กองทัพธรรม ฝ่ายวิปัสนาธุระ ในสมัย บุพพาจารย์ แห่งยุค

ในห้อง 'หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต' ตั้งกระทู้โดย ศิษย์หลวงตา, 25 กุมภาพันธ์ 2007.

  1. ศิษย์หลวงตา

    ศิษย์หลวงตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2007
    โพสต์:
    500
    ค่าพลัง:
    +2,855
    [​IMG]


    <TABLE width="79%" border=0><TBODY><TR><TD width="34%" rowSpan=3>
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1][​IMG][/SIZE][/FONT]
    </TD><TD width="66%" height=42>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระพุทธศาสนามีธุระสำคัญ ๒ ประการ คือ[/SIZE][/FONT]

    </TD></TR><TR><TD width="66%" height=108>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๑. คันถธุระ ได้แก่การศึกษาเล่าเรียนพระคัมภีร์ ให้มีความรู้พระธรรมพระวินัย เพื่อดำรงรักษาตำราไว้มิให้ เสื่อมสูญ จะได้เป็นแบบแก่ผู้ต้องการปฏิบัติ[/SIZE][/FONT]</TD></TR><TR><TD width="66%">[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๒. วิปัสสนาธุระ ได้แก่การศึกษาอบรมจิตใจตามหลักสมถะและวิปัสสนา เพื่อให้รู้แจ้งธรรมและกำจัดกิเลส ออกจากจิตใจ[/SIZE][/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ธุระทั้งสองนี้ได้มีมาตั้งแต่แรกตั้งพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาได้ทรงแสดงธรรมและบัญญัติวินัยขึ้นแต่อย่างใด พระสาวกย่อมเอาธุระจดจำและสังวัธยาย บ่อยๆขณะเดียวกันก็เอาธุระปฏิบัติตามพระธรรมวินัยนั้น จนสามารถรู้แจ้งธรรม และกำจัดกิเลสจากจิตใจได้เด็ดขาด โดยเอกเทศบ้าง โดยสิ้นเชิงบ้าง[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ท่านผู้กำจัดกิเลสได้เด็ดขาดสิ้นเชิงแล้ว เรียกว่าพระอรหันต์ ย่อมเอาธุระจดจำพระพุทธวจนะ และช่วยพระ บรมศาสดาทำการอบรมสั่งสอนประชาชน[/SIZE][/FONT]​

    <TABLE width="84%" border=0><TBODY><TR><TD width=411 height=119>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ครั้นพระบรมศาสดาเสด็จปรินิพพานแล้ว พระอรหันต์ทั้งหลาย มีพระมหากัสสปะเถระ เป็นต้น จำนวน ๕๐๐ รูป ล้วนแต่ผู้สำเร็จอภิญญา และปฏิสัมภิทาญาณได้ชุมนุมกัน[/SIZE][/FONT]</TD><TD width=166 rowSpan=2>
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1][​IMG][/SIZE][/FONT]

    </TD></TR><TR><TD width=411>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]รวบรวมพระธรรม พระวินัยที่พระบรมศาสดาทรงแสดงและทรงบัญญัติไว้ มาร้อยกรองจัดเข้าระเบียบ หมวดหมู่[/SIZE][/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]สำเร็จเป็นคัมภีร์พระไตรปิฏก เป็นตำราของพระพุทธศาสนานำสืบกันมาจนตราบเท่าปัจจุบันนี้[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระพุทธศาสนาได้มาประดิษฐานในประเทศของเรา เมื่อประมาณ พ.ศ. ๓๐๐-๔๐๐ โดยการนำของพระเถระ ๒ รูป คือ พระโสณเถระ และพระอุตตรเถระ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]สมณวงศ์ในประเทศของเรา ไม่เคยปรากฏว่าขาดสูญ พระมหากษัตริย์ทรงเอาพระราชธุระ บำรุงพระพุทธศาสนาตลอดมาทุกสมัย[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ครั้นปรากฏว่าสมณวงศ์ในประเทศอื่นประพฤติดีงามน่าเลื่อมใส ก็เอาพระราชธุระอาราธนา มาซ่อมแปลง สมณวงศ์ในประเทศให้ดีงามขึ้น[/SIZE][/FONT]​

    <TABLE width="87%" border=0><TBODY><TR><TD width="32%" rowSpan=2>
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1][​IMG][/SIZE][/FONT]

