"สุริยวงษ์" : ตะกรุดจักรพรรดิล้านนา ตะกรุดประจำตัว จัดสร้างเสร็จสิ้น ยังมีให้บูชา

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย สายครูบา, 25 กันยายน 2013.

สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้
  1. สายครูบา

    สายครูบา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    4,224
    ค่าพลัง:
    +22,130

    พระเครื่องและวัตถุมงคลที่ คนไทย ไม่ควรพลาด ควรหามาอาราธนาสักการะบูชาติดตัว เพื่อความสวัสดีมงคลแก่ชีวิต


    เงื่อนไขการจอง
    1.สามารถจองลงในหน้ากระทู้ได้เลย
    2.เมื่อทำการปิดรายการแล้ว กรุณาโอนเงินภายใน 5 วันหลังการจอง
    3.มีค่าหีบห่อและจัดส่งพัสดุครั้งละ 50 บาท
    4.โอนเงินได้ที่ ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาคณะแพทยศาสตร์ เลขที่บัญชี 566-481898-4 ชื่อบัญชี KRITCHANAT KAMMARATSURIYAWONG
    5.หลังจากโอนแล้วส่งชื่อที่อยู่การจัดส่งพระมาได้ทางหน้ากระทู้ หรือใน pm


    ขอบพระคุณทุกท่านที่เข้ามาเยี่ยมชมครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 สิงหาคม 2017
  2. สายครูบา

    สายครูบา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    4,224
    ค่าพลัง:
    +22,130
    1.เหรียญพระชัยหลังช้าง ภปร ปี 30 เหรียญดีราคาเบาที่รวมสุดยอดความเป็นมงคล

    [​IMG]

    เหรียญพระชัยหลังช้าง เหรียญดังพิธีดีอีกเหรียญหนึ่งที่หยิบยกมากล่าวถึง เป็นเหรียญที่ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ แห่งวัดสามพระยา กรุงเทพมหานคร ในนามคณะสงฆ์ได้ดำเนินการจัดสร้างขึ้น สืบเนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ 60 พรรษา ในปี พ.ศ.2530 เป็นเหรียญปั๊มด้านหน้าเป็นรูปพระชัยวัฒน์ที่เรียกกันว่า "พระชัยหลังช้าง" ด้านหลังเป็นพระปรมาภิไธยย่อ "ภปร." มีอักษรปรากฏบนเหรียญว่า "5 ธันวาคม 2530" และ "คณะสงฆ์สร้างในมหามงคลสมัยเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ"

    เหรียญพระชัยหลังช้าง เป็นเหรียญดีเพราะพิธีการจัดสร้างเปี่ยมด้วยความศักดิ์สิทธิ์ ทั้งเจตนาการจัดสร้างเพื่อนำรายได้จากการบริจาคบูชานั้น ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยได้ประกอบพิธีพุทธาภิเษกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2530 ณ พระอุโบสถ วัดบวรนิเวศวิหาร มีพระเกจิอาจารย์ดังปลุกเสกมากมาย ประการสำคัญยิ่ง เหรียญพระชัยหลังช้าง มีสมเด็จพระสังฆราชถึง 2 พระองค์ ปลุกเสก นั้นคือ
    สมเด็จพระสังฆราช (วาส) วัดราชบพิธฯ และ
    สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรนิเวศวิหาร ที่ต่อมาได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช เมื่อปี พ.ศ.2532
    และ เหรียญพระชัยหลังช้าง มีสมเด็จพระราชาคณะที่ร่วมปลุกเสกอีก คือ
    สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดสามพระยา
    สมเด็จพระวันรัต วัดโสมนัสวิหาร
    สมเด็จพระธีรญาณมุนี วัดปทุมคงคา
    สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว) วัดสระเกศ เมื่อครั้งยังเป็นที่พระพรหมคุณาภรณ์
    แล้วยังมีพระเกจิอาจารย์ดังแห่งยุคนั้น อาทิ
    หลวงพ่อแพ แห่งวัดพิกุลทอง จังหวัดสิงห์บุรี
    พระมหาวีระ ถาวโร (หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ) วัดท่าซุง
    หลวงพ่อชื้น วัดญาณเสน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
    พระครูสันติวรญาณ (หลวงปู่สิม) วัดถ้ำผาปล่อง
    พระอุดมสังวรเถร (อุตตมะ) วัดวังก์วิเวการาม จังหวัดกาญจนบุรี
    พระครูฐาปนกิจสุนทร (เปิ่น) วัดบางพระ จังหวัดนครปฐม
    หลวงปู่ม่น วัดเนินตาหมาก จังหวัดชลบุรี
    พระครูเกษมธรรมนันท์ (แช่ม) วัดดอนยายหอม
    พระครูปริมานุรักษ์ (พูล) วัดไผ่ล้อม จังหวัดนครปฐม


    ที่สำคัญ หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ แห่งวัดท่าซุง ท่านเคยกล่าวไว้กับลูกศิษย์ของท่านว่า เหรียญพระชัยหลังช้าง นี้เป็นเหรียญที่มีพุทธานุภาพดีมากๆ กล่าวสำหรับพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์รัชกาลปัจจุบันนี้ มีความเป็นมาสืบเนื่องจากราชประเพณีหล่อพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ประจำรัชกาล เริ่มเมื่อ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงมีพระราชดำริว่า พระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ประจำพระองค์ที่เชิญไปในราชการศึกสงคราม ซึ่งเรียกกันว่า "พระชัยหลังช้าง" นั้น ได้เชิญไปประดิษฐานหน้าพุทธบัลลังก์พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร เพราะเป็นพระพุทธรูปคู่บารมีมาด้วยกัน จึงขาดพระพุทธปฏิมาสำหรับถวายสักการะ ณ พระราชมณเฑียร จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ขึ้นแทน ถวายพระนามว่า พระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ประจำรัชกาล

    ในรัชกาลต่อมา เมื่อประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว ถือเป็นราชประเพณีที่จะต้องหล่อพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์สืบมาทุกรัชกาล พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.2493 ยังไม่ได้สร้างพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ประจำรัชกาล ในการพระราชพิธีจึงต้องเชิญพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ของรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นสมเด็จพระบรมอัยกาธิราช เป็นพระพุทธรูปประธานในงานพระราชพิธี ครั้น พ.ศ.2495 เสด็จพระราชดำเนินกลับจากประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มาประทับพระนคร พ.ศ.2506 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้หล่อพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ประจำรัชกาลตามราชประเพณี และโปรดเกล้าฯ ให้ นายพิมาน มูลประมุข เป็นช่างปั้นหุ่นพระพุทธรูป

    พระเครื่องและเหรียญที่ระลึกที่มีพระปรมาภิไธยย่อ "ภปร" ประดิษฐานอยู่ ไม่ว่าจะเป็นด้านหน้า หรือด้านหลัง ถือว่าเป็นสิ่งมงคลที่น่าเก็บสะสมบูชาอย่างยิ่ง โดยเฉพาะเหรียญพระพุทธรูปของ วัดต่างๆ ที่มีตรา ภปร.ประดิษฐานอยู่ด้านหลังนั้นมีอยู่จำนวนมากเช่นกัน หลายๆ รุ่นมีพิธีการสร้างที่เข้มขลัง และมีพุทธศิลป์ที่งดงามอย่างยิ่ง ดั่งเช่นเหรียญพระพุทธ หรือเหรียญพุทธคุณ พระปรมาภิไธยย่อ ภปร.ที่เรียกขานกันว่า "เหรียญพระชัยหลังช้าง" สร้างโดยคณะสงฆ์ทั้ง 2 นิกายในปีมหามงคลเจริญพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ 60 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วันที่ 5 ธ.ค.2530 เหรียญพระชัยหลังช้าง มีเนื้อทองคำ, เนื้อเงิน, เนื้อกะไหล่ทอง มูลเหตุที่นำรูป พระชัยหลังช้างมาจัดสร้างเพื่อเทิดพระเกียรติล้นเกล้าทั้งสอง พระองค์ ด้วยเห็นว่าพระชัย (หลังช้าง) เป็นพระคู่บ้านคู่เมือง คู่บุญญาบารมีของปฐมกษัตริย์แห่งราชจักรีวงศ์ ควรที่ประชาชนจะมีไว้สักการบูชา เพราะเป็นพระพุทธรูปที่มีความศักดิ์สิทธิ์อยู่ในพระองค์ ดังเช่น สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น) อดีตเจ้าอาวาสวัดสามพระยา กรุงเทพฯ ได้ลิขิตไว้ว่า เหรียญพระชัยหลังช้าง "หากอยู่กับบ้านก็คุ้มบ้าน หากอยู่กับตัวก็คุ้มตัว" และเพื่อเป็นการยืนยันคำพูดดังกล่าว ท่านจึงได้จัดพิมพ์หนังสือเรื่อง "ปรากฏการณ์อันน่าพิศวงเกี่ยวด้วย เหรียญพระชัย (หลังช้าง)" ขึ้น โดยรวบรวมเรื่องราวจากผู้ที่ได้รับประสบการณ์จากเหรียญนี้มากมายหลายท่าน


    พิเศษ เหรียญชุดนี้ได้นำติดเข้าพิธีเสกเพิ่มเติม อาทิ
    ครูบาดวงดี วัดบ้านฟ่อน
    ครูบาตั๋น ปัญโญ
    ครูบาศรีวัย วัดหนองเงือก
    ครูบาสุข วัดป่าซางน้อย
    ครูบาอินถา วัดยั้งเมิน
    ครูบาอินตา วัดศาลา
    หลวงพ่อเปลี่ยน ปัญญาปทีโป
    และ ครูบากฤษดา สุเมโธ วัดสันพระเจ้าแดง อีกหลายครั้ง
    (เพื่อเป็นเอกลักษณ์ เหรียญชุดนี้จะตอกโค้ด ๙ เพิ่มเติมให้ครับ)


    เหรียญชุดนี้สวยเดิมเก่าเก็บ น่าบูชาอย่างยิ่ง ควรอาราธนาติดตัวมากครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSCF6172.JPG
      DSCF6172.JPG
      ขนาดไฟล์:
      599 KB
      เปิดดู:
      590
    • DSCF6173.JPG
      DSCF6173.JPG
      ขนาดไฟล์:
      535.2 KB
      เปิดดู:
      482
    • DSCF6175.JPG
      DSCF6175.JPG
      ขนาดไฟล์:
      585.4 KB
      เปิดดู:
      32,173
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 ธันวาคม 2013
  3. สายครูบา

    สายครูบา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    4,224
    ค่าพลัง:
    +22,130
    2.เหรียญพระชัยหลังช้าง ภปร ปี 30 และเหรียญพระชัยหลังช้าง สก ปี 35 เหรียญคู่บุญบารมีมหามงคล (ชุดที่ 1)

    ปิดรายการ

    [​IMG]

    เหรียญพระชัยหลังช้าง เหรียญดังพิธีดีอีกเหรียญหนึ่งที่หยิบยกมากล่าวถึง เป็นเหรียญที่ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ แห่งวัดสามพระยา กรุงเทพมหานคร ในนามคณะสงฆ์ได้ดำเนินการจัดสร้างขึ้น สืบเนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ 60 พรรษา ในปี พ.ศ.2530 เป็นเหรียญปั๊มด้านหน้าเป็นรูปพระชัยวัฒน์ที่เรียกกันว่า "พระชัยหลังช้าง" ด้านหลังเป็นพระปรมาภิไธยย่อ "ภปร." มีอักษรปรากฏบนเหรียญว่า "5 ธันวาคม 2530" และ "คณะสงฆ์สร้างในมหามงคลสมัยเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ"

    เหรียญพระชัยหลังช้าง เป็นเหรียญดีเพราะพิธีการจัดสร้างเปี่ยมด้วยความศักดิ์สิทธิ์ ทั้งเจตนาการจัดสร้างเพื่อนำรายได้จากการบริจาคบูชานั้น ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยได้ประกอบพิธีพุทธาภิเษกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2530 ณ พระอุโบสถ วัดบวรนิเวศวิหาร มีพระเกจิอาจารย์ดังปลุกเสกมากมาย ประการสำคัญยิ่ง เหรียญพระชัยหลังช้าง มีสมเด็จพระสังฆราชถึง 2 พระองค์ ปลุกเสก นั้นคือ
    สมเด็จพระสังฆราช (วาส) วัดราชบพิธฯ และ
    สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรนิเวศวิหาร ที่ต่อมาได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช เมื่อปี พ.ศ.2532
    และ เหรียญพระชัยหลังช้าง มีสมเด็จพระราชาคณะที่ร่วมปลุกเสกอีก คือ
    สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดสามพระยา
    สมเด็จพระวันรัต วัดโสมนัสวิหาร
    สมเด็จพระธีรญาณมุนี วัดปทุมคงคา
    สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว) วัดสระเกศ เมื่อครั้งยังเป็นที่พระพรหมคุณาภรณ์
    แล้วยังมีพระเกจิอาจารย์ดังแห่งยุคนั้น อาทิ
    หลวงพ่อแพ แห่งวัดพิกุลทอง จังหวัดสิงห์บุรี
    พระมหาวีระ ถาวโร (หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ) วัดท่าซุง
    หลวงพ่อชื้น วัดญาณเสน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
    พระครูสันติวรญาณ (หลวงปู่สิม) วัดถ้ำผาปล่อง
    พระอุดมสังวรเถร (อุตตมะ) วัดวังก์วิเวการาม จังหวัดกาญจนบุรี
    พระครูฐาปนกิจสุนทร (เปิ่น) วัดบางพระ จังหวัดนครปฐม
    หลวงปู่ม่น วัดเนินตาหมาก จังหวัดชลบุรี
    พระครูเกษมธรรมนันท์ (แช่ม) วัดดอนยายหอม
    พระครูปริมานุรักษ์ (พูล) วัดไผ่ล้อม จังหวัดนครปฐม


