อารมณ์ สมาธิระดับฌาน 4

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย Dewmaytung, 24 ตุลาคม 2015.

  1. Saber

    Saber เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    5,941
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +11,819
    อรูปสมาบัติหรืออรูปฌาน

    ๑. อากาสานัญจายตะ เพ่งอากาศ ๆ เป็นอารมณ์
    ๒. วิญญาณัญจายตะ กำหนดหมายเอาวิญญาณเป็นอารมณ์
    ๓. อากิญจัญญายตนะ กำหนดว่าไม่มีอะไรเลยเป็นอารมณ์
    ๔. เนวสัญญานาสัญญายตนะ กำหนดหมายเอาการไม่มีวิญญาณ คือไม่รับรู้รับทราบ
    อะไรเลยเป็นสำคัญ
    ทั้ง ๔ อย่างนี้เรียกว่าอรูปฌาน เพราะการเจริญไม่กำหนดหมายรูปเป็นอารมณ์ กำหนด
    หมายเอาความไม่มีรูปเป็นอารมณ์ จึงเรียกว่าอรูปฌาน ถ้าเรียกเป็นสมาบัติ ถ้าเรียก


    การที่จะปฏิบัติ
    . อากาสานัญจายตะ นั้นก็คือต้องเพ่งในอารมณ์ อรูปฌานนั้นๆ ครับ

    ไม่ใช่ไปเกิดจากจิต แผ่ขยายอะไรนั้นหรอกครับ

    และไ


    ละการที่บอกว่า

    จิตที่เป็นดวงขาวนวล สว่าง จะขยายครอบจักรวาล กว้างใหญ่ ไม่มีประมาณ

    นี่ก็ไม่ใช่การ ไม่ใช่วิธีการเข้า อรูปฌาน หรอกครับ

    เพราะการที่จะเข้า อรูปฌานนั้น เค้าต้องละรูปทิ้งไป เพื่อไปจับอารมณ์ อรูปฌานขึ้นไปต่อนั้นเอง ไม่มีทางที่จะเอารูป รูปดวง รูปจิต แผ่อะไรใดๆ หรอกครับ




    ช่วงแรกของเล่ม "งานฉลองวัดหนองบัว"
    สนทนากับพระเล็ก สุธมฺมปญฺโญ
    เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๔๖(ต่อ)
    ณ บ้านอนุสาวรีย์ฯ



    ถาม : อากาสานัญจายตนะ กับ วิญญาณัญจายตนะ จับความว่างจับอย่างไร ?

    ตอบ : อากาสานัญจายตนะ เขารู้สึกว่า อากาศกว้างใหญ่ไพศาลดี ไม่มีขอบเขตเป็นเครื่องบังคับ เลยเปลี่ยนจากรูป ซึ่งมีขอบเขตกำหนด ขอบเขตบังคับ ไปจับความกว้างขวาง ไร้ขอบเขตของอากาศแทน ถ้าคำภาวนาเขาใช้ว่า "อากาสาอนันตา" นึกถึงความว่างของอากาศไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งกำลังใจทรงเป็นฌาน ๔ เต็มระดับ แล้วก็ลดลงมาจับภาพใหม่ แล้วก็เพิกภาพนั้นเสีย ตั้งใจภาวนาจับอารมณ์อย่างนั้นใหม่ ทำบ่อย ๆ จนอารมณ์ใจคล่องตัว นึกเมื่อไหร่ ? ได้เมื่อนั้น


    คำภาวนาเขาใช้ว่า "อากาสาอนันตา" นึกถึงความว่างของอากาศไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งกำลังใจทรงเป็นฌาน ๔ เต็มระดับ

    แล้วก็ลดลงมาจับภาพใหม่ แล้วก็เพิกภาพนั้นเสีย ตั้งใจภาวนาจับอารมณ์อย่างนั้นใหม่ ทำบ่อย ๆ จนอารมณ์ใจคล่องตัว นึกเมื่อไหร่ ? ได้เมื่อนั้น

    จะไป อรูปฌานได้ ต้องมีความสามารถ คล่องตัวใน รูปฌานสี่ทั้งสี่ เต็มกำลัง ครับ

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 ตุลาคม 2015
  2. Saber

    Saber เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    5,941
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +11,819

    คู่มือปฏิบัติพระกรรมฐาน ๔๐ กอง

    โดย พระราชพหรมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ)


    อรูปฌาน ๔

    ๑. อากาสานัญจายตนะ

    การอธิบายในอรูป ๔ นี้ ขอกล่าวแต่พอเป็นแนวเล็กน้อยเท่านั้น เพราะเป็นกรรมฐานละเอียด
    ทั้งผู้ที่จะปฏิบัติก็ต้องทรงอภิญญามาก่อน