    </TD><TD width="68%" height=73>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เช่น ในสมัยสุโขทัย พระร่วง เจ้าทรงอาราธนาพระสงฆ์ชาวลังกามาไว้ในพระราชอาณาจักร[/SIZE][/FONT]</TD></TR><TR><TD width="68%" height="50%">[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]กุลบุตรผู้เลื่อมใสก็ได้บรรพชาอุปสมบทในพระสงฆ์ชาวลังกา แม้พระภิกษุสามเณรบางองค์ ก็ได้บวชแปลง ใหม่ในพระสงฆ์ลังกาด้วย[/SIZE][/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ในสมัยอยุธยาก็เช่นเดียวกัน ปรากฏว่าพระสงฆ์แบบลังกา ได้รับพระราชูปถัมภ์ไว้ในพระราชอาณาจักร[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]มีกุลบุตรเลื่อมใสศรัทธาบรรพชาอุปสมบทในคณะสงฆ์นั้นสืบมา ตั้งแต่แรกตั้งกรุงศรีอยุธยาจนถึงเสียกรุง[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]การคณะสงฆ์ในสมัยโบราณของประเทศเรา ได้แบ่งงานออกเป็นสองฝ่าย คือ ฝ่ายคันถธุระ เรียกว่า คามวาสี เอาธุระทางศึกษาเล่าเรียนพระคัมภีร์ มีพระสังฆราชเป็นประมุข และมีสังฆนายก ผู้รับสนอง พระบัญชาบริหารหมู่คณะในฝ่ายนั้น[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ส่วนฝ่ายวิปัสสนาธุระ เรียกว่า อรัญญวาสี บ้าง วนวาสี บ้าง เอาธุระศึกษาอบรมทางสมถะ และวิปัสสนา มีพระสังฆราชเป็นประมุข และมีสังฆนายกผู้รับสนองพระบัญชาบริหารหมู่คณะในฝ่ายนั้นเช่นเดียวกัน[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ระเบียบนี้ได้ดำเนินมาจนถึงสมัยปลายกรุงศรีอยุธยาจึงเปลี่ยนแปลง[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ให้มีพระสังฆราชเพียงองค์เดียว แต่คงให้มีสังฆนายกสองฝ่าย คือ ฝ่ายคามาวาสีและอรัญญวาสี หรือเรียก อีกอย่างว่าฝ่ายขวาและฝ่ายซ้าย ต่างก็รับสนองพระบัญชาของสมเด็จพระสังฆราชไปบริหารงานในฝ่ายของ ตน[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ระเบียบนี้ได้มีมาถึงสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ (กรุงเทพฯ) เพิ่งเลิกล้มไปเมื่อสมัยรัชกาลที่ ๕[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ทรงออกพระราชบัญญัติลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ. ๑๒๑ (พ.ศ. ๒๔๔๕) โดยจัดการปกครองอนุโลมฝ่ายบ้านเมือง[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เจ้าคณะผู้บริหารการคณะในท้องถิ่น ย่อมมีหน้าที่บริหารทั้งทางคันถธุระ ทั้งทางวิปัสสนาธุระ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เมื่อความเปลี่ยนแปลงทางฝ่ายบริหารเป็นอย่างนี้ ธุระทั้ง ๒ จึงได้รับความเอาใจใส่ไม่เท่ากัน[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]งามฝ่ายคันถธุระได้เจริญก้าวหน้าไปมาก แต่งานฝ่ายวิปัสสนาธุระได้ซบเซาลง[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]การที่ยังคงมีอยู่ก็โดยอุปนิสัยของพระเถรานุเถระ ผู้เห็นความสำคัญของงานฝ่ายนี้ ได้เอาใจใส่ปฏิบัติแนะนำ ศิษยานุศิษย์ในทางนี้สืบๆ กันมา[/SIZE][/FONT]​

    <TABLE width="83%" align=center border=0><TBODY><TR><TD width="33%">
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1][​IMG][/SIZE][/FONT]
    </TD><TD width="67%" rowSpan=2>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ภิกษุสามเณรในคณะธรรมยุติกาชั้นแรก เอาธุระทั้งสองอย่าง หน้าฝนซึ่งเป็นฤดูกาลจำพรรษา ได้เอาธุระศึกษาเล่าเรียนพระคัมภีร์ พอตกหน้าแล้งมักเอาธุระทางวิปัสสนา ออกแสวงหาที่วิเวกบำเพ็ญสมณธรรม[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]แม้พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ผู้ทรงสถาปนาคณะธรรมยุติกาขณะยังทรงผนวชอยู่ ก็ทรงเอาธุระทาง วิปัสสนาด้วย ได้เสด็จธุดงค์ไปถึงหัวเมืองเหนือ เช่น เมืองสุโขทัย เป็นต้น[/SIZE][/FONT]
    </TD></TR><TR><TD width="33%">
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระบาทสมเด็จ[/SIZE][/FONT]

    [SIZE=+1][FONT=Angsana New, AngsanaUPC]พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว [/FONT][/SIZE]​

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระเถระผู้ใหญ่ในคณะธรรมยุติการุ่นแรก มีชื่อเสียงทางวิปัสสนาธุระหลายรูป เช่น[/SIZE][/FONT]​

    <TABLE width="76%" border=0><TBODY><TR><TD width="53%">
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1][​IMG][/SIZE][/FONT]
    </TD><TD width="47%">[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1][​IMG][/SIZE][/FONT]
    </TD></TR><TR><TD width="53%">[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทฺธสิริ)[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=+1][FONT=Angsana New, AngsanaUPC]วัดโสมนัส พระนคร[/FONT][/SIZE]
    </TD><TD width="47%">[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอมรา ภิรักขิต (เกิด) [/SIZE][/FONT]
    [SIZE=+1][FONT=Angsana New, AngsanaUPC]วัดบรมนิวาส พระนคร[/FONT][/SIZE]​

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]สมเด็จพระพุฒาจารย์ (ศรี) วัดสัมพันธวงศ์ พระนคร[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอมรา ภิรักขิต (เกิด) วัดบรมนิวาส พระนคร[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระครูศิริปัญญามุนี (อ่อน) วัดเทพนิมิตร ฉะเชิงเทรา[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ญาท่านพระพนฺธุโล (ดี) วัดสุปัฏน์ อุบลราชธานี[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]และญาท่านพระเทวธมฺมี (ม้าว) วัดศรีทอง อุบลราชธานี[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]รุ่นต่อมามีสมเด็จพระพุฒาจารย์ ญาท่านเจ้า (เขียว) วัดราชาธิวาส และสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทฺธสิริ) วัดโสมนัส พระนคร เป็นต้น [/SIZE][/FONT]​

