พระพุทธคุณสายกรรมฐาน หลวงตามหาบัว หลวงพ่อสังวาลย์ หลวงพ่อเกษม และอริยสงฆ์อีกมากมาย

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย topnank, 27 มกราคม 2016.

  1. topnank

    topnank เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,899
    ค่าพลัง:
    +874
    รายการที่ 87 ปิดรายการนี้
    หลวงพ่อเกษม รุ่นเทิดพระเกียรติ รัชกาลที่ 5 วัดหัวลำโพง กทม.
    ให้บูชา 150 บาท

    เหรียญ ร 5ทรงยินดี วัดหัวลำโพง ปี2535

    หลวงพ่อเกษม ปลุกเสกประกอบพิธีอธิษฐานจิตเป็นปฐมฤกษ์โดยครูบาเจ้าเกษม เขมโก

    เมื่อวันที่ 23 ตค. 2535

    และวันที่ 28 พย. 2535 ณ.สุสานไตรลักษณ์ ลำปาง รวมเป็น 2 ครั้งที่หลวงพ่อ ปลุกเสก

    และประกอบพิธีพุทธาภิเษกครั้งสุดท้าย ณ.วัดหัวลำโพง วันเสาร์ที่ 19 ธันวาคม 2535

    โดยหลวงพ่อเปิ่น วัดบางพระ เป็นองค์ประธานจุดเทียนชัย และพระเกจิอาจารย์จำนวนมากร่วมพิธีอธิฐานจิตปลุกเสก อาทิ

    ลพ.แพ วัดพิกุลทอง

    ลพ.หยอด วัดแก้วเจริญ

    ลพ.เก๋ วัดแม่น้ำ

    ลป.คำพัน วัดธาตุมหาชัย

    ลพ.อุตตะมะ วัดวังวิเวการาม

    ลป.บุดดา วัดกลางชูศรีฯ

    ลพ.เชิญ วัดโคกทอง

    ลพ.มี วัดมารวิชัย

    ลพ.ยิด วัดหนองจอก

    ลป.ดี วัดพระรูป

    ลพ.จวน วัดหนองสุ่ม

    ลพ.โง่น วัดพระพุทธบาท

    ลพ.พุธ วัดป่าสาละวัน ฯลฯ
    เนื้อโลหะมีส่วนผสมของผงตะไบพระกริ่งเก่าวัดสุทัศน์นับสิบรุ่นซึ่งได้รับมอบจากอาจารย์นิรันดร์ แดงวิจิตร จำนวนหลายกิโลกรัม และเหรียญสตางค์เก่า ร.5 หนักนับสิบกิโลกรัม ตลอดจนแผ่นพระยันต์ 108 แผ่นจากพระเกจิอาจารย์ชื่อดังทั่วประเทศ
    พิธีใหญ่ แบบนี้หาไม่ได้อีกแล้วนะครับ พลังจิตแบบเต็ม ๆ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 01.jpg
      01.jpg
      ขนาดไฟล์:
      50.1 KB
      เปิดดู:
      176
    • 02.jpg
      02.jpg
      ขนาดไฟล์:
      47.8 KB
      เปิดดู:
      157
    • 2016-03-27 21.14.15 (Small).jpg
      2016-03-27 21.14.15 (Small).jpg
      ขนาดไฟล์:
      33 KB
      เปิดดู:
      130
    • 51.jpg
      51.jpg
      ขนาดไฟล์:
      70.3 KB
      เปิดดู:
      148
    • 50.jpg
      50.jpg
      ขนาดไฟล์:
      79.6 KB
      เปิดดู:
      228
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 พฤษภาคม 2016
  2. topnank

    topnank เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,899
    ค่าพลัง:
    +874
    เงื่อนไขการจอง-โอนเงินค่าบูชาภายใน 5 วัน หรือยังไม่พร้อมขอยืดเวลาไปอีกได้(เมล์แจ้งทางอินบล๊อค)
    -ค่าจัดส่งแบบEMS 50 บาท/ครั้ง
    -หากบูชาพระ 3 รายการขึ้นไป ส่งฟรี

    โอนเงินเข้าบัญชี

    ไพโรจน์ จั่นเจริญ
    ธนาคารกสิกรไทย สาขาล้าดพร้าว 10
    เลขที่บัญชี 7522091507
     
  3. topnank

    topnank เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,899
    ค่าพลัง:
    +874
    รายการที่ 88 ปิดรายการนี้
    หลวงปู่หลวง รุ่นแรก วัดป่าสำราญนิวาส ลำปาง เนื้อเงิน ลงจาร
    ให้บูชา 4,000 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 พฤษภาคม 2016
  4. โคมไฟ

    โคมไฟ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2014
    โพสต์:
    40
    ค่าพลัง:
    +76
    จองรายการที่ 50
    หลวงพ่อเกษม รุ่น 6 รอบ สมทบทุนสร้างโรงพยาบาลสงฆ์ ปี2526 พิมพ์ใหญ่+เล็ก
     
  5. topnank

    topnank เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,899
    ค่าพลัง:
    +874
    รับทราบการจอง ขอบคุณครับ
     
  6. topnank

    topnank เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,899
    ค่าพลัง:
    +874
    รายการที่ 89 ปิดรายการนี้
    หลวงพ่อเกษม ล๊อคเก็ครูปหัวใจ 2 องค์ (ออกประมาณปี พศ.2528-30 ประมาณนี้ครับ ทันหลวงพ่อ)
    ให้บูชา 350 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 เมษายน 2016
  7. topnank

    topnank เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,899
    ค่าพลัง:
    +874
    รายการที่ 90
    หลวงพ่อเกษม ช้างสามเศียร พิมพ์ใหญ่
    ให้บูชา 200 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  8. topnank

    topnank เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,899
    ค่าพลัง:
    +874
    รายการที่ 91
    หลวงปู่มั่น ไม่ทราบปี เนื้อทองแดง
    ให้บูชา 400 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  9. topnank

    topnank เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,899
    ค่าพลัง:
    +874
    EQ183604628TH 01/4/59
     
