจาคไปจัด
    สร้างอาคารวิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวลแห่งที่ 2 เฉลิมพระเกียรติพระองค์ท่านให้ขจรขจายยิ่งๆ ขึ้นไป


    <HR style="COLOR: orange" align=right width="100%" SIZE=1 hr>รายชื่อพระเกจิอาจารย์ทั่วประเทศ

    <TABLE class=Fixfont cellSpacing=0 cellPadding=0 width=486 align=center border=0><TBODY><TR><TD width=159 height=95>
    [​IMG]
    </TD><TD width=171>
    [​IMG]
    </TD><TD width=156>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD height=96>
    [​IMG]
    </TD><TD>
    [​IMG]
    </TD><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD height=94>
    [​IMG]
    </TD><TD>
    [​IMG]
    </TD><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD height=91>
    [​IMG]
    </TD><TD>
    [​IMG]
    </TD><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD height=98>
    [​IMG]
    </TD><TD>
    [​IMG]
    </TD><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD height=97>
    [​IMG]
    </TD><TD>
    [​IMG]
    </TD><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=Fixfont cellSpacing=0 cellPadding=0 width=416 align=center border=0><TBODY><TR><TD width=416>1. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) วัดสระเกศ กทม.</TD></TR><TR><TD>2. สมเด็จพระมหาธีรจารย์ (นิยม ฐานิสฺสโร) วัดชนะสงคราม กทม.</TD></TR><TR><TD>3. สมเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร) วัดเทพศิรินทร์ กทม.</TD></TR><TR><TD>4. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (มานิต ถาวโร) วัดสัมพันธวงศาราม กทม.</TD></TR><TR><TD>5. สมเด็จมหารัชมัคลาจารย์ (ช่วง วรปุณฺโณ) วัดปากน้ำ กทม.</TD></TR><TR><TD>6. หลวงปู่ทิม วัดพระขาว อยุธยา</TD></TR><TR><TD>7. หลวงพ่อรวย วัดตะโก อยุธยา</TD></TR><TR><TD>8. หลวงพ่อเพิ่ม วัดป้อมแก้ว อยุธยา</TD></TR><TR><TD>9. หลวงพ่อพูล วัดบ้านแพน อยุธยา</TD></TR><TR><TD>10. หลวงพ่อเจือ วัดกลางบางแก้ว นครปฐม</TD></TR><TR><TD>11. หลวงพ่ออุ้น วัดตาลกง เพชรบุรี</TD></TR><TR><TD>12. หลวงพ่อแย้ม วัดตะเคียน นนทบุรี</TD></TR><TR><TD>13. หลวงพ่อพูลทรัพย์ วัดอ่างศิลา ชลบุรี</TD></TR><TR><TD>14. หลวงพ่อสวัสดิ์ วัดศาลาปูน อยุธยา</TD></TR><TR><TD>15. หลวงพ่อเอียด วัดไผ่ล้อม อยุธยา</TD></TR><TR><TD>16. หลวงพ่อทอง วัดพระธาตุจอมทอง เชียงใหม่</TD></TR><TR><TD height=17>17. หลวงพ่อเนื่อง วัดระฆังโฆสิตาราม กทม.</TD></TR><TR><TD>18. หลวงพ่อทองสืบ วัดอินทรวิหาร กทม.</TD></TR><TR><TD>19. หลวงปู่แหวน วัดมหาธาตุ กทม.</TD></TR><TR><TD>20. หลวงพ่อธงชัย วัดไตรมิตร กทม.