    อากาสานัญจายตนะนี้ ท่านกล่าวไว้ในวิสุทธิมรรคว่า

    ก่อนที่จะเจริญอรูปอากาสานัญจายตนะนี้ ท่านจะเข้าจตุตถฌานในกสิณกองใดกองหนึ่งแล้วให้เพิก คือไม่สนใจในกสิณนิมิตนั้นเสียใคร่ครวญว่ากสิณนิมิตนี้เป็นอารมณ์ที่มีรูปเป็นสำคัญความสุข ความทุกข์ที่เป็นปัจจัยของภยันตราย มีรูปเป็นต้นเหตุ เราไม่มีความต้องการในรูปแล้วละรูปนิมิตกสิณนั้น ถืออากาศเป็นอารมณ์จนวงอากาศเกิดเป็นนิมิตที่มีขอบเขตกว้างใหญ่ แล้วย่อให้สั้นลงมา อธิษฐานให้เล็กใหญ่ได้ตามประสงค์ ทรงจิตรักษาอากาศไว้โดยกำหนดใจว่าอากาศหาที่สุดมิได้ดังนี้ จนจิตเป็นอุเบกขารมณ์ เป็นฌาน ๔ ในอรูปฌาน



     
  3. Dewmaytung

    Dewmaytung สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2015
    โพสต์:
    42
    ค่าพลัง:
    +20
    555 อย่าเอาตำรามาพูดกับผมมากครับ อยากให้ปฏิบัติให้ถึงแล้วพูดจากประสบการณ์ตนเองครับ อากาสาในตำรา กับอารมณ์ปฏิบัติจริงมันแตกต่างกัน ตำราคนเขียนอาจไม่สามารถบรรยายสิ่งที่เกิดขึ้นได้ครับ
    อาการสมาธิของผมตั้งแต่ฌาน 1-4 หรือ อรูปฌาน มันเป็นของมันเองไม่ได้กำหนดให้เป็น เป็นไปโดยธรรมชาติ ไม่มีความอยาก วันไหนอยากก็เข้าไม่ได้ วันไหนไม่อยากก็เข้าได้ครับ
     
  4. Saber

    Saber เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    5,941
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +11,819
  5. Dewmaytung

    Dewmaytung สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2015
    โพสต์:
    42
    ค่าพลัง:
    +20
    ขอบคุณ คุณ saber ที่คุยกันตั้งแต่เช้ายันดึกครับ 555
    พ่อแม่ครูจารย์ผมสอนให้การนั่งสมาธิให้ละสิ่งแรก คือ ความอยากครับ คนอยากมักไม่ได้ คนไม่อยากมักจะได้นะครับ
     
  6. เอกวีร์

    เอกวีร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    3,972
    ค่าพลัง:
    +3,241
    ม่ายฉ่ายๆ


    คุณ จขกท ต้องอิงกลับไปที่ ธรรมวินัย สิ่งที่คนสมัยพุทธกาลใช้

    หน้าที่ของ ชาวพุทธจะมีแค่สองอย่าง ในการภาวนาให้ถึงที่สุดแห่งทุกข์

    คือ คันธุระ กับ วิปัสสนาธุระ

    คือมุ่งประโยขน์อนุชนรุ่นหลังพร้อมประโยชนตย กับ
    มุ่งประโยชนตนก่อนเปนสำคัญ


    อย่างคุณปรารภว่า ต้องไม่อยาก

    อันนี้ถือว่า มุ่งกำจัดกิเลสตน มุ่งประโยชนตน เท่านี้
    ก็เรียกว่า วิปัสนาอยู่

    อย่าไปแยก สมถะ วิปัสสนา

    สมมติว่าสำเร็จฌาณ เหาะในอากาสแล้วแลอยู่
    หรือ อยุ่สุข คืออะไร

    คือ แลความอยาก ความพอใจ โสมนัส ที่มันเกิด

    ถ้าแลอยุ่ เหนอยุ่ว่า ความพอใจจากการสำเร็จมันเกิดแล้วก็ดับ

    จิตไม่โดนความพอใจมันครอบงำจิต นี่คือ แลอยู่

    อยุ่สุข คือ เหนว่าพ้น ความพอใจอยุ่ พ้นอยากอยุ่ จึงมีสุข

    เหาะอยุ่ แล้วกำหนดรู้ อภิชญา โทมนัสได้ มีสุข
    เพราะตัณหาไม่ครอบงำ มานะไม่เกิด กุเก่งไม่มี

    เหาะได้ก็เพราะมันเปนวิบากอะนเกิดจากปัจจัย ดปนเพียงสังขาร
    มีสังขารุเบกขา ก็อาาจะสำเร็จสมาธิพุทธขณะเหาะ เปนต้น

    แต่คนฉลาด มีศรัทธา ท่านก็ทำ คันธุระ
    สึกษา และ เทสนาอยุ่ก้กำหนดรู้ อยาก

    หากยกได้ ก้มีปิติสุข อุเบกขา สามารถสำเร็จ
    สมาธิพุทธได้ขณะฟัง ขณะเทสนา มีวิปัสสนา
    ได้ มีวิมุติได้