    ที่สำคัญ หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ แห่งวัดท่าซุง ท่านเคยกล่าวไว้กับลูกศิษย์ของท่านว่า เหรียญพระชัยหลังช้าง นี้เป็นเหรียญที่มีพุทธานุภาพดีมากๆ กล่าวสำหรับพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์รัชกาลปัจจุบันนี้ มีความเป็นมาสืบเนื่องจากราชประเพณีหล่อพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ประจำรัชกาล เริ่มเมื่อ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงมีพระราชดำริว่า พระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ประจำพระองค์ที่เชิญไปในราชการศึกสงคราม ซึ่งเรียกกันว่า "พระชัยหลังช้าง" นั้น ได้เชิญไปประดิษฐานหน้าพุทธบัลลังก์พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร เพราะเป็นพระพุทธรูปคู่บารมีมาด้วยกัน จึงขาดพระพุทธปฏิมาสำหรับถวายสักการะ ณ พระราชมณเฑียร จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ขึ้นแทน ถวายพระนามว่า พระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ประจำรัชกาล

    ในรัชกาลต่อมา เมื่อประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว ถือเป็นราชประเพณีที่จะต้องหล่อพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์สืบมาทุกรัชกาล พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.2493 ยังไม่ได้สร้างพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ประจำรัชกาล ในการพระราชพิธีจึงต้องเชิญพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ของรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นสมเด็จพระบรมอัยกาธิราช เป็นพระพุทธรูปประธานในงานพระราชพิธี ครั้น พ.ศ.2495 เสด็จพระราชดำเนินกลับจากประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มาประทับพระนคร พ.ศ.2506 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้หล่อพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ประจำรัชกาลตามราชประเพณี และโปรดเกล้าฯ ให้ นายพิมาน มูลประมุข เป็นช่างปั้นหุ่นพระพุทธรูป

    พระเครื่องและเหรียญที่ระลึกที่มีพระปรมาภิไธยย่อ "ภปร" ประดิษฐานอยู่ ไม่ว่าจะเป็นด้านหน้า หรือด้านหลัง ถือว่าเป็นสิ่งมงคลที่น่าเก็บสะสมบูชาอย่างยิ่ง โดยเฉพาะเหรียญพระพุทธรูปของ วัดต่างๆ ที่มีตรา ภปร.ประดิษฐานอยู่ด้านหลังนั้นมีอยู่จำนวนมากเช่นกัน หลายๆ รุ่นมีพิธีการสร้างที่เข้มขลัง และมีพุทธศิลป์ที่งดงามอย่างยิ่ง ดั่งเช่นเหรียญพระพุทธ หรือเหรียญพุทธคุณ พระปรมาภิไธยย่อ ภปร.ที่เรียกขานกันว่า "เหรียญพระชัยหลังช้าง" สร้างโดยคณะสงฆ์ทั้ง 2 นิกายในปีมหามงคลเจริญพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ 60 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วันที่ 5 ธ.ค.2530 เหรียญพระชัยหลังช้าง มีเนื้อทองคำ, เนื้อเงิน, เนื้อกะไหล่ทอง มูลเหตุที่นำรูป พระชัยหลังช้างมาจัดสร้างเพื่อเทิดพระเกียรติล้นเกล้าทั้งสอง พระองค์ ด้วยเห็นว่าพระชัย (หลังช้าง) เป็นพระคู่บ้านคู่เมือง คู่บุญญาบารมีของปฐมกษัตริย์แห่งราชจักรีวงศ์ ควรที่ประชาชนจะมีไว้สักการบูชา เพราะเป็นพระพุทธรูปที่มีความศักดิ์สิทธิ์อยู่ในพระองค์ ดังเช่น สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น) อดีตเจ้าอาวาสวัดสามพระยา กรุงเทพฯ ได้ลิขิตไว้ว่า เหรียญพระชัยหลังช้าง "หากอยู่กับบ้านก็คุ้มบ้าน หากอยู่กับตัวก็คุ้มตัว" และเพื่อเป็นการยืนยันคำพูดดังกล่าว ท่านจึงได้จัดพิมพ์หนังสือเรื่อง "ปรากฏการณ์อันน่าพิศวงเกี่ยวด้วย เหรียญพระชัย (หลังช้าง)" ขึ้น โดยรวบรวมเรื่องราวจากผู้ที่ได้รับประสบการณ์จากเหรียญนี้มากมายหลายท่าน

    ครั้นต่อมาในปี ๒๕๓๕ คณะสงฆ์ก็ได้จัดสร้างเหรียญพระชัยหลังช้างขึ้นอีกครั้งอย่างยิ่งใหญ่ไม่น้อยกว่าครั้งแรก โดยเป็นรุ่น สก. เพื่อเฉลิมฉลองศุภวารมหามงคล ที่สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ มีพระชนมายุครบ ๕ รอบ หลวงพี่เอก เจ้าอาวาสวัดเขาแร่ เล่าว่า แม้ครั้งนั้นหลวงพ่อฤๅษีท่านไม่ได้ไปร่วมในพิธีพุทธาภิเษกเช่นครั้งรุ่น ภปร. แต่เจ้าหน้าที่ก็ได้นำเหรียญพระชัยหลังช้างรุ่นนี้มาให้หลวงพ่อเสกถึงวัด


    พิเศษ เหรียญชุดนี้ได้นำติดเข้าพิธีเสกเพิ่มเติม อาทิ
    ครูบาดวงดี วัดบ้านฟ่อน
    ครูบาตั๋น ปัญโญ
    ครูบาศรีวัย วัดหนองเงือก
    ครูบาสุข วัดป่าซางน้อย
    ครูบาอินถา วัดยั้งเมิน
    ครูบาอินตา วัดศาลา
    หลวงพ่อเปลี่ยน ปัญญาปทีโป
    และ ครูบากฤษดา สุเมโธ วัดสันพระเจ้าแดง อีกหลายครั้ง
    (เพื่อเป็นเอกลักษณ์ เหรียญชุดนี้จะตอกโค้ด ๙ เพิ่มเติมให้ครับ)


    เหรียญชุดนี้สวยเดิมเก่าเก็บ น่าบูชาอย่างยิ่ง ควรอาราธนาติดตัวมากครับ

    # ปิดรายการ
    ค่าจัดส่ง 50 บาท โอนไวส่งไวครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSCF6176.JPG
      DSCF6176.JPG
      ขนาดไฟล์:
      623.5 KB
      เปิดดู:
      10,672
    • DSCF6177.JPG
      DSCF6177.JPG
      ขนาดไฟล์:
      670.5 KB
      เปิดดู:
      271
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 ธันวาคม 2013
  4. สายครูบา

    สายครูบา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    4,224
    ค่าพลัง:
    +22,130
    3.เหรียญพระชัยหลังช้าง ภปร ปี 30 และเหรียญพระชัยหลังช้าง สก ปี 35 เหรียญคู่บุญบารมีมหามงคล (ชุดที่ 2)