</TD></TR><TR><TD>21. หลวงพ่อประสิทธิ์ วัดไทรน้อย นนทบุรี</TD></TR><TR><TD>22. หลวงพ่อเก๋ วัดปากน้ำ ปทุมธานี</TD></TR><TR><TD>23. หลวงพ่อทองใบ วัดสายไหม ปทุมธานี</TD></TR><TR><TD>24. หลวงพ่อทองกลึง วัดเจดีย์หอย ปทุมธานี</TD></TR><TR><TD>25. หลวงพ่อวิเชียร วัดมูลจินดา ปทุมธานี</TD></TR><TR><TD>26.. หลวงพ่อทองหล่อ วัดคันลัด สมุทรปราการ</TD></TR><TR><TD>27. หลวงพ่อสมโภชน์ วัดแค สมุทรปราการ</TD></TR><TR><TD>28. หลวงพ่อจรัญ วัดบางพลีใหญ่ใน สมุทรปราการ</TD></TR><TR><TD>29. หลวงพ่อเฉลิม วัดพระญาติ อยุธยา</TD></TR><TR><TD>30. หลวงพ่อแม้น วัดหน้าต่างนอก อยุธยา</TD></TR><TR><TD>31. หลวงพ่อสงวน วัดเสาธงทอง ลพบุรี</TD></TR><TR><TD>32. หลวงพ่อสมพร วัดป่าธรรมโสภณ ลพบุรี</TD></TR><TR><TD>33. หลวงพ่อป่วน วัดบรรหารแจ่มใส สุพรรณบุรี</TD></TR><TR><TD>34. หลวงพ่อสอิ้ง วัดป่าเลไลย์ สุพรรณบุรี</TD></TR><TR><TD>35. หลวงพ่อสุนทร วัดเพชรสมุทร สมุทรสงคราม</TD></TR><TR><TD>36. หลวงพ่ออิฐ วัดจุฬามณี สมุทรสงคราม</TD></TR><TR><TD>37. หลวงพ่อแดง วัดอินทาราม สมุทรสงคราม</TD></TR><TR><TD>38. หลวงพ่อมาลัย วัดบางหญ้าแพรก สมุทรสงคราม</TD></TR><TR><TD>39. หลวงพ่อขาว วัดสาวชะโงก ฉะเชิงเทรา</TD></TR><TR><TD>40. หลวงพ่อสมศักดิ์ วัดโสธร ฉะเชิงเทรา</TD></TR><TR><TD>41. หลวงพ่อสมชาย วัดโพรงอากาศ ฉะเชิงเทรา</TD></TR><TR><TD>42. หลวงพ่อฉิ้น เมืองยะลา</TD></TR><TR><TD>43. หลวงพ่อกลัง เขาอ้อ</TD></TR><TR><TD>44. หลวงพ่อพรหม วัดบ้านสวน พัทลุง</TD></TR><TR><TD>45. หลวงพ่อจ่าง วัดน้ำรอบ สุราษฏร์ธานี</TD></TR><TR><TD>46. หลวงพ่อบุญศรี วัดนาคาราม ภูเก็ต</TD></TR><TR><TD>47. หลวงพ่อเสนอ วัดตะโปทาราม ระนอง</TD></TR><TR><TD>48. หลวงพ่อห่วง วัดดอนกาหลง สตูล</TD></TR><TR><TD>49. หลวงพ่อนวน วัดประดิษฐานราม นครศรีธรรมราช</TD></TR><TR><TD>50. หลวงพ่อผัน วัดทรายขาว สงขลา</TD></TR><TR><TD>51. หลวงพ่ออุทธีร์ วัดเวฬุวัน ร้อยเอ็ด</TD></TR><TR><TD>52. หลวงพ่อเที่ยง วัดพระบาทเขากระโพง บุรีรัมย์</TD></TR><TR><TD>53. หลวงพ่อทองจันทร์ วัดคำแคน กาฬสิทธิ์</TD></TR><TR><TD>54. หลวงพ่อสมเกียรติ วัดมหาวนาราม อุบลราชธานี</TD></TR><TR><TD>55. หลวงพ่อไพรินทร์ วัดพระศรีมหาธาตุ พิษณุโลก</TD></TR><TR><TD>56. หลวงพ่อแขก วัดอรัญญิก พิษณุโลก</TD></TR><TR><TD>57. หลวงพ่อธงชั วัดพระธาตุดอยสุเทพ เชียงใหม่</TD></TR><TR><TD>58. หลวงพ่อสมพงศ์ วัดใหม่ปิ่นเกลียว นครปฐม</TD></TR><TR><TD>59. หลวงพ่อศรี วัดหน้าพระลาน สระบุรี</TD></TR><TR><TD>60. หลวงพ่อบุญธรรม วัดตะเคียน อ่างทอง</TD></TR><TR><TD>61. หลวงพ่อทอด วัดหนองสุ่ม สิ่งห์บุรี</TD></TR><TR><TD>62. หลวงพ่อประเทือง วัดบางกระเบา ปราจีนบุรี</TD></TR><TR><TD>63. หลวงพ่อแย้ม วัดสามง่าม นครปฐม</TD></TR><TR><TD>64. หลวงพ่อแก่น วัดใหญ่ชัยมงคล อยุธยา</TD></TR><TR><TD>65. หลวงพ่อเกตุ วัดอุดมธานี นครนายก</TD></TR><TR><TD>66. พระครูอนุกูลพิศาลกิจ วัดบางพระ นครปฐม</TD></TR><TR><TD>67. พระครูเฉลียว วัดมหาธาตุ กทม.</TD></TR><TR><TD>68. พระครูประดิษฐ์นวกิจ วัดท่าตะคร้อ กาญจนบุรี</TD></TR><TR><TD>69. พระครูภาวนาวรกิจ วัดสันติคีรีศรีบรมธาตุ กาญจนบุรี</TD></TR></TBODY></TABLE>