  10. topnank

    topnank เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,899
    ค่าพลัง:
    +874
    รายการที่ 92 พระ 25 ศตวรรณ เนื้อชิน เลี่ยนเดิม ๆ
    ให้บูชา 1,800 บาท
    ประวัติ พระฉลอง 25 ศตวรรษ

    พระฉลอง 25 ศตวรรษ ในปีพุทธศักราช 2500 พระพุทธศาสนา ยุคกาลได้ล่วงพ้นเป็นเวลา “2,500 ปี” รัฐบาลสมัยนั้นนำโดยนายกรัฐมนตรี จอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้จัดงานฉลองทั้งภาครัฐบาลและประชาชนทั่วพระราชอาณาจักรโดยในกรุงเทพมหานคร กำหนดจัดงานเฉลิมฉลองเป็นงานใหญ่ที่ ท้องสนามหลวง เป็นเวลา 7 วัน 7 คืนเรียกว่างาน “เฉลิมฉลอง 25 พุทธศตวรรษ” ตั้งแต่วันที่ 12-18 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 (ในช่วงเทศกาลวันวิสาขบูชา) ส่วนการเฉลิมฉลองใน ภาคประชาชน จัดให้มีการ สวดมนต์ภาวนา, รักษาศีล, ทำบุญทำทาน ทางด้าน ภาครัฐบาล จัดให้มีการ บูรณะวัดและปูชนียสถานที่สำคัญ ทางพระพุทธศาสนาพร้อม การอภัยโทษปลดปล่อยผู้ต้องหา และการ นิรโทษกรรมและล้างมลทิน แก่ผู้กระทำความผิดบางจำพวกและการจัดสถานที่อันเป็นการ อภัยทานแก่สัตว์ เพื่อปลอดจากการถูกทำลายล้างชีวิตโดยได้ทำการเผยแพร่การจัดงานไปยังนานาประเทศ พร้อมเชิญผู้แทนรัฐบาลจากทุกประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนา และผู้แทนองค์การทางพระพุทธศาสนาในประเทศต่าง ๆ มาร่วมพิธีฉลองด้วย ผลการดำเนินงานของคณะกรรมการจัดงานที่นำโดย จอมพล ป.พิบูลสงคราม ที่สำเร็จเป็นรูปธรรมในครั้งนั้นได้แก่ 1. การจัดซื้อที่ดินสร้างพุทธมณฑล 2. การวางผังพุทธมณฑล 3. การออกแบบองค์พระพุทธรูปพระประธานพุทธมณฑล 4. รัฐพิธีก่อฤกษ์พุทธมณฑล 5. การสร้างพระเครื่องและวัตถุมงคลอื่น ๆ 6. การจัดงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ ระหว่าง 12-18 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 เป็นเวลา 7วัน 7 คืน ที่อ้างอิงมาก็เพื่อนำพาผู้อ่านย้อนถึงมูลเหตุของการจัดสร้าง “พุทธมณฑล” จะได้เข้าใจอย่างชัดเจนเพราะการสร้างพุทธมณฑลมีมากมายหลายแง่มุม ซึ่งวันนี้ผู้เขียนจะกล่าวถึงเฉพาะการสร้างพระเครื่อง “ฉลอง 25 พุทธศตวรรษ” อันเป็นวัตถุมงคลที่เกี่ยวเนื่องกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จฯทรงประกอบพิธีเททองและ กดพระพิมพ์เป็นปฐมฤกษ์ ส่วนมูลเหตุในการจัดสร้างพระเครื่องฉลอง “25 พุทธศตวรรษ” สืบเนื่องมาจากค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างพุทธมณฑลที่คณะกรรมการได้ประมาณการไว้ “25 ล้านบาท” แต่กระทรวงการคลังจัดสรรเงินงบประมาณขั้นต้นไว้ “4,280,000 บาท” เท่านั้นซึ่งไม่เพียงพอในการก่อสร้าง คณะกรรมการจัดงานจึงลงมติให้มีการจัดสร้าง “พระเครื่องฉลอง 25พุทธศตวรรษ” พร้อม “พระพุทธรูปและวัตถุมงคลอื่น ๆ” เพื่อสมนาคุณแก่ผู้มีจิตศรัทธาบริจาคเงินสมทบในการสร้างพุทธมณฑลและเป็นที่ระลึกในงาน “ฉลอง 25 พุทธศตวรรษ” โดยการจัดสร้างวัตถุมงคลในครั้งนี้คณะกรรมการได้กราบทูล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เสด็จฯทรงประกอบพิธีเททองหล่อ “พระพุทธรูป” และทรงกดพิมพ์ “พระพิมพ์เนื้อดิน” เป็นปฐมฤกษ์โดยหนังสือ “พุทธมณฑลเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช” ได้บันทึกเหตุการณ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จฯทรงประกอบพิธีหล่อพระพุทธรูปและทรงกดพิมพ์พระเป็นปฐมฤกษ์ ดังนี้ “วันที่ 11 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2500 เวลา 16 นาฬิกา 30 นาที พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ สยามินทราธิราชบรมนาถบพิตรมหาราช เสด็จพระราชดำเนินมายังวัดสุทัศน์เทพวราราม เสด็จขึ้นบนพระวิหาร ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการ บูชาพระศรีศากยะมุนี แล้วเสด็จฯไปยังพระอุโบสถ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการบูชาพระรัตนตรัย สมเด็จพระราชาคณะและพระราชาคณะถวายศีลจบแล้วเจริญพระพุทธมนต์ ทรงจุดเทียนมหามงคล โหรบูชาฤกษ์ เวลา 17 นาฬิกา 4 นาที 8 วินาทีถึงเวลา 17 นาฬิกา 17 นาที เสด็จพระราชดำเนินไปยังมณฑลพิธีหน้าพระอุโบสถทรงเททองหล่อ “พระพุทธรูปทองคำแบบพุทธลีลา 4 องค์” และทรงพิมพ์พระเครื่องฉลอง 25 พุทธศตวรรษชนิด “พระเนื้อดินผสมผงเกสร 30 องค์” เป็นปฐม ฤกษ์โหรลั่นฆ้องชัย เจ้าพนักงานประโคมสังข์แตรและดุริยางค์ สมเด็จพระราชาคณะและพระราชาคณะ 25 รูป เจริญชัยมงคลคาถา พระมหาราชครูพิธีศรีวิสุทธิคุณหลั่งน้ำสังข์ เสด็จพระราชดำเนินกลับเข้าพระอุโบสถ สมเด็จพระราชาคณะและพระราชาคณะถวายอดิเรก จบแล้วเสด็จพระราชดำเนินกลับ พระสงฆ์ 25 รูปเจริญพระพุทธมนต์จบแล้ว “พระคณาจารย์ 108 รูป” นั่งปรกปลุกเสกสรรพสิ่งของบรรจุพุทธาคมต่อตลอดคืน” จากบันทึกดังกล่าวทำให้ทราบว่าพระเครื่อง “ฉลอง 25 พุทธศตวรรษ” มีความเป็นสิริมงคลที่สำคัญยิ่งอีกรุ่นเพราะได้รับพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าฯจาก พระบาทสม เด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จฯทรงประกอบพิธีเททองหล่อ “พระพุทธรูป” และกดพิมพ์พระเครื่อง “เนื้อดินผสมผง” (พิมพ์ปางลีลา) เป็นปฐมฤกษ์ อีกทั้งได้ทราบการพิมพ์พระเครื่องและพระพุทธรูปดังกล่าวล้วนจัดสร้างขึ้นที่ วัดสุทัศน์ฯ ดังบันทึกในหนังสือเล่มเดียวกันว่า “คณะกรรมการจัดสร้างพระเครื่องในงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ ได้สร้างโรงงานให้ผู้รับจ้างพิมพ์พระได้ทำงานอยู่ในบริเวณวัดสุทัศน์ เทพวราราม ด้วยประสงค์จะให้พระพุทธรูปดังกล่าวได้จัดทำอยู่ในปริมณฑลพิธี หรือในเขตพระอารามโดยตลอดและสะดวกต่อการควบคุมดูแล เพราะใช้เวลาสร้างพระเครื่อง 3 เดือนเศษ จึงแล้วเสร็จ และได้ประกอบพิธีพุทธาภิเษกอีกเป็นครั้งที่ 2” ดังนั้นวัตถุมงคล “ฉลอง 25 พุทธศตวรรษ” จึงนับเป็นวัตถุมงคลมีคุณค่าที่ถึงพร้อมด้วย พระพุทธคุณ, พระธรรมคุณ, พระสังฆคุณ และ พระมหากษัตราธิคุณ ส่วนรายพระนามและรายนามพระเกจิอาจารย์ที่มาร่วมพิธีพุทธาภิเษกขออนุญาตไม่เอ่ยถึง เพราะมีจำนวนมากครับ จึงเสนอเฉพาะในแง่มุมที่เกี่ยวเนื่อง “พระมหากษัตราธิคุณ” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระผู้ทรงถึงพร้อมด้วยทศพิธราชธรรมและทรงเป็น สมเด็จพระบรมธรรมิกราชผู้ยิ่งใหญ่ ทรงมีพระธรรมประจำพระทัยอันเป็นที่ทราบกันโดยทั่วไป