    ปิดรายการ

    [​IMG]

    เหรียญพระชัยหลังช้าง เหรียญดังพิธีดีอีกเหรียญหนึ่งที่หยิบยกมากล่าวถึง เป็นเหรียญที่ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ แห่งวัดสามพระยา กรุงเทพมหานคร ในนามคณะสงฆ์ได้ดำเนินการจัดสร้างขึ้น สืบเนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ 60 พรรษา ในปี พ.ศ.2530 เป็นเหรียญปั๊มด้านหน้าเป็นรูปพระชัยวัฒน์ที่เรียกกันว่า "พระชัยหลังช้าง" ด้านหลังเป็นพระปรมาภิไธยย่อ "ภปร." มีอักษรปรากฏบนเหรียญว่า "5 ธันวาคม 2530" และ "คณะสงฆ์สร้างในมหามงคลสมัยเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ"

    เหรียญพระชัยหลังช้าง เป็นเหรียญดีเพราะพิธีการจัดสร้างเปี่ยมด้วยความศักดิ์สิทธิ์ ทั้งเจตนาการจัดสร้างเพื่อนำรายได้จากการบริจาคบูชานั้น ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยได้ประกอบพิธีพุทธาภิเษกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2530 ณ พระอุโบสถ วัดบวรนิเวศวิหาร มีพระเกจิอาจารย์ดังปลุกเสกมากมาย ประการสำคัญยิ่ง เหรียญพระชัยหลังช้าง มีสมเด็จพระสังฆราชถึง 2 พระองค์ ปลุกเสก นั้นคือ
    สมเด็จพระสังฆราช (วาส) วัดราชบพิธฯ และ
    สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรนิเวศวิหาร ที่ต่อมาได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช เมื่อปี พ.ศ.2532
    และ เหรียญพระชัยหลังช้าง มีสมเด็จพระราชาคณะที่ร่วมปลุกเสกอีก คือ
    สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดสามพระยา
    สมเด็จพระวันรัต วัดโสมนัสวิหาร
    สมเด็จพระธีรญาณมุนี วัดปทุมคงคา
    สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว) วัดสระเกศ เมื่อครั้งยังเป็นที่พระพรหมคุณาภรณ์
    แล้วยังมีพระเกจิอาจารย์ดังแห่งยุคนั้น อาทิ
    หลวงพ่อแพ แห่งวัดพิกุลทอง จังหวัดสิงห์บุรี
    พระมหาวีระ ถาวโร (หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ) วัดท่าซุง
    หลวงพ่อชื้น วัดญาณเสน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
    พระครูสันติวรญาณ (หลวงปู่สิม) วัดถ้ำผาปล่อง
    พระอุดมสังวรเถร (อุตตมะ) วัดวังก์วิเวการาม จังหวัดกาญจนบุรี
    พระครูฐาปนกิจสุนทร (เปิ่น) วัดบางพระ จังหวัดนครปฐม
    หลวงปู่ม่น วัดเนินตาหมาก จังหวัดชลบุรี
    พระครูเกษมธรรมนันท์ (แช่ม) วัดดอนยายหอม
    พระครูปริมานุรักษ์ (พูล) วัดไผ่ล้อม จังหวัดนครปฐม


    ที่สำคัญ หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ แห่งวัดท่าซุง ท่านเคยกล่าวไว้กับลูกศิษย์ของท่านว่า เหรียญพระชัยหลังช้าง นี้เป็นเหรียญที่มีพุทธานุภาพดีมากๆ กล่าวสำหรับพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์รัชกาลปัจจุบันนี้ มีความเป็นมาสืบเนื่องจากราชประเพณีหล่อพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ประจำรัชกาล เริ่มเมื่อ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงมีพระราชดำริว่า พระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ประจำพระองค์ที่เชิญไปในราชการศึกสงคราม ซึ่งเรียกกันว่า "พระชัยหลังช้าง" นั้น ได้เชิญไปประดิษฐานหน้าพุทธบัลลังก์พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร เพราะเป็นพระพุทธรูปคู่บารมีมาด้วยกัน จึงขาดพระพุทธปฏิมาสำหรับถวายสักการะ ณ พระราชมณเฑียร จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ขึ้นแทน ถวายพระนามว่า พระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ประจำรัชกาล

    ในรัชกาลต่อมา เมื่อประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว ถือเป็นราชประเพณีที่จะต้องหล่อพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์สืบมาทุกรัชกาล พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.2493 ยังไม่ได้สร้างพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ประจำรัชกาล ในการพระราชพิธีจึงต้องเชิญพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ของรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นสมเด็จพระบรมอัยกาธิราช เป็นพระพุทธรูปประธานในงานพระราชพิธี ครั้น พ.ศ.2495 เสด็จพระราชดำเนินกลับจากประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มาประทับพระนคร พ.ศ.2506 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้หล่อพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ประจำรัชกาลตามราชประเพณี และโปรดเกล้าฯ ให้ นายพิมาน มูลประมุข เป็นช่างปั้นหุ่นพระพุทธรูป

    พระเครื่องและเหรียญที่ระลึกที่มีพระปรมาภิไธยย่อ "ภปร" ประดิษฐานอยู่ ไม่ว่าจะเป็นด้านหน้า หรือด้านหลัง ถือว่าเป็นสิ่งมงคลที่น่าเก็บสะสมบูชาอย่างยิ่ง โดยเฉพาะเหรียญพระพุทธรูปของ วัดต่างๆ ที่มีตรา ภปร.ประดิษฐานอยู่ด้านหลังนั้นมีอยู่จำนวนมากเช่นกัน หลายๆ รุ่นมีพิธีการสร้างที่เข้มขลัง และมีพุทธศิลป์ที่งดงามอย่างยิ่ง ดั่งเช่นเหรียญพระพุทธ หรือเหรียญพุทธคุณ พระปรมาภิไธยย่อ ภปร.ที่เรียกขานกันว่า "เหรียญพระชัยหลังช้าง" สร้างโดยคณะสงฆ์ทั้ง 2 นิกายในปีมหามงคลเจริญพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ 60 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วันที่ 5 ธ.ค.2530 เหรียญพระชัยหลังช้าง มีเนื้อทองคำ, เนื้อเงิน, เนื้อกะไหล่ทอง มูลเหตุที่นำรูป พระชัยหลังช้างมาจัดสร้างเพื่อเทิดพระเกียรติล้นเกล้าทั้งสอง พระองค์ ด้วยเห็นว่าพระชัย (หลังช้าง) เป็นพระคู่บ้านคู่เมือง คู่บุญญาบารมีของปฐมกษัตริย์แห่งราชจักรีวงศ์ ควรที่ประชาชนจะมีไว้สักการบูชา เพราะเป็นพระพุทธรูปที่มีความศักดิ์สิทธิ์อยู่ในพระองค์ ดังเช่น สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น) อดีตเจ้าอาวาสวัดสามพระยา กรุงเทพฯ ได้ลิขิตไว้ว่า เหรียญพระชัยหลังช้าง "หากอยู่กับบ้านก็คุ้มบ้าน หากอยู่กับตัวก็คุ้มตัว" และเพื่อเป็นการยืนยันคำพูดดังกล่าว ท่านจึงได้จัดพิมพ์หนังสือเรื่อง "ปรากฏการณ์อันน่าพิศวงเกี่ยวด้วย เหรียญพระชัย (หลังช้าง)" ขึ้น โดยรวบรวมเรื่องราวจากผู้ที่ได้รับประสบการณ์จากเหรียญนี้มากมายหลายท่าน