    <HR style="COLOR: orange" align=right width="100%" SIZE=1 hr>รูปภาพการรับมวลสารศักดิ์สิทธิ์จากวัดต้นกำเนิด ทั้ง 5 วัด และผงอิทธิเจ ปัตทะมัง จากเจ้าประคุณสมเด็จ

    <TABLE class=Fixfont cellSpacing=0 cellPadding=0 width=530 align=center border=0><TBODY><TR><TD colSpan=3 height=32>
    (เจ้าอาวาส ณ วัดต้นกำเนิด)​
    </TD></TR><TR><TD width=176>1. พระเทพวิสุทธิเมธี</TD><TD width=195>เจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตารม</TD><TD width=159>กรุงเทพ</TD></TR><TR><TD height=17>2. พระครูสุจิต ธรรมวิมล</TD><TD>เจ้าอาวาสวัดนางพญา</TD><TD>จ.พิษณุโลก</TD></TR><TR><TD height=17>3. พระครูพิศาลธรรมนิเทศก์</TD><TD>เจ้าอาวาสวัดมหาวัน</TD><TD>จ.ลำพูน</TD></TR><TR><TD height=17>4. พระอาจารย์บุณภิสิทธิ์ สุทธิญาโณ</TD><TD>เจ้าอาวาสวัดพิกุล</TD><TD>จ.กำแพงเพชร</TD></TR><TR><TD height=17>5. พระมหาวิเชียร กลุยาโณ</TD><TD>เจ้าอาวาสวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ</TD><TD>จ.สุพรรณบุรี</TD></TR><TR><TD height=17> </TD><TD> </TD><TD> </TD></TR><TR><TD height=127>
    [​IMG]
    </TD><TD>
    มวลสาร พระสมเด็จวัดระฆัง (พิมพ์ใหญ่)
    วัดระฆังโฆสิตาราม กรุงเทพมหานคร​
    </TD><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD height=145>
    [​IMG]
    </TD><TD>
    มวลสาร พระนางพญา (พิมพ์เข่าโค้ง)
    วัดนางพญา จ.พิษณุโลก​
    </TD><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD height=161>
    [​IMG]
    </TD><TD>
    มวลสาร พระผงสุพรรณ (พิมพ์หน้าแก่)
    วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จ.สุพรรณบุรี​
    </TD><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD height=135>
    [​IMG]
    </TD><TD>
    มวลสาร พระรอด (พิมพ์ใหญ่)
    วัดมหาวัน จ.ลำพูน​
    </TD><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD height=138>
    [​IMG]
    </TD><TD>
    มวลสาร พระกำแพงซุ้มกอ (พิมพ์ใหญ่)
    วัดพิกุล จ.กำแพงเพชร​
    </TD><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    รายการวัตถุมงคล

    ร่วมดำเนินการโดย
    วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวะศีกษา รายได้ทูลเกล้าฯ ถวายโดยเสด็จพระราชกุศล โครงการ
    จัดสร้างอาคารเรียนวิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล วิทยาเขตชะอำ ซึ่งได้รับการอนุเคราะห์ในการถอดพิมพ์จากพิพิธภัณฑ์พระ
    " กำนันชูชาติ" สุดยอดพระเบญจภาคีชุดที่สวยงามและสมบูรณ์ที่สุดในประเทศไทย
    * ชุดพระเครื่องเบญจภาคี ภ.ป.ร. เนื้อผง ชุดละ 1,500.- (Powder 1 Set THB1,500.-
    * ชุดพระเครื่องเบญจภาคี ภ.ป.ร. เนื้อผงหน้าทอง ชุดละ 12,000.-
    (Powder with Gold face 1 Set/ 5 pieces THB12,000.-) (หมด, sold out)
    * ชุดพระเครื่องเบญจภาคี ภ.ป.ร. เนื้อผงหน้าทอง - หลังทอง ชุดละ 15,000.-
    (Powder with Gold face& back 1 Set/ 5 pieces THB15,000.-) (หมด, sold out)