    ดังนัน อย่าประมาทคนอ่านตำรา

    แต่ให้ประนามคนขนตำราเพื่อ ฟาดหัวพระ อาจรย์ คนนั้นที
    คนนี้ที ขึ้นว่า คุ่สนทนาเรียนมาทางไหน ก้จะเอา
    คำพูดที่ดุคัดง้างมายก แล้วก็เพลิน การกดเบาๆ ที่แฝง
    เอาใว้ในหัว สำเร็จความใคร่แบบ เซเบลอ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 ตุลาคม 2015
  7. เอกวีร์

    เอกวีร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    3,972
    ค่าพลัง:
    +3,241
    จขกท ตอนที่กล่าวว่า

    ตำรา แตกต่างจากของจริงมาก

    อันนี้ฝากพินาว่า ตอนนั้นจิตยึดส่วนผล หรือ กำลังสรรเสรญ มรรค


    ถ้าสรรเสริญมรรค เปนไปไดหรือ ที่เหนตำรา ห่วยแตก

    ระวังหน่าคร้าบ ที่ว่าอย่าอยาก ไม่ทันมันแล้วหละ
     
  8. Sriaraya5

    Sriaraya5 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    3,079
    ค่าพลัง:
    +12,852
    พระอริยครูของเราหลวงปู่พระอุตตระ สอนเป็น
    อยู่ปกติว่าฌาน 3
    จิตกำลังจะแยกออกจากกาย ฌาน 4
    จิตแยกออกจากกายแล้ว ประสบการณ์ที่เคยมีอยู่
    เป็นอยู่ จิตเมื่อแยกออกจากกายไปแล้ว
    เมื่อส่องออกไปข้างนอก ความรู้ความเห็น
    จะไปเกี่ยวเนื่องอยู่กับ มิติโลกวิญญาณ
    มิติหลากหลายประเภท ที่ล้วนแต่มีกายทิพย์
    ความรู้ข้างนอก ต่อให้ส่องดูรู้ทั่วในสามโลก
    ก็ไม่เท่า รู้ในอริยสัจ 4 ในตัวเอง ส่องตนให้เห็นตน
    เห็นตน ก็เห็นหมด รู้หมดรอบในกองสังขาร
    เห็นร่างกายเห็นความคิด เพราะเห็นเหตุหมด
    เหตุปัจจัยปรุงแต่งก็ดับลงไปด้วย ความคิดปรุง
    แต่งก็ไม่มี ท่านผู้เจริญ
     
  9. Dewmaytung

    Dewmaytung สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2015
    โพสต์:
    42
    ค่าพลัง:
    +20
    สาธุ ครับ
     
  10. เอกวีร์

    เอกวีร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    3,972
    ค่าพลัง:
    +3,241
    สาธุคำสอน พระสีอารย์ สาสสดาหลงยุค หรือฮับ

    พระพุทธองค์ หายไปพรหมโลกด้วยกายเนื้อ

    ฌาณสี่ สันตี!! จิตแยกจากกายนอนละเมอ
     
  11. Dewmaytung

    Dewmaytung สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2015
    โพสต์:
    42
    ค่าพลัง:
    +20
    คุณเอกวีร์ พระพุทธเจ้าท่านเป็นผู้ทรงอภิญญาหาประมาณมิได้ ไปที่ไหนทุกที่ได้ด้วยกายเนื้ออยู่แล้ว
    แต่ที่คุณศรี พูดนั่น คือ อาการของสมาธิครับ เมื่อจิตสงบ จิตจะแยกออกจากกาย เลิกสนอารมณ์ทางกายเหลือแต่จิต หรือทิ้งขัน 5 นั่นเอง
     
  12. เอกวีร์

    เอกวีร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    3,972
    ค่าพลัง:
    +3,241
    เรียนธรรม แบบตรรกศาสตร

    มันก้จะสร้าง ยึดคำสอน สันตี เปนธรรม

    เพื่อให้สบประโยชน กิเลสตน

    แทนที่จะอิสระจากบัญญัต

    ก็เลยโดนขันธ์5 มันแหกตา

    เท่านี้ใช่ อย่างอื่นเปล่า

    แบ่งโลกเปนสอง มีนาย มีบ่าว เสร้จมัน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 ตุลาคม 2015
  13. เอกวีร์

    เอกวีร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    3,972
    ค่าพลัง:
    +3,241
    ไปพรหมโลกพร้อมกายเนื้อ

    พระพุทธองค์ จรนัย สิ่งที่ทำได้ ครั้งเปนโพธิสัตว ไม่ได้เปนอรหันต์

    ทำได้หลายชาติ ไม่ใช่ชาติเดียว และไม่ได้เกี่ยวสอะไรกับ ปฐมฌาณ เพราะกามสัญญายังมีในจิต ไม่ได้ละกิเลส

    แล้วจะเอา ฐานะอะไร. ไปพ้น ขันธ์๕


    หากพอใจเอออวย ยกศาสดาใหม่ว่าสอนถูก เพราะก้อปปี้ถุก

    ผมก็จะถือว่า คุณพอใจ อธรรม สัทธรรมปฏิรุป มากกว่าปฏิบัติธรรม

    เช่นนั้น ก้ขออภัย ขอกราบเท้าลา
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 ตุลาคม 2015

แชร์หน้านี้

Loading...