    ครั้นต่อมาในปี ๒๕๓๕ คณะสงฆ์ก็ได้จัดสร้างเหรียญพระชัยหลังช้างขึ้นอีกครั้งอย่างยิ่งใหญ่ไม่น้อยกว่าครั้งแรก โดยเป็นรุ่น สก. เพื่อเฉลิมฉลองศุภวารมหามงคล ที่สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ มีพระชนมายุครบ ๕ รอบ หลวงพี่เอก เจ้าอาวาสวัดเขาแร่ เล่าว่า แม้ครั้งนั้นหลวงพ่อฤๅษีท่านไม่ได้ไปร่วมในพิธีพุทธาภิเษกเช่นครั้งรุ่น ภปร. แต่เจ้าหน้าที่ก็ได้นำเหรียญพระชัยหลังช้างรุ่นนี้มาให้หลวงพ่อเสกถึงวัด


    พิเศษ เหรียญชุดนี้ได้นำติดเข้าพิธีเสกเพิ่มเติม อาทิ
    ครูบาดวงดี วัดบ้านฟ่อน
    ครูบาตั๋น ปัญโญ
    ครูบาศรีวัย วัดหนองเงือก
    ครูบาสุข วัดป่าซางน้อย
    ครูบาอินถา วัดยั้งเมิน
    ครูบาอินตา วัดศาลา
    หลวงพ่อเปลี่ยน ปัญญาปทีโป
    และ ครูบากฤษดา สุเมโธ วัดสันพระเจ้าแดง อีกหลายครั้ง
    (เพื่อเป็นเอกลักษณ์ เหรียญชุดนี้จะตอกโค้ด ๙ เพิ่มเติมให้ครับ)


    เหรียญชุดนี้สวยเดิมเก่าเก็บ น่าบูชาอย่างยิ่ง ควรอาราธนาติดตัวมากครับ

    # ปิดให้คุณkazakiya


    ค่าจัดส่ง 50 บาท โอนไวส่งไวครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSCF6178.JPG
      DSCF6178.JPG
      ขนาดไฟล์:
      499.4 KB
      เปิดดู:
      10,847
    • DSCF6179.JPG
      DSCF6179.JPG
      ขนาดไฟล์:
      654.1 KB
      เปิดดู:
      186
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 ธันวาคม 2013
  5. สายครูบา

    สายครูบา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    4,224
    ค่าพลัง:
    +22,130
    4.พระพุทธนราวันตบพิต 72 พรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ผสมเส้นพระเจ้า(เส้นผม) จีวร และมวลสารจิตรลดา

    [​IMG]

    พระพุทธนราวันตบพิธ เป็นพระที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณให้ประชาชนซึ่งเป็นพสกนิกรของพระองค์ได้มีไว้เป็น สายใยกับพระองค์ท่าน เพราะมีมวลสารสำคัญ คือเส้นพระเจ้า (พระเกศา) ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในมวลสารพระด้วย
    ในวาระอันเป็นมิ่งมงคลสมัยอย่างยิ่งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระ ชนมพรรษา 72 พรรษา ปี 2542 ทรงกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน พระบรมราชานุญาตให้จัดสร้างพระพุทธนราวันตบพิธขึ้น เนื่องจากพระองค์ทรงทราบว่า สมเด็จจิตรดาที่ทรงสร้างด้วยพระองค์เอง มีผู้ต้องการและเสาะแสวงหากันมาก เมื่อมีโอกาสที่เหมาะสมจึงพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้สร้างพระสำหรับ พสกนิกรผู้จงรักภักดีของพระองค์ท่าน โดยให้เป็นพระที่เกี่ยวเนื่องกับพระบาทสมเด็จเจ้าอยู่หัวที่ใครๆ ก็สามารถบูชาได้

    เมื่อคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงผนวชเมื่อปี พ.ศ.2499 ที่วัดบวรนิเวศวิหาร และเสด็จมาประทับ ณ พระปั้นหยา วัดบวรนิเวศวิหาร ได้ทรงสถาปนาพระพุทธปฏิมาประจำพระองค์ไว้ในพระบวรพระพุทธศาสนา

    เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2499 สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ ได้ถวายพระนามพระพุทธปฏิมานี้ว่า "พระพุทธนราวันตบพิธ" ได้เชิญขึ้นประดิษฐานไว้ ณ พระปั้นหยาเป็นพระราชกุศลสืบไป

    องค์พระพุทธนราวันตบพิธ เป็นพระยืนยกพระหัตถ์ทั้งสอง ปางห้ามสมุทร อันเป็นพระประจำพระชนมวาร คือ วันจันทร์ ประทับยืนบนฐานกลมบัวคว่ำบัวหงายบนตั่งแข้งสิงห์เหนือหน้ากระดาน และมีฐานภัทรบิฐ สัญลักษณ์ประจำพระองค์รองอีกชั้นหนึ่ง ความสูงถึงสุดพระรัศมี 36.5 เซนติเมตร ลงรักปิดทองตลอดทั้งองค์พระและฐาน

    คณะกรรมการจัดสร้างขณะนั้น คือ พลอากาศตรีกำธน สินธวานนท์ องค์มนตรี เป็นประธานกรรมการอำนวยการ และนายวัลลภ เจียรวนนท์ กรรมการบริหารเครือเจริญโภคภัณฑ์ เป็นกรรมการดำเนินงาน เพื่อเป็นอนุสรณ์ในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระ ชนมพรรษา 72 พรรษา และเพื่อให้พสกนิกรชาวไทยได้ร่วมบริจาคทรัพย์เพื่อนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวาย โดยเสด็จพระราชกุศลสมทบทุนมูลนิธิชัยพัฒนา เมื่อนำความกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ก็ได้รับพระมหากรุณาธิคุณ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จัดสร้างพระพิมพ์เป็นพระเนื้อผง จากต้นแบบพระพุทธนราวันตบพิธพระพุทธรูปฉลองพระองค์

    ประการสำคัญที่สุดได้พระราชทานมวลสารส่วนพระองค์ โดยเฉพาะเส้นพระเจ้า (เส้นพระเกศาของพระองค์) ให้นำมาผสมในเนื้อพระ เพื่อให้พสกนิกรได้อยู่ใกล้ชิดพระองค์ตลอดไป