    **** หมายเหตุ : เฉพาะพระเครื่องเบญจภาคี ภ.ป.ร. ทั้ง 2 แบบ ทางร้านขอไม่รับบัตรเครดิตการ์ดค่ะ ขอบคุณค่ะ

    1. สมเด็จวัดระฆัง (พิมพ์ใหญ่) Somdej Wat Rakang (PimYai)

    <TABLE class=Fixfont height=239 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=364 align=center border=0><TBODY><TR><TD width=364 height=207>
    [​IMG] [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD height=32>
    แคล้วคลาดและเมตตามหานิยม​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    เป็นพระเครื่องบูชาที่ได้รับสมญานามว่าเป็น "จักรพรรดิแห่งพระเครื่อง" วิเศษด้วยพุทธานุภาพ เข้มแข็งในกฤตยาคม
    เอกอุในประสพการ์ และอิทธิปาฏิหารย์เพียบพร้อมด้วยพระพุทธคุณ ทั้งแคล้วคลาดและเมตตามหานิยม

    2. พระนางพญา (พิมพ์เข่าโค้ง) Phra Nangpaya (Pim KaoKhong)

    <TABLE class=Fixfont height=239 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=364 align=center border=0><TBODY><TR><TD width=364 height=207>
    [​IMG] [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD height=32>
    เมตตามหานิยมและเสน่ห์​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    เป็นพระเครื่องบูชายอดนิยมชั้นนำระดับเดียวกับพระสมเด็จวัดระฆังฯ มีพุทธคุณสูงทางด้านเมตตามหานิยมเป็นเลิศ
    และเป็นยอดในทางด้านเสน่ห์ พุทธคุณความศักดิ์สิทธิ์ในองค์พระ เมื่อมีผู้นำไปบูชาแล้วมีประสพการณ์ ก็โจทย์ขานเล่าลือไปทั่ว
    ทั้งแผ่นดิน

    3. พระผงสุพรรณ (พิมพ์หน้าแก่) Phra Pong Suphan (Pim NhaKae)

    <TABLE class=Fixfont height=239 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=364 align=center border=0><TBODY><TR><TD width=364 height=207>
    [​IMG] [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD height=32>
    แคล้วคลาดปลอดภัยและเมตตามหานิยม​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    เป็นสุดยอดพระเครื่องบูชาองค์หนึ่งในชุดพระเบญจภาคี มีคุณวิเศษในด้านแคล้วคลาดปลอดภัยสยบสิ่งที่เป็นอัปมงคล
    อุดมด้วยเมตตามหานิยมเหมาะสำหรับพกพาติดตัวเมื่อเดินทางไกล

    4. พระรอด (พิมพ์ใหญ่) Phra Rod (PimYai)

    <TABLE class=Fixfont height=239 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=364 align=center border=0><TBODY><TR><TD width=364 height=207>
    [​IMG] [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD height=32>
    แคล้วคลาดภยันตรายและโชคลาภ​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    เป็นพระเครื่องเพชรน้ำเอกของจังหวัดลำพูน จัดอยู่ในทำเนียบพระหลักสุดยอดนิยมองค์หนึ่งของภาคเหนือตอนบน
    มีพุทธคุณสูงทางด้านแคล้วคลาดจากภยันตรายต่างๆ และดียิ่งทางด้านโชคลาภ และความสำเร็จต่างๆ ที่เราประสงค์

    5. พระกำแพงซุ้มกอ (พิมพ์ใหญ่) Phra GumPangSoomKor (PimYai)

    <TABLE class=Fixfont height=239 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=364 align=center border=0><TBODY><TR><TD width=364 height=207>
    [​IMG] [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD height=32>
    โชคลาภและคงกะพันชาตรี​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    เป็นพระเครื่องเพชรน้ำเอกของจังหวัดพระกำแพงเพชร จัดอยู่ในทำเนียบพระหลักสุดยอดนิยม มีพุทธานุภาพสูงใน
    ทุกด้าน โดยเฉพาะด้านโชคลาภ และคงกะพันชาตรี ผู้ใดมีพระเครื่ององค์นี้ไว้บูชา ทั้งชีวิตจะไม่พบกับความยากจน ขาดแคลน
    มีแต่จะทวีทรัพย์ยิ่งๆ ขึ้นไป
    ที่มา http://www.siristore.com/Products/BenjapakeePPR_1.asp
     

แชร์หน้านี้

Loading...