    การสร้างพระเครื่องนี้ ได้ลงมือทำพิธีปลุกเสกสรรพสิ่งตลอด 3 วัน 3 คืน ในพระอุโบสถวัดสุทัศน์เทพวราราม
    ราชวรมหาวิหาร มีสมเด็จพระราชาคณะ , เจริญพระพุทธมนต์ 25 รูป พระคณาจารย์ปลุกเสก บรรจุพุทธาคมครบ 108 รูป
    พระคณาจารย์ 108 รูปนี้ได้อาราธนามาจากจังหวัดต่างๆ ทั่วราชอาณาจักร ดังมีรายชื่อพระคณาจารย์ ดังต่อไปนี้

    1. พระครูอาคมสุนทร อ.พระนคร วัดสุทัศน์เทพวรารามฯ จ.พระนคร
    2. พระครูสุนทรสมาธิวัตร อ.พระนคร วัดสุทัศน์เทพวรารามฯ จ.พระนคร
    3. พระญาณาภิรัต อ.พระนคร วัดสุทัศน์เทพวรารามฯ จ.พระนคร
    4. พระครูพิบูลย์บรรณวัตร อ.พระนคร วัดสุทัศน์เทพวรารามฯ จ.พระนคร
    5. พระครูสุนทรศีลาจารย์ อ.พระนคร วัดสุทัศน์เทพวรารามฯ จ.พระนคร
    6. พระครูพิศาลสรกิจ อ.พระนคร วัดสุทัศน์เทพวรารามฯ จ.พระนคร
    7. พระมหาสวน อ.พระนคร วัดสุทัศน์เทพวรารามฯ จ.พระนคร
    8. พระอำนวย อ.พระนคร วัดสุทัศน์เทพวรารามฯ จ.พระนคร
    9. พระปลัดสุพจน์ อ.พระนคร วัดสุทัศน์เทพวรารามฯ จ.พระนคร
    10. พระครูวิสิษฐ์วิหารการ อ.พระนคร วัดชนะสงคราม จ.พระนคร
    11. พระสุธรรมธีรคุณ (หลวงพ่อวงษ์) วัดสระเกศ จ.พระนคร
    12. พระอาจารย์สา อ.พระนคร วัดชนัดดาราม จ.พระนคร
    13. พระปลัดแพง อ.พระนคร วัดมหาธาตุฯ จ.พระนคร
    14. พระวิสุทธิสมโพธิ อ.พระนคร วัดพระเชตุพนฯ จ.พระนคร
    15. พระวรเวทย์คุณาจารย์ อ.พระนคร วัดพระเชตุพนฯ จ.พระนคร
    16. พระครูฐาปนกิจประสาท อ.พระนคร วัดพระเชตุพนฯ จ.พระนคร
    17. พระอินทรสมาจารย์ อ.พระนคร วัดพระเชตุพนฯ จ.พระนคร
    18. พระครูวินัยธรเฟื่อง อ.พระนคร วัดสัมพันธ์วงศ์ จ.พระนคร
    19. พระครูภักดิ์ อ.พระโขนง วัดบึงทองหลาง จ.พระนคร
    20. พระครูกัลญาณวิสุทธิ อ.ยานนาวา วัดดอนทวาย จ.พระนคร
    21. พระอาจารย์มี อ.ยานนาวา วัดสวนพลู จ.พระนคร
    22. พระอาจารย์เหมือน อ.บางเขม วัดโรงหีบ จ.พระนคร
    23. พระหลวงวิจิตร อ.ดุสิต วัดสะพานสูง จ.พระนคร
    24. พระอาจารย์หุ่น อ.มีนบุรี วัดบางขวด จ.พระนคร
    25. พระราชโมลี อ.บางกอกน้อย วัดระฆัง จ.ธนบุรี
    26. หลวงวิชิตชโสธร วัดสันติธรรมาราม จ.ธนบุรี
    27. พรครูโสภณกัลญานุวัตร(หลวงพ่อเส่ง)วัดกัลญาณมิตร จ.ธนบุรี
    28. พระครูภาวนาภิรัต อ.บางขุนเทียน วัดหนัง จ. ธนบุรี
    29. พระครูทิวากรคุณ(หลวงพ่อกลีบ) อ.ตลิ่งชัน วัดตลิ่งชัน จ.ธนบุรี
    30. พระครูไพโรจน์วุฒิคุณ วัดโพธินิมิตร จ.ธนบุรี
    31. พระครูญาณสิทธิ์ อ.ตลิ่งชัน วัดราชสิทธาราม จ.ธนบุรี
    32. พระอาจารย์มา อ.ตลิ่งชัน วัดราชสิทธาราม จ.ธนบุรี
    33. พระอาจารย์หวน อ.ตลิ่งชัน วัดพิกุล จ.ธนบุรี
    34. พระมหาธีวัฒน์ อ.ภาษีเจริญ วัดปากน้ำ จ.ธนบุรี
    35. พระอาจารย์จ้าย อ.ภาษีเจริญ วัดปากน้ำ จ.ธนบุรี
    36. พระอาจารย์อินทร์ อ.ภาษีเจริญ วัดปากน้ำ จ.ธนบุรี
    37. พระครูกิจจาภิรมย์ อ.บางกอกใหญ่ วัดอรุณราชวราราม จ.ธนบุรี
    38. พระครูวินัยสังวร อ.ธนบุรี วัดประยูรวงศวาส จ.ธนบุรี
    39. พระสุขุมธรรมาจารย์ อ.ธนบุรี วัดหงษ์รัตนราม จ.ธนบุรี
    40. พระครูพรหมวินิต อ.ธนบุรี วัดหงษ์รัตนาราม จ.ธนบุรี
    41. พระอาจารย์อิน อ.คลองสาน วัดสุวรรณอุบาสิการ จ.ธนบุรี
    42. พระครูวิริยกิจ(หลวงปู่โต๊ะ) อ.คลองสาน วัดประดู่ฉิมพลี จ.ธนบุรี
    43. พระปรีชานนทมุนี อ.บางบัวทอง วัดโมลี จ.นนทบุรี
    44. พระครูปลัดแฉ่ง (หลวงพ่อแฉ่ง) อ.ปากเกร็ด วัดศรีรัตนาราม จ.นนทบุรี
    45. พระปลัดยัง (หลวงพ่อยัง) อ.ปากเกร็ด วัดบางจาก จ.นนทบุรี
    46. พระอาจารย์สมจิต วัดป่ากระเหรี่ยง จ.ราชบุรี
    47. พระอาจารย์แทน อ.เมือง วัดธรรมเสน จ.ราชบุรี
    48. พระครูบิน อ.บางแพ วัดแก้ว จ.ราชบุรี
    49. พระอินทร์เขมาจารย์ อ.เมือง วัดช่องลม จ.ราชบุรี
    50. พระธรรมวาทีคณาจารย์(หลวงพ่อเงิน) อ.เมือง วัดดอนยายหอม จ.นครปฐม
    51. พระครูสังฆวิชัย วัดพระปฐมเจดีย์ จ.นครปฐม
    52. พระอาจารย์สำเนียง อ.บางเลน วัดเวทุนาราม จ.นครปฐม
    53. พระอาจารย์เต๋(หลวงพ่อเต๋) อ.กำแพงแสน วัดสามง่าม จ.นครปฐม
    54. พระอาจารย์แปลก อ.เมือง วัดสระบัว จ.ปทุมธานี