    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]........ พูดเฉพาะทางภาคตะวันออกเฉัยงเหนือ ญาท่านพระพนฺธุโล (ดี) ปุราณสหธรรมมิก และญาท่านเจ้าพระ เทวธมฺมี (ม้าว) สัทธิวิหาริกของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าสมัยทรงผนวช[/SIZE][/FONT]

    <TABLE width="86%" border=0><TBODY><TR><TD width="35%">
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1][​IMG][/SIZE][/FONT]​

    </TD><TD width="65%" rowSpan=2>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]........ ท่านทั้งสองได้นำแบบแผนการปฏิบัติพระธรรมวินัย ตามแบบคณะธรรมยุติขึ้นมาเผยแพร่ ได้ตั้งการศึกษาอบรมทั้งทางคันถธุระ ทั้งทางวิปัสสนาธุระ ณ วัดสุปัฏน์ และวัด ศรีทอง จ. อุบลราชธานี และขยายไปยังจังหวัดต่างๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือหลายจังหวัด มีจังหวัดอุดรธานี และขอนแก่น เป็นต้น โดยลำดับ[/SIZE][/FONT]</TD></TR><TR><TD width="35%">
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอุบาลีคุณูปมาจารย์[/SIZE][/FONT]​


    [SIZE=+1][FONT=Angsana New, AngsanaUPC]( สิริจันทเถระ จันทร์ )[/FONT][/SIZE]

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width="86%" border=0><TBODY><TR><TD width="67%" rowSpan=2>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]........ สมัยต่อมา เจ้าพระคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (สิริจันทเถระจันทร์) สัทธิวิหาริกของญาท่านพระเทวธมฺมี (ม้าว) ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าให้มาเป็นผู้อำนวยการศึกษา และเป็นเจ้าคณะมณฑลอีสาน ท่านก็ได้เอาธุระทั้งสองอย่าง แม้องค์ท่านเอง ก็ออกเดินธุดงค์แสวงหาวิเวกบำเพ็ญภาวนา ภายหลังท่านเข้าไปอยู่ในกรุงเทพฯ ก็เอาธุระทั้งสองตลอดชีวิต มีชื่อเสียงเด่นทางวิปัสสนาธุระองค์หนึ่ง เป็น ที่รู้จักและเคารพนับถือของพุทธบริษัททั่วไป สมัยต่อมาอีก เจ้าพระคุณสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ติสสเถระ อ้วน) เป็นเจ้าคณะมณฑลอีสานสืบต่อจากเจ้า พระคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ [/SIZE][/FONT]</TD><TD width="33%" height=226>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD width="33%">
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]สมเด็จพระมหาวีรวงศ์[/FONT]​


    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]( ติสสเถระ อ้วน )[/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width="86%" border=0><TBODY><TR><TD width="45%">
    [​IMG]

    </TD><TD width="55%" rowSpan=2>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]........ ได้มีพระอาจารย์สองรูป คือ พระอาจารย์เสาร์ กันตสีลเถระ และเจ้าคุณพระปัญญาพิสาลเถระ (หนู) เอาธุระ ทางวิปัสสนาธุระ เป็นกำลังของเจ้าพระคุณสมเด็จฯ ทางด้านวิปัสสนาธุระ [/SIZE][/FONT]</TD></TR><TR><TD width="45%">
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]พระครูวิเวกพุทธกิจ[/FONT]

    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]( พระอาจารย์เสาร์ กันตสีลเถระ )[/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]........ ครั้นเจ้าคุณพระปัญญาพิสาลเถระได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าให้เข้าไปเป็นเจ้าอาวาสวัดปทุมวันแล้ว ก็ยังเหลือแต่พระอาจารย์เสาร์ เพียงองค์เดียวนำหมู่คณะทางวิปัสสนาอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สมัยนั้นพระอาจารย์เสาร์ได้ศิษย์สำคัญองค์หนึ่ง คือ พระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ ทำให้ได้กำลังในการเผย แพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระมากขึ้น และพระอาจารย์มั่น ได้ศิษย์สำคัญอีกองค์หนึ่ง คือ พระญาณวิศิษฏ์ (พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม) ทั้งสามท่านได้ร่วมจิตใจกันเอาธุระทางวิปัสสนาอย่างเต็มกำลัง [/SIZE][/FONT]

    <TABLE width="85%" border=0><TBODY><TR><TD width="60%" rowSpan=2>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]........ ครั้นมาเมื่อวันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๔๗๕ เจ้าพระคุณสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ติสสเถระ อ้วน) เล็งเห็นความ สำคัญของงานด้านนี้ยิ่งขึ้น จึงมีบัญชาให้เจ้าคุณพระญาณวิศิษฏ์ (พระอาจารย์สิงห์) มาอยู่จังหวัดนครราชสีมา ให้ดำเนินงานวิปัสสนา ในความอำนวยการของท่าน ในฐานะที่ท่านเป็นเจ้าคณะมณฑลนครราชสีมา[/SIZE][/FONT]</TD><TD width="40%" height=194>
    [​IMG]


    </TD></TR><TR><TD width="40%">
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]พระครูวินัยธรภูริทัตโต[/FONT]​


    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]( พระอาจารย์มั่น ภูริทัตตมหาเถร )[/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width="85%" border=0><TBODY><TR><TD width="32%">
    [​IMG]