    พระเนื้อผงที่จัดสร้างเป็นพระประทับยืนยกพระหัตถ์สองข้างบนพื้นที่ทำเป็นรูป ซุ้มโค้งแหลม สูง 3.2 เซนติเมตร ด้านหลังประดิษฐานตราสัญลักษณ์เฉลิมพระชนมพรรษา 72 พรรษา

    เนื้อหามวลสาร นอกจากเส้นพระเจ้าและมวลสารส่วนพระองค์แล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังพระราชทานมวลสารมหามงคลอีกประการหนึ่งคือ พระจีวรที่องค์ครองคราวเสด็จออกผนวชเมื่อปี พ.ศ.2499 นอกจากนั้น คณะกรรมการยังได้รวบรวมมวลสารจากพระธาตุสำคัญทุกปีเกิด จากวัดสำคัญ 143 วัดทั่วประเทศ สถานที่สำคัญอันได้แก่ ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน ในอินเดียและศรีลังกา นอกจากนี้ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ ก็ได้ทรงพระราชทานมวลสารพุทธมงคลสำคัญมาร่วมสร้างพระพิมพ์พระพุทธนราวันตบ พิธ อีกจำนวนมาก

    สำหรับการผสมมวลสารมหามงคลพระราชทานนั้น อาจารย์อนันต์ สวัสดิ์สวนีย์ ซึ่งเป็นนายช่างแห่งกองช่างสิบหมู่ กรมศิลปกร ได้นำมวลสารมหามงคลทั้ง 3 ประการ มาซอยและย่อยให้เป็นผงละเอียดยิบ เพื่อจะได้ผสมมวลสารอย่างอื่นอย่างทั่วถึง เพราะฉะนั้นประชาชนทุกท่านมีสิทธิ์ได้รับมวลสารมหามงคลอย่างถ้วนทั่วกัน

    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ ทรงเป็นองค์ประธานประกอบพิธีมหาพุทธาภิเศก เมื่อวันจันทร์ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ.2542 โดยสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช ทรงมอบให้สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว) วัดสระเกศ เป็นประธานเจริญพระพุทธมนต์และจุดเทียนชัย มีพระเถระและพระคณาจารย์ รวม 72 รูปทั่วประเทศ อาทิ

    สมเด็จพระมหาธีราจารย์ วัดชนะสงคราม กรุงเทพมหานคร หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ วัดอรัญบรรพตหนองคาย หลวงปู่ท่อน ญาณธโร วัดศรีอภัยวัน เลย หลวงพ่อพวง สุวีโร วัดป่าปูลู สกลนคร หลวงพ่อบุญเพ็ง กัปปโก วัดป่าวิเวกธรรม ขอนแก่น หลวงปู่หงส์ พรหมปัญโญ วัดเพชรบุรี สุรินทร์ หลวงพ่อม่วง วัดยางงาม ราชบุรี หลวงปู่ทิม วัดพระขาว พระนครศรีอยุธยา ฯลฯ


    [​IMG]

    น่าบูชาอย่างยิ่ง ควรอาราธนาติดตัวมากครับ

    # องค์ละ 500 บาท มีด้วยกันแค่ 5 องค์
    - คุณสายลมสีขาว 1 องค์?
    - คุณเวลาน้อย 1 องค์
    - คุณdong2002 1 องค์

    ค่าจัดส่ง 50 บาท โอนไวส่งไวครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSCF6187.JPG
      DSCF6187.JPG
      ขนาดไฟล์:
      448.4 KB
      เปิดดู:
      12,909
    • DSCF6183.JPG
      DSCF6183.JPG
      ขนาดไฟล์:
      469 KB
      เปิดดู:
      219
    • b3fv9.jpg
      b3fv9.jpg
      ขนาดไฟล์:
      101.5 KB
      เปิดดู:
      318
    • thaisellingp6543535n6.jpg
      thaisellingp6543535n6.jpg
      ขนาดไฟล์:
      18.8 KB
      เปิดดู:
      10,445
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 กันยายน 2013
  6. สายครูบา

    สายครูบา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    4,224
    ค่าพลัง:
    +22,130
    5.เหรียญหยดน้ำพระไพรีพินาศ สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราช ปี 2540 บล๊อคกองกษาปณ์

    ปิดรายการ

    [​IMG]

    พระไพรีพินาศ เป็นพระพุทธรูปศิลาขนาดย่อม มีขนาดหน้าพระเพลา๓๓ เซนติเมตร เป็นพระพุทธรูปแบบธยานิพุทธเจ้า ปางประทานพร สมัยศรีวิชัย แต่นักสังเกตบางคนสงสัยว่า “พระพุทธรูป สมัยศรีวิชัย มีเพียงเกตุมาลา เป็นจอมคล้ายสมัยทราวดีเป็นพื้น” พระพุทธรูปองค์นี้ มีผู้นำมาถวายพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ เมื่อยังทรงผนวชอยู่ ราว พ.ศ.๒๓๙๑ ได้ถวายพระนามว่า “พระไพรีพินาศ” ซุ้มเก๋ง ด้านเหนือแห่งพระเจดีย์นั้น เป็นที่ประดิษฐานพระไพรีพินาศ ในการบูรณปฏิสังขรณ์ปีพุทธศักราช ๒๕๐๗-๘ นี้ ทำประตูเหล็ก ๒ ชั้น ช่องหน้าต่างใส่เหล็กทั้งสองข้าง ฝาผนังปิดโมเสก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้ปิดทองพระไพรีพินาศ ในวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๐๘ ด้วย ในหนังสือตำนานวัดมีกล่าวว่า “พระไพรีพินาศ ใคร่ครวญตามพระนามน่าจะได้เชิญประดิษฐานไว้ในเก๋งน้อยที่สร้างใหม่ ณ ทักษิณชั้นบนแห่งพระเจดีย์ในครั้งนั้น เว้นไว้แต่จักได้ประดิษฐานไว้แล้วในครั้งยังทรงผนวชเมื่อ พ.ศ.๒๓๙๑ ที่เป็นคราวสิ้นเสี้ยนศัตรู ครั้งแรก” พระไพรีพินาศ ในสาสน์สมเด็จ เล่ม ๒ หน้า ๘๕-๙๐-๑๑๖ กล่าวว่า สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ ทูลสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ว่า สมเด็จพระวชิรญาณวงศ์ ตั้งปัญหาถามกระหม่อมว่า พระไพรีพินาศนั้น เป็นพระอะไร มาแต่ไหน ทำไมจึงมาอยู่วัดบวรนิเวศ เหตุใดจึงชื่อว่า ไพรีพินาศ เกล้ากระหม่อมหงายท้อง ไม่สามารถตอบได้ อยากรู้เหมือนกัน เคยทูลถามฝ่าพระบาทก็ไม่ทรงทราบเหมือนกัน หันไปหันมาเห็นกรมหมื่นพงศา จึงลองเข้าจดทูลถามดู ตรัสบอกว่า ใครก็ทรงจำชื่อไม่ได้เสียแล้ว เป็นผู้นำมาถวายทูลกระหม่อมเมื่อยังทรงผนวชอยู่ เป็นเวลาติดต่อกับที่หม่อมไกรสรถูกสำเร็จโทษ จึงโปรดตั้งพระนามว่า "พระไพรีพินาศ”
    พระไพรีพินาศเจีดย์ เป็นพระเจดีย์ศิลา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น บรรจุพระพุทธวจนะ ประดิษฐานอยู่ในคูหาภายในพระเจดีย์ใหญ่วัดบวรนิเวศวิหาร เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๐๗ ระหว่างการบูรณะพระเจดีย์ใหญ่ได้เปิดองค์พระไพรีพินาศเจดีย์ดู พบกระดาษสีขาว มีตราแดง ๒ ดวง มีอักษรเขียนว่า "พระสถูปเจดียสิลาบัลลังองค์ จงมีนามว่า พระไพรีพินาศเจดียเทิญ" อีกหน้าหนึ่งเขียนว่า "เพระตั้งแต่ทำแล้วมา คนไพรีก็วุ่นวายยับเยินไปโดยลำดับ"