    55. พระครูปลัดทุ่ง อ.เมือง วัดเทียมถวาย จ.ปทุมธานี
    56. พระครูบวรธรรมกิจ (หลวงพ่อเทียม)อ.เมือง วัดโบสถ จ.ปทุธานี
    57. พระครูโสภณสมาจารย์ อ.เมือง วัดหนองบัว จ.กาญจนบุรี
    58. พระครูวิสุทธิรังษี อ.เมือง วัดเหนือ จ.กาญจนบุรี
    59. พระมุจจรินโมฬี อ.หนองจิก วัดมุจจริน จ.ปัตตานี
    60. พระครูรอด อ.เมือง วัดประดู่ จ.นครศรีธรรมราช
    61. พระครูวิศิษฐ์อรรถการ (พ่อท่านคล้าย)อ.ฉวาง วัดสวนขวัญ จ.นครศรีธรรมราช
    62. พระครูสิทธิธรรมาจารย์ (พระอาจารย์ลี) อ.เมือง วัดโศกการาม จ.สมุทรปราการ
    63. พระอาจารย์บุตร อ.เมือง วัดใหม่บางปลากด จ.สมุทรปราการ
    64. พระอาจารย์แสวง อ.พระประแกง วัดกลางสวน จ.สมุทรปราการ
    65. พระครูศิริสรคุณ อ.เมือง วัดท้ายหาด จ.สมุทรสงคราม
    66. พระครูสมุทรสุนทร อ.เมือง วัดพวงมาลัย จ.สมุทรสงคราม
    67. พระสทุธิสารวุฒาจารย์ อ.อัมพวา วัดเสด็จ จ.สมุทรสงคราม
    68. พระอาจารย์อ๊วง อ.อันพวา วัดบางคณาทอง จ.สมุทรสงคราม
    69. พระครูไพโรจน์วุฒาจารย์ (รุ่ง) อ.กระทุ่มแบน วัดท่ากระบือ จ.สมุทรสาคร
    70. พระครูวิเศษสมุทรคุณ อ.กระทุ่มแบน วัดดอนไก่ดี จ.สมุทรสาคร
    71. พระครูสักขิตวันมุนี(หลวงปู่ถิร) อ.เมือง วัดป่าเลไลย์ จ.สุพรรณบุรี
    72. พระอาจาย์แต้ม อ.เมือง วัดพระลอย จ.สุพรรณบุรี
    73. พระครูโฆษิตธรรมสาร (ครื้น) อ.เมือง วัดสังโฆ จ.สุพรรณบุรี
    74. พระครูวรกิจวินิจฉัย (พริ้ง) อ.เมือง วัดวรจันทร์ จ.สุพรรณบุรี
    75. พระครูสำฤทธิ์ (เอี้ยง) อ.เมือง วัดอู่ทอง จ.สุพรรณบุรี
    76. พระวรพจน์ปัญญาจารย์ องเมือง วัดอรัญญิการาม จ.ชลบุรี
    77. พระครูธรรมาวุฒิคุณ อ.เมือง วัดเสม็ด จ.ชลบุรี
    78. พระครูธรรมธร (หลาย) อ.เมือง วัดราศฎร์บำรุง จ.ชลบุรี
    79. พระอาจารย์บุญมี อ.บางละมุง วัดโพธิ์สัมพันธ์ จ.ชลบุรี
    80. พระพรหมนคราจารย์ อ.พรหมบุรี วัดแจ้งพรหมนคร จ.สิงห์บุรี
    81. พระครูศรีพรหมโศกิต (แพ) อ.พรหมบุรี วัดพิกุลทอง จ.สิงห์บุรี
    82. พระชัยนาทมุนี อ.เมือง วัดบรมธาตุ จ.ชัยนาท
    83. พระอาจารย์หอม (หลวงพ่อหอม) อ.เมือง วัดชากหมาก จ.ระยอง
    84. พระอาจารย์เมือง อ.แม่ทา วัดท่าแพ จ.ลำปาง
    85. พระครูอุทัยธรรมธานี อ.เมือง วัดท้าวอุ่ทอง จ.ปราจีนบุรี
    86. พระครูวิมลศีลจารย์(หลวงพ่อเส่ง) อ.ประจันตคาม วัดศรีประจันตคาม จ.ปราจีนบุรี
    87. พระครูสนุทรธรรมประกาศ อ.ปากพลี วัดโพธิ์ปากพลี จ.นครนายก
    88. พระครูบาวัง อ.เมือง วัดบ้านเด่น จ.ตาก
    89. พระครูสวรรควิริยกิจ อ.เมือง วัดสวรรคนิเวส จ.แพร่
    90. พระครูจันทร (อ.ชุมแสง จ.นครสวรรหลวงพ่อจันทร์) วัดคลองระนง ค์
    91. พระครูสีลกิติคุณ (อั้น) วัดพระญาติฯ อ.พระนครศรีฯ จ.อยุธยา
    92. พระอาจารย์แจ่ม วัดวังแดงเหนือ อ.พระนครศรีฯ จ.อยุธยา
    93. พระครูเล็ก วัดบางนมโค อ.เสนา จ.อยุธยา
    94. พระอาจารย์มี วัดอินทราราม อ.เสนา จ.อยุธยา
    95. พระอาจารย์หวาน วัดดอกไม้ อ.บางปะหัน จ.อยุธยา
    96. พระอาจารย์หน่าย(หลวงพ่อหน่าย) วัดบ้านแจ้ง อ.บางปะหัน จ.อยุธยา
    97. พระครูประสาทวิทยาคม (นอ) วัดกลาง อ.ท่าเรือ จ.อยุธยา
    98. พระอาจารย์จง (หลวงพ่อจง) วัดหน้าต่างนอก อ.บางไพร จ.อยุธยา
    99. พระอธิการเจาะ วัดประตูโลกเชษฐ์ อ.เสนา จ.อยุธยา
    100. พระอาจารย์ศรี วัดสระแก อ.พระนครศรีฯ จ.อยุธยา
    101. พระสุวรรณมุนี (ชิต) วัดมหาธาตุ อ.เมือง จ.อยุธยา
    102. พระครูศุข(หลวงพ่อทองศุข) วัดโตนดหลวง อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี
    103. พระครูพิบูลย์ศีลาจารย์ วัดโพธิ์กรุ อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี
    104. พระครูทบ (หลวงพ่อทบ) วัดส่วางอรุณ อ.ชนแดน จ.เพชรบูรณ์
    105. พระสวรรคนายก วัดสุวรรคคาราม อ.สวรรคโลก จ.สุโขทัย
    106. พระโบราณวัตถาจารย์ วัดราชธานี จ.สุโขทัย
    107. พระครูปี้ วัดกิ่งลานหอย กิ่ง อ.บ้านด่านลานหอย จ.สุโขทัย
    108. พระครูวิบูลย์สมุทร วัดเสด็จ อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม

    วัตถุมงคลรุ่นนี้ ส่วนหนึ่งได้นำมาบรรจุประดิษฐานไว้ ณ พระเจดีย์วัดบวรนิเวศวิหาร โดย สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้เสด็จมาทรงบรรจุ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๕



    อภินิหารพระเครื่อง 25 พุทธศตวรรษ ปืนเอ็ม 16 กระหน่ำยิง 30 นัด ไม่ระคายผิว




    พระเครื่องราคาสูงหลัก “แสน” หรือหลัก “ล้าน” ก็ไม่แน่เสมอไปว่าจะ “เข้มขลังตามมูลค่า” ขณะที่ราคาพระเครื่องหลัก “ร้อย” หรือหลัก “พัน” อาจมีพุทธานุภาพสูงส่งก็ได้เพราะไม่มีอะไรเป็นเครื่องวัดได้ ซึ่งผิดกับความร้อน-หนาวที่วัดได้ด้วย “เทอร์โมมิเตอร์” แต่สิ่งเดียวที่พอจะวัดได้ก็คือ “ประสบการณ์” เพราะเป็น “ปรากฏการณ์” ให้พบเห็นทั้งในอดีตและปัจจุบันอยู่เสมอ “เหนือลิขิต ประกาศิตฟ้าดิน” ฉบับนี้จึงขอนำท่านผู้ อ่าน “อ่านความจริง...อ่านเดลินิวส์” ย้อนกลับไปพบกับข่าวหนึ่งบนหน้าหนังสือพิมพ์ “เดลินิวส์” ที่ได้บันทึกเหตุการณ์เป็นข่าวที่สุดตื่นเต้นเป็นการพิสูจน์ถึงอภินิหารของ “พระเครื่อง ๒๕ พุทธศตวรรษ” ที่ปัจจุบันยังมีให้บูชาในราคาไม่สูงเกินไปนัก
    โดยหนังสือพิมพ์ “เดลินิวส์ ฉบับที่ ๙,๔๗๐ ประจำวันศุกร์ที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๘” ได้เสนอข่าวถึงเรื่องราวปาฏิหาริย์ของ “พระเครื่อง ๒๕ พุทธศตวรรษ” ที่มีรายงานข่าวจาก จังหวัดพัทลุง ว่าเมื่อวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๑๘ เวลา ๐๔.๓๐ น. นายสืบศักดิ์ แกล้วทนง อายุ ๒๓ ปี บ้านอยู่หมู่ที่ ๒ ต.ป่าพยอม อ.ควนขนุน จ.พัทลุง ได้ขับขี่รถจักรยานยนต์กลับจากดูโขนสดและภาพยนตร์ที่ วัดป่าพยอม เพื่อกลับบ้าน ขณะขับขี่ไปถึง ตลาดป่าพยอม เกิดไปเฉี่ยวเอาราษฎรหน่วยปฏิบัติการพิเศษ “ชุดล่าสังหาร” ผู้หนึ่งที่ทาง “ทหาร ผส.๕ ค่ายเสนาณรงค์ อ.หาดใหญ่” มาจัดตั้งหน่วยขึ้นที่ ต.ป่าพยอม อ.ควนขนุน
    เพื่อทำหน้าที่ปราบปรามผู้ก่อการร้ายในพื้นที่ใกล้เคียงซึ่งกำลังเดินกลับ เข้าค่าย จำนวน ๔ คน ราษฎรหน่วยปฏิบัติการพิเศษ “ชุดล่าสังหาร” ผู้ที่ถูก “นายสืบศักดิ์” ขับรถเฉี่ยวจึงตะโกนบอกให้ “นายสืบศักดิ์” หยุดรถแต่ “นายสืบศักดิ์” เป็น “คนหูหนวก” จึงไม่ได้ยินเลยไม่หยุดรถ “หน่วยล่าสังหาร” ผู้นั้นจึงรัว “ปืนเอ็ม ๑๖” เข้าใส่ “นายสืบศักดิ์” ที่ยังขับรถทั้งหมด ๓๐ นัด กระสุนปืนพุ่งเข้าหา “นายสืบศักดิ์” เต็มแผ่นหลังจนตกลงจากรถจักรยานยนต์ หน่วยล่าสังหารทั้ง ๔ นายจึงกรูเข้าไปดูกลับเห็น “นายสืบศักดิ์” ปราศจากบาดแผลเนื่องจาก “กระสุนปืนเอ็ม ๑๖” ที่ยิงใส่นายสืบศักดิ์ไม่ระคายผิวเลย “หน่วยล่าสังหาร” ทั้ง ๔ นายจึงช่วยกันหักคอ “นายสืบศักดิ์” จนตายคามือแล้วพากันหลบหนีไป
    ต่อมาเจ้าหน้าที่ตำรวจทำการชันสูตรศพ จึงพบว่าแผ่นหลังของ “นายสืบศักดิ์” ถูกกระสุนปืนเอ็ม ๑๖ หลายนัดแต่กระสุนไม่ทะลุ มีเพียง “รอยไหม้เกรียม” ที่เกิดจากพิษกระสุนปรากฏเป็นจุด ๆ เท่านั้น ส่วนเหตุที่เสียชีวิตก็เพราะกระดูกบริเวณแผ่นหลังและที่ลำคอของ “นายสืบศักดิ์” หักหลายชิ้นเจ้าหน้าที่ค้นในตัวศพจึงพบว่าหนุ่มใบ้ผู้เสียชีวิตมีเพียง “พระเครื่อง ๒๕ พุทธศตวรรษ ๑ องค์” เท่านั้นซึ่งเป็นพระเครื่องที่จัดสร้างขึ้นเมื่อคราวมีงานฉลอง “๒๕ พุทธศตวรรษ” ในปี พ.ศ. ๒๕๐๐ ซึ่งครั้งนั้นรัฐบาลได้จัดตั้งกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อดำเนินงานเกี่ยวกับการสร้างพระเครื่อง ๒๕ พุทธศตวรรษ สำหรับเป็นที่ระลึกและแจกจ่ายสมนาคุณให้แก่ประชาชน ผู้ที่มีจิตศรัทธาร่วมบริจาคเงินสมทบทุนในการสร้าง “พุทธมณฑล” โดย “พระเครื่อง ๒๕ พุทธศตวรรษ” ที่จัดสร้างขึ้นในครั้งนั้นมีรายการและรายละเอียดดังนี้
    ๑. เนื้อชิน พุทธลักษณะเป็นรูปองค์พระปฏิมากรแบบนูน เป็นพระที่สร้างขึ้นด้วยเครื่องปั๊มขนาดความกว้าง ๑.๘ ซม. สูง ๔.๗ ซม. หนา ๒ มม. วัสดุที่สร้างมีส่วนผสมต่าง ๆ ดังนี้ “พลวง, ดีบุก, ตะกั่วดำ, เนื้อนวโลหะ” และ “แผ่นทองแดง, แผ่นตะกั่ว, แผ่นเงิน” ที่พระอาจารย์ต่าง ๆ ทั่วราชอาณาจักรทำการลงอักขระเลขยันต์ และคาถาต่าง ๆ แล้วนำมาผสมหล่อหลอมเข้าด้วยกันโดยมีจำนวนสร้าง ๒,๔๒๑,๒๕๐ องค์