    </TD><TD width="68%" rowSpan=2>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]........ เจ้าคุณพระญาณวิศิษฏ์ได้เอาธุระในการนี้ เป็นกำลังของเจ้าพระคุณสมเด็จฯ กำลังหนึ่ง ครั้นเจ้าพระคุณสมเด็จฯ ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าให้เข้าไปเป็น เจ้าอาวาสวัดบรมนิวาสแล้ว ท่านก็ได้บัญชาสั่งให้ เจ้าคุณญาณวิศิษฏ์ (พระอาจารย์สิงห์) และพระมหาปิ่น ปัญญาพโลเปรียญโท อาจารย์ วิปัสสนา ไปช่วยเป็นธุระในการให้การศึกษา อบรมทางวิปัสสนาแก่พุทธบริษัท [/SIZE][/FONT][FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ในวัดบรมนิวาสคนละ ๑ ปี [/SIZE][/FONT]
    </TD></TR><TR><TD noWrap width="32%">
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระญาณวิศิษฏ์ [/SIZE][/FONT]

    [SIZE=+1][FONT=Angsana New, AngsanaUPC]( พระอาจารย์สิงห์ ขันตตยาคโม )[/FONT][/SIZE]

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width="85%" border=0><TBODY><TR><TD width="65%" rowSpan=2>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]........ จากนั้นงานด้านนี้ได้เผยแพร่ไปในภาคกลางหลายจังหวัด โดยการนำของเจ้าคุณพระญาณวิศิษฏ์ และศิษยานุศิษย์ของท่าน งานเผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนา ได้เผยแพร่ไปยังจังหวัดต่างๆ ในภาคกลาง ภาคเหนือ และภาค ใต้โดยลำดับ นับได้ว่างานพระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ ได้เผยแพร่ไปทั่วทุกภาคของประเทศ มีพุทธบริษัททั้งคฤหัสถ์และบรรพชิต สนใจบำเพ็ญภาวนาฝึกฝนจิตใจมากขึ้นอย่างน่าปิติ. [/SIZE][/FONT]
    </TD><TD width="35%">
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD width="35%">
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]พระอาจารย์มหาปิ่น ปัญญาพโล[/FONT]​

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]........ พระภิกษุ ศิษยานุศิษย์ของเจ้าคุณพระญาณวิศิษฏ์ ผู้ได้ศึกษาอบรมทางสมถะวิปัสสนามีความรู้พอเป็นครูบา อาจารย์ได้ ท่านเหล่านั้นได้เอาธุระอบรมสั่งสอนพุทธบริษัททางสมถะวิปัสสนาตามสติกำลัง บางท่านมีความรู้ความสามารถ ทางการฝ่ายบริหารได้แต่งตั้งให้มีตำแหน่งฝ่ายบริหารด้วย และได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะบ้าง เป็นพระครูสัญญาบัตรบ้าง บางท่านก็ได้เป็นพระครู ฐานานุกรมบ้างตามฐานานุรูป ในสมัยปัจจุบัน พระเถรานุเถระฝ่ายบริหาร ได้เล็งเห็นความสำคัญของวิปัสสนาธุระยิ่งกว่าแต่ก่อน [/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]........ จึงเอาใจใส่บำเพ็ญวิปัสสนาธุระและอำนวยการให้งานฝ่านนี้ดำเนินไปด้วยดีเป็นที่น่าโมทนาความที่เคยเข้าใจแตก ต่าง ซึ่งเป็นอุปสรรคของงานนี้ค่อยๆ ได้อันตรธานไป หวังว่าในเวลาต่อไป งานนี้จะได้รับความเอาใจใส่ และอุปถัมภ์บำรุงให้เจริญก้าวหน้ากว้างขวางกว่าปัจจุบัน และหวังว่าความเข้าใจดีต่อกันและเอกีภาพของสงฆ์จะพึงบังเกิดขึ้นในกาลต่อไปด้วย[/SIZE][/FONT]

    <TABLE width="84%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=center align=middle><TD>[​IMG]
    </TD><TD>[​IMG]
    </TD><TD>[​IMG]
    </TD></TR><TR vAlign=center align=middle><TD noWrap>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระครูวิเวกพุทธกิจ[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=+1][FONT=Angsana New, AngsanaUPC]( หลวงปู่เสาร์ กันตสีโล )[/FONT][/SIZE]
    </TD><TD noWrap>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC]พระครูวินัยธรภูริทัตโต[/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]( หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต )[/FONT]
    </TD><TD noWrap>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระญาณวิศิษฏ์[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=+1][FONT=Angsana New, AngsanaUPC](หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม)[/FONT][/SIZE]
    </TD></TR><TR vAlign=center align=middle><TD colSpan=3>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]สามเสนาธิการกองทัพธรรมฝ่ายวิปัสสนาธุระของประเทศไทยยุคปัจจุบัน[/SIZE][/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ที่กล่าวมาแล้วทั้งหมด จะเห็นได้ว่า[/SIZE][/FONT][FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]กองทัพธรรมฝ่ายวิปัสสนาธุระภายใต้การนำของสามเสนาธิการ คือ พระอาจารย์เสาร์ พระอาจารย์มั่น และพระอาจารย์สิงห์ ได้วางแผนอย่างมีระเบียบวินัยและอาจหาญ[/SIZE][/FONT]​
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]นำพระในคณะออกเผยแพร่พุทธบริษัททั้งคฤหัสถ์ และบรรพชิตในภาคต่างๆให้พากันสนใจและบำเพ็ญภาวนาฝึกฝนจิตใจกันมากขึ้น[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เรื่องราวที่จะปรากฏต่อไปนี้จะชี้ให้เห็นถึงการแผ่ขยายของกองทัพธรรมฝ่ายวิปัสสนาธุระที่ขยายออกไปทุก ภาคของประเทศ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]โดยพระญาณวิศิษฏ์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม) ศิษย์เอกของพระอาจารย์มั่น และเป็นผู้นำที่สำคัญในการเผยแพร่ครั้ง นั้นด้วย เป็นผู้เรียบเรียงขึ้นเองโดยตลอดว่า[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์ท่านใดเป็นผู้นำไปเผยแพร่ในภาคใด จังหวัดไหน...[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]( ในที่นี้ทางผู้จัดทำเว็บไซร์ได้ปรับปรุงข้อมูลบางประการเพิ่มเติม เช่น สมณศักดิ์ วันที่มรณภาพ สถานที่จำพรรษาครั้งสุดท้าย เพิ่มเติมไว้ภายในเครื่องหมายวงเล็บ )[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]กรุงเทพมหานคร[/SIZE][/FONT]
    <TABLE width="85%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width="25%">[​IMG]