    คาถาบูชาพระไพรีพินาศ
    อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ สุจิรํ ปรินิพฺพุโต
    คุเณหิ ธรมาโนทานิ ปารมีหิ จ ทิสฺสติ
    ยาวชีวํ อหํ พุทธํ ธมฺมํ สงฺฆํ สรณํ คโต
    ปูเชมิ รตนตฺตยํ ธมฺมํ จรามิ โสตฺถินา.


    # ปิดรายการ

    ค่าจัดส่ง 50 บาท โอนไวส่งไวครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSCF6180.JPG
      DSCF6180.JPG
      ขนาดไฟล์:
      489.1 KB
      เปิดดู:
      9,486
    • DSCF6181.JPG
      DSCF6181.JPG
      ขนาดไฟล์:
      476.2 KB
      เปิดดู:
      137
    • DSCF6182.JPG
      DSCF6182.JPG
      ขนาดไฟล์:
      498.3 KB
      เปิดดู:
      181
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 ธันวาคม 2013
  7. สายครูบา

    สายครูบา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    4,224
    ค่าพลัง:
    +22,130
    6.เหรียญฉลอง 90 พรรษา สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราช

    ปิดรายการ

    [​IMG]

    ตรวจสอบพบว่าในเหรียญรุ่นนี้มีพลังแห่งการต่อชีวิต อิทธิบาท 4 พลิกร้ายเป็นดี ข้อมูลจากเว็บพุทธวงศ์

    [​IMG]
    [​IMG]

    เจ้าประคุณสมเด็จพระญาณสังวรฯ ทรงลงอักขระในแผ่นทองคำ และคณาจารย์ทั่วประเทศ จำนวน 108 รูป ลงอักขระในแผ่นทอง เพื่อนำมาเป็นส่วนผสมในโลหะที่จัดสร้าง
    พิธีพุทธาภิเษกฯ วันที่ 26 กันยายน 2546 เวลา 15.19 น. สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เสด็จทรงเป็นประธานฝ่ายสงฆ์ และทรงจุดเทียนชัย ณ พระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร โดยมี พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เป็นประธานฝ่ายฆราวาส

    นามพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์
    ชุดเดียวกับพระสงฆ์ที่เจริญชัยมงคลคาถาในพิธีเททองฯ

    นามพระสงฆ์สวดพุทธาภิเษก
    1.จากวัดสุทัศน์เทพวราราม
    2.จากวัดนครสวรรค์

    นามพระสงฆ์นั่งบริกรรม เจริญจิตภาวนา
    1.พระอุดมญาณโมลี วัดโพธิสมภรณ์ อุดรธานี
    2.พระธรรมวิสุทธิกวี วัดโสมนัสวิหาร กรุงเทพฯ
    3.พระเทพสุทธิมงคล (หลวงปู่ศรี มหาวีโร) วัดประชาคมวนาราม ร้อยเอ็ด
    4.พระเทพโมลี วัดราชผาติการาม กรุงเทพฯ
    5.พระราชอุดมมงคล (หลวงพ่ออุตตมะ) วัดวังวิเวการาม กาญจนบุรี
    6.พระภาวนาวิศาลเถระ (หลวงปู่บุญมี) วัดสระประสานสุข อุบลราชธานี
    7.พระสุธรรมคณาจารย์ (หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ) วัดอรัญบรรพต หนองคาย
    8.พระมงคลสุนทร (หลวงปู่โถม ) วัดธรรมปัญญาราม สุโขทัย
    9.พระศรีมงคล (หลวงพ่อทอง) วัดสำเภาเชย ปัตตานี
    10.พระมงคลวราจารย์ ( หลวงปู่ธีร์ ) วัดมิ่งเมืองพัฒนาราม ขอนแก่น
    11.พระครูปทุมชัยกิจ (หลวงปู่นะ ) วัดหนองบัว ชัยนาท
    12.พระครูธรรมรัตนวิสุทธิ์ ( หลวงปู่ทอง ) วัดจักรวรรดิราชาวาส กรุงเทพฯ
    13.พระครูธรรมรังษี (หลวงปู่ธรรมรังษี ) วัดเขาพนมดิน สุรินทร์
    14.พระครูสุภัทร์ศีลคุณ (ครูบาดวงดี ) วัดท่าจำปี เชียงใหม่
    15.พระครูวิสุทธิบุญดิตถ์ ( หลวงพ่อนวล ) วัดประดิษฐาราม ปัตตานี
    16.พระครูวิบูลธรรมกิจ (หลวงพ่อบัวเกตุ ) วัดแม่ปาง แม่ฮ่องสอน
    17.พระครูประทีปธรรมสถิต ( หลวงปู่ชอบ ) วัดเขารังเสือ ราชบุรี
    18.พระครูนิพัทธ์ธรรมกิจ ( หลวงพ่อแคล้ว ) วัดบางขุนเทียนนอก กรุงเทพฯ
    19.พระครูวิจารณ์สมถกิจ (หลวงพ่อห้อย ) วัดป่าประชารังสรรค์ ศรีสะเกษ
    20.พระครูนิภาวิหารกิจ ( หลวงพ่อดำ ) วัดใหม่นภาราม นราธิวาส
    21.พระครูปลัดประภักดิ์ วิสุทฺธสีโล วัดมหิงษสุวรรณนิมิต ปัตตานี
    22.พระครูสถิตวีรธรรม ( หลวงพ่อรอด ) วัดสันติกาวาส พิษณุโลก
    23.พระครูนิวิฐมณีวงศ์ ( หลวงพ่อสอาด) วัดเขาแก้ว นครสวรรค์
    24.พระครูพิพัฒน์วิทยาคม ( หลวงพ่อเจริญ ) วัดโนนสว่าง อุดรธานี
    25.พระครูกัลยาณกิจ วัดสุขาวดี ปัตตานี
    26.พระหลวงปู่สวน วัดนาทม อุบลราชธานี
    27.พระหลวงปู่จันทร์โสม วัดป่านาสีดา อุดรธานี
    28.พระหลวงพ่อเอียด วัดโคกแย้ม พัทลุง
    29.พระหลวงปู่โทน วัดเขาน้อยคีรีวัน ชลบุรี
    30.พระหลวงปู่สอ พนฺธุโล วัดเขาหนองแสง ยโสธร
    31.พระหลวงพ่อเพี้ยน อคฺคธมฺโม วัดเกริ่นกฐิน ลพบุรี
    32.พระหลวงพ่อประดับ ปริญฺญาโน วัดป่าประดับทรงธรรม สกลนคร
    33.พระหลวงพ่อโพธิ์ วัดคลองมอญ ชัยนาท
    34.พระอาจารย์ธรรมนูญ วัดมณีชลขันธ์ ลพบุรี

    นามพระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา พิธีเททองหล่อพระพุทธรูปประจำพระชนมวาร
    พระกริ่ง – ชัยวัฒน์ – ครอบน้ำมนต์ คชวัตร
    พระพุทธชินสีห์ พระรัศมีพระพุทธชินราช และ พระรูปเหมือน
    19 มิถุนายน 2546
    ณ พระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร เวลา 17.49 น.
    ในวโรกาสสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช ทรงเจริญพระชนมายุ 90 พรรษา
    1.สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) วัดสระเกศ
    2.สมเด็จพระมหาธีราจารย์ (นิยม ฐานิสฺสโร) วัดชนะสงคราม
    3.สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ) วัดปากน้ำ
    4.สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (พุฒ สุวฑฺฒโน) วัดสุวรรณาราม
    5.สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (ประจวบ กนฺตาจาโร) วัดมกุฎกษัตริยาราม
    6.สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (มานิต ถาวโร) วัดสัมพันธวงศาราม
    7.พระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกโร) วัดเทพศิรินทราวาส
    8.พระธรรมวโรดม (บุญมา คุณสมฺปนฺโน) วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม
    9.พระวิสุทธาธิบดี (วีระ ภทฺทจารี) วัดสุทัศนเทพวราราม
    10.พระวิสุทธิวงศาจารย์ (พลอย ญาณสํวโร) วัดเทพธิดาราม
    11.พระสาสโสภณ (อัมพร อมฺพโร) วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม
    12.พระธรรมปัญญาจารย์ (สุพจน์ ปภสฺสโร) วัดราชผาติการาม
    13.พระธรรมเมธาจารย์ (คณิศร์ เขมวํโส) วัดบุณณศิริมาตยาราม
    14.พระธรรมวิสุทธิกวี (พิจิตร ฐิตวณฺโณ) วัดโสมนัสวิหาร
    15.พระธรรมกวี (ลือชัย คุณวุฑฺโฒ) วัดราชาธิวาส
    16.พระธรรมสิทธิเวที (เสนาะ ปญฺญาวชิโร) วัดสระเกศ
    17.พระธรรมกิตติเมธี (จำนง ธมฺมจารี) วัดสัมพันธวงศาราม
    18.พระธรรมวรเมธี (สุชิน อคฺคชิโน) วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม
    19.พระเทพวิมลโมลี (เชิด จิตฺตคุตฺโต) วัดสุทัศนเทพวราราม


    # ปิดรายการ

    ค่าจัดส่ง 50 บาท โอนไวส่งไวครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSCF6189.JPG
      DSCF6189.JPG
      ขนาดไฟล์:
      592.2 KB
      เปิดดู:
      17,304
    • DSCF6190.JPG
      DSCF6190.JPG
      ขนาดไฟล์:
      456.2 KB
      เปิดดู:
      198
    • DSCF6192.JPG
      DSCF6192.JPG
      ขนาดไฟล์:
      452.9 KB
      เปิดดู:
      349
    • Capture.JPG
      Capture.JPG
      ขนาดไฟล์:
      204.8 KB
      เปิดดู:
      18,066
    • Capture2.JPG
      Capture2.JPG
      ขนาดไฟล์:
      125.4 KB
      เปิดดู:
      18,223
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 ธันวาคม 2013
  8. อภิญญา8

    อภิญญา8 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    1,864
    ค่าพลัง:
    +6,799
    ขอบูชาเหรียญสมเด็จพระสังฆราช 90 พรรษา 2 เหรียญ นะครับ
     
  9. myjoy

    myjoy เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    68
    ค่าพลัง:
    +114
    ขอจอง เหรียญสมเด็จพระสังฆราช 90 พรรษา 1 เหรียญ นะครับ
     
  10. sritrang

    sritrang เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2013
    โพสต์:
    6,139
    ค่าพลัง:
    +1,620
    มีพระเกศาให้เห็นหรือเปล่าครับ
     
  11. สายครูบา

    สายครูบา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    4,224
    ค่าพลัง:
    +22,130
    รับทราบครับผม
     
  12. สายครูบา

    สายครูบา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    4,224
    ค่าพลัง:
    +22,130
    รับทราบครับผม
     
  13. สายครูบา

    สายครูบา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    4,224
    ค่าพลัง:
    +22,130
    ชุดนี้ไม่เห็นเส้นพระเจ้าบนผิวพระครับผม
     
  14. ake7440

    ake7440 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,528
    ค่าพลัง:
    +405
    จองครับ เหลือกี่องค์ครับ ผมขอปิดหมดครับ
     
  15. สายลมสีขาว

    สายลมสีขาว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    154
    ค่าพลัง:
    +144
    ขออนุญาติจองรายการนี้ครับ
     
  16. สายลมสีขาว

    สายลมสีขาว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    154
    ค่าพลัง:
    +144
    จองรายการนี้ครับ
     
  17. เวลาน้อย

    เวลาน้อย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มกราคม 2012
    โพสต์:
    281
    ค่าพลัง:
    +449
    1.เหรียญพระชัยหลังช้าง ภปร ปี 30 เหรียญดีราคาเบาที่รวมสุดยอดความเป็นมงคล
    4.พระพุทธนราวันตบพิต 72 พรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ผสมเส้นพระเจ้า(เส้นผม) จีวร และมวลสารจิตรลดา
    จองอย่างละ 1 เหรียญ
     
  18. สายครูบา

    สายครูบา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    4,224
    ค่าพลัง:
    +22,130
    ทั้ง 2 รายการจองอย่างละองค์ หรือปิดทุกองค์ครับผม
     
  19. สายครูบา

    สายครูบา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    4,224
    ค่าพลัง:
    +22,130
    รับทราบการจองครับ
     
  20. dong2002

    dong2002 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2012
    โพสต์:
    166
    ค่าพลัง:
    +2,600
    จองพระพุทธนราวันตบพิต 72 พรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ผสมเส้นพระเจ้า(เส้นผม) จีวร และมวลสารจิตรลดา 1 องค์ครับ

    ขอโอนวันจันทร์นะครับ
     
สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้

แชร์หน้านี้

Loading...