    ๒. เนื้อดิน พุทธลักษณะเป็นรูปองค์พระปฏิมากรแบบนูน สร้างขึ้นด้วยเครื่องปั๊มมีด้วยกัน ๒ พิมพ์คือ “พิมพ์เขื่อง” มีขนาดกว้าง ๑.๖ ซม. สูง ๔.๒ ซม. หนา ๖ มม. “พิมพ์ย่อม” มีขนาดกว้าง ๑.๔ ซม. สูง ๓.๙ ซม. หนา ๔ มม. วัสดุที่ใช้สร้างเป็น “เนื้อดิน” ทั้ง ๒ พิมพ์โดยนำดินที่ขุดจาก ทะเลสาบจังหวัดสงขลา ผสมกับ เกสรดอกไม้ ๑๐๘ ชนิด ตลอดทั้งว่านและใบไม้ต่าง ๆ พร้อม ดินจากหน้าพระอุโบสถ ที่มีความสำคัญจากจังหวัดต่าง ๆ อีกทั้งดินที่นำมาจากสังเวชนียสถาน ๔ แห่ง ใน ประเทศอินเดีย นอกจากนี้ยังใช้ผงวิเศษจากพระอาจารย์ต่าง ๆ และพระเครื่องโบราณที่ชำรุดเช่น “พระสมเด็จฯ, พระขุนแผน, พระนางพญา, พระรอด” มาผสมเข้าด้วยกัน จำนวนที่สร้าง ๒,๔๒๑,๒๕๐ องค์ เช่นกันกับเนื้อชินโดยพระเครื่องเนื้อดินเผามีด้วยกันหลายสี อาทิ สีดำ, สีเทา, สีขาวนวล, สีพิกุลแห้ง, สีหม้อใหม่, สีครีม, สีชมพู, สีน้ำตาลไหม้ ฯลฯ เป็นต้น
    ๓. เนื้อทองคำ พุทธลักษณะเป็นรูปองค์พระพุทธปฏิมากรแบบนูน สร้างด้วยเครื่องปั๊มมีขนาดกว้าง ๑.๘ ซม. สูง ๔.๗ ซม. หนา ๒ มม. ด้านหน้าและด้านหลังพุทธลักษณะโดยทั่วไปเป็นแบบเดียวกันกับพระ “เนื้อชิน” และจำนวนสร้างเท่ากับ พ.ศ. ที่สร้างคือ ๒,๕๐๐ องค์ โดยน้ำหนักทองคำองค์ละ ๖ สลึง ทางด้านพิธีกรรมการ ปลุกเสกครั้งแรกทำการปลุกเสกสรรพวัตถุและมวลสารต่าง ๆ ก่อนที่จะได้นำมาสร้างเป็นพระโดยประกอบพิธีปลุกเสก ณ พระอุโบสถวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร เป็นเวลา ๓ วัน ๓ คืนด้วยกัน โดยในวันที่ ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๐ เวลา ๑๖.๓๐ น. ฯพณฯ จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นเป็นประธานพิธี สมเด็จพระวันรัต (ปลด กิตฺติโสภโณ) สังฆนายก วัดเบญจมบพิตรฯ จุดเทียนชัยและมีพระเกจิอาจารย์ ๑๐๘ รูป นั่งปรกปลุกเสก บรรจุพุทธาคมลงในสรรพวัตถุและมวลสารต่าง ๆ จนตลอดคืน จากนั้นวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๐ เวลา ๑๖.๓๐ น. พลตำรวจเอกเผ่า ศรียานนท์ ประธานคณะกรรมการฯเป็นประธานพิธี และพระราชาคณะ ๒๕ รูป เจริญพระพุทธมนต์ พระเกจิอาจารย์ ๑๐๘ รูปนั่งปรกปลุกเสกบรรจุ พุทธาคมลงในสรรพวัตถุ และมวลสารต่าง ๆ ตลอดคืน
    วันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๐ เวลา ๑๖.๓๐ น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินมายังพระวิหารหลวง วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหา วิหาร ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการบูชา พระศรีศากยมุนีเสร็จแล้ว เสด็จพระราชดำเนินไปยังมณฑลพิธีหน้าพระอุโบสถ ทรงเททองหล่อ “พระพุทธรูปทองคำ” จำนวน ๔ องค์ และทรงกดพิมพ์พระเครื่องฯ “๒๕ พุทธศตวรรษ” เนื้อดินจำนวน ๓๐ องค์ เป็นปฐมฤกษ์แล้วเสด็จพระราชดำเนินกลับเข้าสู่พระอุโบสถ สมเด็จพระราชาคณะ และพระราชาคณะ ถวายอดิเรกจบแล้วเสด็จพระราชดำเนินกลับ ส่วนพระเกจิอาจารย์ในจำนวน ๑๐๘ รูป เข้าสู่มณฑลพิธีนั่งปรกปลุกบรรจุพุทธาคมลงในสรรพวัตถุและมวลสารต่อไปจนตลอด คืน
    พิธีปลุกเสกครั้งที่สองได้ทำพิธี ณ วัดสุทัศนเทพวรารามฯ หลังจากพระเครื่องทั้งหมดได้สร้างเสร็จสมบูรณ์แล้ว เมื่อวันที่ ๒, ๓, ๔ พฤษภาคม ๒๕๐๐ เป็นเวลา ๓ วัน ๓ คืน ประกอบด้วยเกจิอาจารย์ชั้นนำในยุคนั้นอีก ๑๐๘ องค์ เช่น “หลวงพ่อรุ่ง วัดท่ากระบือ หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม หลวงพ่อคล้าย วัดสวนขัน หลวงพ่อเทียน วัดโบสถ์ หลวงพ่อครื้น วัดสังโฆ หลวงพ่อนาค วัดระฆัง หลวงพ่อดี วัดเหนือ หลวงพ่อใจ วัดเสด็จ หลวงพ่อแฉ่ง วัดบางพัง หลวงพ่อแทน วัดธรรมเสน หลวงพ่อเต๋ วัดสามง่าม” เป็นต้น
    ด้วยเหตุนี้ “พระเครื่อง ๒๕ พุทธศตวรรษ” จึงจัดเป็นพระเครื่องที่ ดีเยี่ยมแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ปัจจุบันยังพอแสวงหาได้ในราคาไม่สูงมากนัก เป็นสิริมงคลล้ำค่าที่จะอาราธนาขึ้นแขวนคอได้อย่างสบายใจ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  11. topnank