    </TD><TD vAlign=center align=left width="75%" rowSpan=2>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๑. พระมหาปิ่น ปญฺญาพโล ปธ.๕ ได้รับบัญชาสมเด็จพระมหาวีระวงศ์ (ติสฺโส อ้วน) แล้วได้ไปเผยแพร่ พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ท่านพักที่วัดบรมนิวาส กรุงเทพฯ ๑ พรรษา มีพุทธบริษัทสดับตรับฟังเป็นอันมาก[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]มรณะภาพแล้ว ( ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๘๙ ณ วัดป่าแสนสำราญ อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี )[/SIZE][/FONT]
    </TD></TR><TR><TD noWrap align=middle width="25%">[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระมหาปิ่น[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=+1][FONT=Angsana New, AngsanaUPC]ปญฺญาพโล[/FONT][/SIZE]

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width="86%" border=0><TBODY><TR><TD width="73%" rowSpan=2>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๒. พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม ได้รับบัญชาสมเด็จพระมหาวีระวงศ์ (ติสฺโส อ้วน) แล้วได้ไปเผยแพร่ พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระในภาค ๑ กรุงเทพฯ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ท่านพักที่วัดบรมนิวาส ๑ พรรษา ได้ฝึกสอนพุทธบริษัทวัดบรมนิวาสให้นั่งสมาธิภาวนาและได้ไปฝึกสอนพุทธ บริษัท วัดสัมพันธวงศ์ให้นั่งสมาธิภาวนา[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]มีประชาชนพุทธบริษัทมาสดับตรับฟังและฝึกหัดนั่งสมาธิเป็นอันมากทั้ง ๒ สำนัก[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ท่านได้มรณะภาพเมื่อวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๐๔ ( ณ วัดป่าสาลวัน จ.นครราชสีมา )[/SIZE][/FONT]
    </TD><TD vAlign=bottom align=middle width="27%" height=254>[​IMG]
    </TD></TR><TR><TD width="27%">[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม[/SIZE][/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ลพบุรี[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์ปทุม ธนปาโล ไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ ที่จังหวัดลพบุรี[/SIZE][/FONT][FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ท่านพักอยู่ที่วัดป่านิคมสามัคคีชัย บ้านบ่อหด จังหวัดลพบุรี[/SIZE][/FONT][FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ท่านได้รับสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรฝ่ายวิปัสสนาธุระ มีพระนามว่า พระครูญาณวิโรจน์[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ปราจีนบุร[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๑. พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม ไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระในภาค ๒ จังหวัดปราจีนบุรี[/SIZE][/FONT][FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ก่อนแต่เมื่อยังไม่ตั้งสำนักสงฆ์วัดป่าทรงคุณ ท่านพักที่สวนมะม่วงของอาจารย์พร บรรลือคุณ ตะวันออก วัดป่าทรงคุณ ในดงพระราม จังหวัดปราจีนบุรี[/SIZE][/FONT][FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]และได้ไปช่วยแก้ไขวัดปากพอกที่เลิกร้าง ให้กลับเป็นวัดดีมีพระคณะธรรมยุต อยู่ประจำตลอดจนทุกวันนี้[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๒. พระมหาปิ่น ปญฺญาพโล ปธ.๕ ไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระภาค ๒ จังหวัดปราจีน บุรีอีก[/SIZE][/FONT][FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ท่านพักที่สำนักสงฆ์ วัดป่าทรงคุณ ตำบล ดงพระราม อำเภอ เมือง จังหวัดปราจีนบุรี ๕ พรรษา [/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เมื่อกลับจากจังหวัดปราจีนบุรีแล้ว ท่านป่วยได้นำไปพยาบาลรักษาตัว ที่วัดป่าแสนสำราญ อำเภอวารินทร์-[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=+1][FONT=Angsana New, AngsanaUPC]ชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ๒ พรรษา ไม่หาย[/FONT][/SIZE][FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ได้ถึงแก่มรณะภาพ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๙[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]จันทบุร[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๓. พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร และ พระอาจารย์กงมา จิรปุญโญ พระอาจารย์วิริยังค์ สิรินฺธโร พระอาจารย์ ไสว โสภิโต ไปเผยแพร่พระพุทธศาสนา ฝ่ายวิปัสสนาธุระในภาค ๒ จังหวัดจันทบุรี และได้แยกกันอยู่องค์ ละสำนัก คือ[/SIZE][/FONT]

    <TABLE width="85%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=left width="73%" rowSpan=2>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร พักอยู่ที่สำนักสงฆ์วัดป่าคลองกุ้ง อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี เมื่อพระพุทธศาสนาล่วงได้ ๒๔๙๒ พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร ได้เผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระใน ภาค ๑ กรุงเทพฯ ท่านพักอยู่ที่วัดบรมนิวาส จังหวัดพระนคร[/SIZE][/FONT]</TD><TD vAlign=bottom align=middle width="27%">
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD vAlign=top noWrap align=middle width="27%">[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร[/SIZE][/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ต่อมาท่านอยู่ที่วัดอโศการาม จังหวัดสมุทรปราการ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ฝ่ายวิปัสสนาธุระ มีพระนามว่า พระสุทธิธรรม รังสีคัมภีร์เมธาจารย์[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ท่านมรณะภาพเมื่อวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๐๔[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์กงมา จิรปุญโญ ท่านพักอยู่ที่สำนักสงฆ์ วัดป่าทรายงาม บ้านหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัด จันทบุรี[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เมื่อกลับจากจังหวัดจันทบุรีภาค ๒ แล้ว คณะสงฆ์ได้จัดส่งให้ไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาภาค ๔ จังหวัดสกลนคร[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ท่านพักอยู่ที่วัดดอยธรรมเจดีย์ บ้านนาสีนวน ตำบลตองโขบ อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ท่านมรณะภาพเมื่อวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๐๕[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์วิริยังค์ สิธินฺธโร ท่านพักอยู่ที่สำนักสงฆ์ วัดป่าดำรงธรรมาราม[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]และได้ขออนุญาตสร้างอุโบสถผูกพันธสีมา เมื่อพ.ศ. ๒๕๐๐ ชื่อว่าพันจากความเป็นสำนักสงฆ์แล้ว ได้เป็นวัด ดำรงธรรมารามโดยสมบูรณ์ด้วยกฏหมาย อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตรฝ่ายวิปัสสนาธุระ มีนามว่า พระครูญาณวิริยะ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ปัจจุบันคือ พระราชธรรมเจติยาจารย์ เจ้าอาวาสธรรมมงคล ซอยสุขุมวิท ๑๐๑ พระโขนง กรุงเทพฯ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์ไสว โสภิโต ท่านพักอยู่ที่วัดเจดีย์แก้ว ตำบลหนองซิ้ม อำเภอแหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ได้รับสมณศักดิ์ เป็นฐานานุกรมของเจ้าคุณ พระเทพสุทธิโมลี วัดจันทนาราม เจ้าคณะธรรมยุต จังหวัด จันทบุรี มีนามว่า พระครูปลัดไสว โสภิโต[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]นครราชสีมา[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ๒๔๗๔ สมเด็จพระมหาวีระวงศ์ (ติสฺโส อ้วน) เมื่อครั้งดำรงสมณศักดิ์ เป็นพระราชา คณะ ชั้นเจ้าคณะรอง (หิรัญญบัตร) มีนามว่า เจ้าคณะ พระพรหมมุนี (ติสฺโส อ้วน) เจ้าคณะมณฑลนคร ราชสีมา วัดสุทธจินดา[/SIZE][/FONT]
    <TABLE width="85%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center noWrap align=left>[​IMG]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]พระอุบาลีคุณูปมาจารย์[/FONT]