    topnank เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,899
    ค่าพลัง:
    +874
    เงื่อนไขการจอง-โอนเงินค่าบูชาภายใน 5 วัน หรือยังไม่พร้อมขอยืดเวลาไปอีกได้(เมล์แจ้งทางอินบล๊อค)
    -ค่าจัดส่งแบบEMS 50 บาท/ครั้ง
    -หากบูชาพระ 3 รายการขึ้นไป ส่งฟรี

    โอนเงินเข้าบัญชี

    ไพโรจน์ จั่นเจริญ
    ธนาคารกสิกรไทย สาขาล้าดพร้าว 10
    เลขที่บัญชี 7522091507
     
  12. topnank

    topnank เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,899
    ค่าพลัง:
    +874
    รายการที่ 92 พระ 25 ศตวรรณ เนื้อชิน
    ให้บูชา 400 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  13. wittawatt

    wittawatt Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 ธันวาคม 2012
    โพสต์:
    98
    ค่าพลัง:
    +54
    ขอจองรายการที่ 92 พระ 25 ศตวรรณ เนื้อชิน
    ให้บูชา 400 บาท ครับ
     
  14. topnank

    topnank เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,899
    ค่าพลัง:
    +874
    รับทราบการจอง ขอบคุณครับ
     
  15. topnank

    topnank เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,899
    ค่าพลัง:
    +874
    รายการที่ 93 พระ 25 ศตวรรษ เนื้อชินโค๊ต วป (หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่ เสกอีกครั้ง)
    ให้บูชา 2,500 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 พฤษภาคม 2016
  16. topnank

    topnank เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,899
    ค่าพลัง:
    +874
    รายการที่ 94
    สมเด็จนางพญา สก. พระชุด 7 องค์ พิธีมหาพุทธาภิเษก
    ให้บูชา 400 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  17. topnank

    topnank เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,899
    ค่าพลัง:
    +874
    EQ145353717TH 03/5/59
     
  18. topnank

    topnank เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,899
    ค่าพลัง:
    +874
    รายการที่ 95 พระ 25 ศตวรรษ เลี่ยมเดิม ๆ
    ให้บูชา 1800 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 74.jpg
      74.jpg
      ขนาดไฟล์:
      67.7 KB
      เปิดดู:
      81
    • 75.jpg
      75.jpg
      ขนาดไฟล์:
      79.1 KB
      เปิดดู:
      83
  19. topnank

    topnank เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,899
    ค่าพลัง:
    +874
    รายการที่ 96
    หลวงพ่อเกษม ภปร. เล็ก บล็อคเงิน หายาก
    ให้บูชา 800 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  20. topnank

    topnank เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,899
    ค่าพลัง:
    +874
    รายการที่ 97
    พระนางตรา เจ้าพิธีขุนพันธ์ ปี2541
    พระนางตรา ปี 2541 เฉลิมฉลอง 100 ปี ท่าศาลา มวลสารดีเช่น พระเกศาพระสังฆราช ว่าน 108 น้ำศักสิทธิ มวลสารจากสถานที่มงคล เศษผงพระนางตราเดิม ตะไคร่พระบรมธาตุ 7 แห่ง ดิน 7 ป่า ผงพระนางพญา ผงพระเจ้าคุณนรฯ ข้าวสารหิน ผงไพรีพินาศ ผงสมเด็จบางขุนพรหม เป็นต้น การบวงสรวงโดยขุนพันธ์รักษ์ เป็นเจ้าพิธี พุทธาภิเษกเสาร์ขึ้น 4 ค่ำเดือน 5 ปีขาล ณ.อุโบสถวัดนางตรา เกจิอาจารย์สายเขาอ้อทางสายใต้รวม 31 รูป มีพระครูกาชาดวัดดอนศาลา พัทลุง เป็ฯผู้คุมพิธีพุทธาภิเษก วัตถุประสงค์เพื่อการศึกษา การพยาบาล และสร้างเมรุ ล้วนแต่เป็นนิมิตรหมายอันดีแก่ผู้บูชาอย่างสูง ผมเช่าบูชาไว้หลายองค์ เจียดบูชาให้ครอบครับแล้วจึงมาลงในเวปส่วนหนึ่งครับ ***พระดีมีอยู่ทั่วไทยนะครับไม่ใช่ส่วนหนึ่งส่วนใด สายเหนือ สายใต้ สายอิสาน สายตะวันออก หรือสายกลาง ล้วนแต่มีพระดีน่านับถือและบูชาด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้นครับ บูชาองค์นี้ถือว่า 1 ได้ 3 นะครับ คือ 1)ได้พระนางตรา 2)ได้พระนาคปรก 3)ได้ทำบุญร่วมกันให้แก่โรงเรียน(ลูกหลานจะมีที่ศึกษาชั้นดีตลอด) ทำบุญแก่โรงพยาบาล(ป่วยไข้มีคนให้ความช่วยเหลือเสมอ) สร้างเมรุ(อุทิศให้แก่ผู้วายชนม์ทั้งหลาย)
    ให้บูชา 500 บาท
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 7194 (Small).JPG
      7194 (Small).JPG
      ขนาดไฟล์:
      35.3 KB
      เปิดดู:
      55
    • 7195 (Small).JPG
      7195 (Small).JPG
      ขนาดไฟล์:
      30.3 KB
      เปิดดู:
      56
    • 7193 (Small).JPG
      7193 (Small).JPG
      ขนาดไฟล์:
      35.8 KB
      เปิดดู:
      47
    • images.jpg
      images.jpg
      ขนาดไฟล์:
      4.7 KB
      เปิดดู:
      179
    • 42904-4.jpg
      42904-4.jpg
      ขนาดไฟล์:
      109.5 KB
      เปิดดู:
      52
    • 42904-5.jpg
      42904-5.jpg
      ขนาดไฟล์:
      103.7 KB
      เปิดดู:
      59
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 พฤษภาคม 2016

แชร์หน้านี้

Loading...