    </TD><TD vAlign=center>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ท่านได้บังเกิดมีความสังเวชสลดใจ โดยได้ทัศนาการเห็นเจ้าพระคุณ พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ วัดบรมนิวาส จังหวัดพระนคร ป่วยหนักระลึกถึงตัวว่าไม่มีกัลยาณมิตรที่ดีทางฝ่ายวิปัสสนา ใคร่จะหาที่พึ่งอันประเสริฐต่อไป[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]จึงตกลงใจต้องไปเอาพระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม พระมหาปิ่น ปญฺญาพโล ซึ่งกำลังออกเที่ยวธุดงค์ไป[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=+1][FONT=Angsana New, AngsanaUPC]จังหวัดขอนแก่นมาเป็นกัลยาณมิตรที่ดีให้จงได้[/FONT][/SIZE]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เมื่อตกลงใจแล้วก็ไปโดยฐานะเป็นเจ้าคณะตรวจการ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ครั้นไปถึงจังหวัดขอนแก่นแล้ว ถามได้ทราบว่า พระอาจารย์สิงห์ พระมหาปิ่น กำลังออกไปเทศนาสั่งสอน ประชาชนอยู่อำเภอน้ำพอง[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ก็โทรเลขถึงนายอำเภอให้ไปอาราธนา พระอาจารย์สิงห์ พระมหาปิ่น เอารถยนต์มาส่งถึงจังหวัดขอนแก่นใน[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=+1][FONT=Angsana New, AngsanaUPC]วันนั้น[/FONT][/SIZE]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เมื่อมาถึงจังหวัดขอนแก่นแล้ว ท่านบอกว่า[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]จะเอาไปอยู่ด้วยที่จังหวัดนครราชสีมา เพื่อปรึกษาหารือกันด้านวิปัสสนาและอบรมสมถวิปัสสนาแก่พุทธบริษัท ทั้งหลายด้วย เพราะได้เห็น เจ้าคุณพระอุบาลี คุณูปมาจารย์ป่วยขาหักเสียแล้ว เราสลดใจมาก[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เมื่อมาถึงจังหวัดนครราชสีมาแล้ว เจ้าคุณพระพรหมมุนีพักอยู่วัดสุทธจินดา พอสมควรแล้ว ก็นำพระอาจารย์ สิงห์ พระมหาปิ่น ออกไปหาวิเวก ที่ป่าช้าที่ ๓[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]คุณหลวงชาญนิคม คุณหลวงนรา ได้ถวายที่ดินให้เห็นเป็นพื้นที่สร้างวัดป่าสาลวัน[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]แล้วท่านก็นำไปหาเจ้าพระคุณ พระอุบาลี คุณูปมาจารย์ ที่วัดบรมนิวาสกรุงเทพฯ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ครั้นเมื่อวันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๔๗๕ กลับจากกรุงเทพฯ ถึงจังหวัดนครราชสีมาแล้ว เจ้าพระคุณพระพรหมมุนี ไปพักวัดสุทธจินดา[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์สิงห์ พระมหาปิ่น ไปพักที่วัดป่าสาลวัน ซึ่งคุณหลวงชาญนิคม ได้เริ่มสร้างมาตั้งแต่เดือนกุมภา พันธ์ ๒๔๗๔ ได้กุฏิ ๑ หลัง ศาลายังสร้างไม่เสร็จ ๑ หลัง[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พรรษาแรก ได้แยกกันอยู่จำพรรษา ดังนี้คือ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๑. พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๒. พระอาจารย์อ่อน ญาณสิริ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๓. พระอาจารย์กงมา จิรปุญฺโญ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ อยู่จำพรรษาที่สำนักสงฆ์วักป่าสาลวัน จังหวัดนครราชสีมา มีพระ ภิกษุ ๓๘ รูป สามเณร ๑๒ รูป[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๑. พระมหาปิ่น ปญฺญาพโล ปธ.๕[/SIZE][/FONT][FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]กับ[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=+1][FONT=Angsana New, AngsanaUPC]๒. พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร[/FONT][/SIZE]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เผยแพร่พระพุทธศาสนาอยู่จำพรรษาที่สำนักสงฆ์ ป่าช้าที่ ๒ เรียกว่าป่าศรัทธารวม ตำบลหัวทะเล อำเภอ เมือง จังหวัดนครราชสีมา มีพระภิกษุ ๑๐ รูป สามเณร ๔ รูป[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ครั้นปีต่อไป ก็ได้แยกกันอยู่จำพรรษา เป็นหลายสำนักมากขึ้น โดยลำดับ คือ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๑. ท่านพระอาจารย์ภุมมี จิตรธมฺโม พร้อมด้วยพระภิกษุ ๕ รูป เผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ อยู่จำพรรษาที่สำนักสงฆ์ วัดป่าท่าช้าง จังหวัดนครราชสีมา[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ท่านมรณะภาพประมาณปี ๒๕๐๖[/SIZE][/FONT]
    <TABLE width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]พระอาจารย์อ่อน[/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]ญาณสิริ [/FONT]
    </TD><TD>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]พระอาจารย์ฝั้น[/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]อาจาโร [/FONT]
    </TD><TD>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]พระอาจารย์กงมา[/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]จิรปุญโญ [/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๒. พระอาจารย์อ่อน ญาณสิรพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร พระอาจารย์กงมา จิรปุญฺโญ ให้ไปเผยแพร่พระ พุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ ใขเขตอำเภอสี่คิ้ว จังหวัดนครราชสีมา[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]นายอำเภอมีความเลื่อมใสอาราธนาไปพักสำนักสงฆ์ วัดป่าสว่างอารมณ์ บ้านใหม่สำโรง อำเภอสี่คิ้ว จังหวัด นครราชสีมา[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๓. พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร พร้อมทั้งพวกไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ ที่อำเภอโชคชัย[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ขุนอำนาจ นายอำเภอมีศรัทธาเลื่อมใสมากได้อาราธนาให้ท่านพักที่สำนักสงฆ์วัดป่าธรรมนิการาม อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๔. พระอาจารย์บุญ พระอาจารย์พรหม พรหมสโร ไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระที่กิ่งอำเภอ บำเหน็ดณรงค์[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ท่านพักจำพรรษาอยู่ที่สำนักสงฆ์วัดป่าสำราญจิต ตำบลบ้านชวน กิ่งอำเภอบำเหน็ดณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๕. พระอาจารย์คำตา พร้อมพระภิกษุ ๕ รูป สามเณร ๒ รูป ไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ ที่อำเภอปักธงชัย[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ท่านพักอยู่จำพรรษาที่สำนักสงฆ์ วัดป่าเวฬุวัน อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เมื่อพระอาจารย์คำตาจากไปแล้ว ต่อมามีพระอาจารย์ตู้ เป็นผู้อยู่ปกครองสืบมา[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๖. พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม พร้อมด้วยพระภิกษุ ๕ รูป สามเณร ๒ รูป ไปเผยแพร่พระพุทธศาสนา ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ที่อำเภอจตุรัส จังหวัดชัยภูมิ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ท่านพักที่สำนักสงฆ์วัดป่าสุวรรณไพโรจน์ อำเภอจตุรัส จังหวัดชัยภูมิ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]อยู่ต่อมา คณะสงฆ์ได้ให้พระอาจารย์ทองอยู่ ฐิตธมฺโม ปกครองวัดสืบมา และได้ขอพระบรมราชานุญาต สร้างอุโบสถผูกพันทธสีมา เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๒[/SIZE][/FONT]
    <TABLE width="85%" border=0><TBODY><TR><TD noWrap width="33%">[​IMG]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์ภุมมี ฐิตธมฺโม[/SIZE][/FONT]​

    </TD><TD vAlign=center align=left width="67%">[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๗. พระอาจารย์ภุมมี ฐิตธมฺโม พร้อมด้วยพระภิกษุ ๕ รูป สามเณร ๒ รูป ไปเผยแพร่พระพุทธศาสนา ฝ่ายวิปัสสนาธุระ อำเภอจักรราช[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ท่านพักอยู่ที่สำนักสงฆ์วัดป่าจักรราช อำเภอจักรราช จังหวัดนครราชสีมา[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ต่อมา คณะสงฆ์ได้จัดให้ พระอาจารย์สำราญ ปกครองอยู่สำนักสงฆ์วัดป่าจักรราช[/SIZE][/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​

    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ได้รับสมณศักดิ์ เป็นฐานานุกรมของเจ้าคุณพระธรรมปิฏก เจ้าคณะธรรายุตภาค ๓-๔-๕ มีนามว่า พระครู ธรรมธรสำราญ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]และได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต วิสุงคามสีมาสร้างอุโบสถเสร็จแล้ว ผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ ๒-๓ ๔-๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๓[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]อุบลราชธานี[/SIZE][/FONT]
    <TABLE width="85%" border=0><TBODY><TR><TD width="64%">[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์เสาร์ กนฺตสีลเถระ และ พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺตเถระ พร้อมด้วยพระภิกษุสงฆ์สามเณรเป็นอัน มาก เผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระในท้องที่จังหวัดอุบลราชธานี[/SIZE][/FONT]</TD><TD noWrap width="36%">
    [​IMG]

    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]พระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ [/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๑. พระอาจารย์เสาร์ กนฺตสีลเถระ พักอยู่ที่วัดบูรพา จังหวัดอุบลราชธานี และได้จัดการสร้างสำนักสงฆ์ขึ้น หลายสำนัก คือ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]สำนักสงฆ์วัดภูเขาแก้ว อำเภอพิบูลมังสาหาร สำนักสงฆ์วัดดอนธาตุ อำเภอพิบูลมังสาหาร[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]สำนักสงฆ์วัดป่าบ้านสวนงัว อำเภอม่วงสามสิบ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]สำนักสงฆ์วัดบ้านเหล่าเสือโกก อำเภอขุหลุ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]สำนักสงฆ์วัดบ้านด่าน อำเภออำนาจเจริญ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]สำนักสงฆ์วัดป่าท่าหัวดอน อำเภอเขื่องใน[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ท่านป่วยเป็นโรคชรา มรณะภาพล่วงไปเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๕[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๒. พระอาจารย์มั่น ภูริทัตฺตเถระ ไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ ภาค ๔ จังหวัดสกลนคร[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ท่านพักอยู่ที่สำนักสงฆ์วัดป่าสุทธาวาส จังหวัดสกลนคร แล้วไปอยู่สำนักสงฆ์ วัดป่าบ้านหนองผือ อำเภอ พรรณานิคม จังหวัดสกลนคร[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ป่วยด้วยโรคชราอาพาธถึงแก่มรณะภาพ เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๒[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๓. พระอาจารย์ดี ฉนฺโน เผนเพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ วัดป่าภูเขาแก้ว อำเภอพิบูลสาหาร และ สำนักสงฆ์วัดป่าแสนสำราญ อำเภอวารินทร์ชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ตั้งสำนักสงฆ์ วัดป่าด่าน อำเภอ อำนาจเจริญ จังหวัดอุบลราชธานี[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ท่านป่วยเป็นโรคเส้นโลหิตในสมองแตก มารักษาอยู่สำนักสงฆ์วัดป่าแสนสำราญ อำเภอวารินทร์ชำราบ[/SIZE][/FONT][FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ไม่หายถึงแก่มรณะภาพ เมื่อวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๐๒[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๔. พระอาจารย์บุญสิงห์ อยู่จำพรรษาสำนักวัดสร่างโศก เปลี่ยนเป็นวัดศรีธรรมาราม ได้รับสมณศักดิ์ เป็น พระครูสัญญาบัตรมีนามว่า พระครูพิศาลศีลคุณ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๕. พระอาจารย์ฝั่น ปาเรสโก อยู่จำพรรษาที่สำนักสงฆ์วัดบ้านหนองไค่ อำเภอยโสธร จังหวัดอุบลราชธานี [/SIZE][/FONT][FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ต่อมาท่านได้มาอยู่ที่สำนักสงฆ์ถ้ำเอราวัณ จังหวัดเลย[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]สุรินทร์[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1][FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์ดูลย์ อตุโล พระมหาโชติ พระอาจารย์น้อย อรินฺทโม ไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ ในท้องที่จังหวัดสุรินทร์[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT]
    <TABLE width="85%" border=0><TBODY><TR><TD width="46%">[​IMG]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]หลวงปู่ดูลย์ อตุโลกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว[/FONT]​

    </TD><TD width="54%">[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๑. พระอาจารย์ดูลย์ อตุโล ท่านพักอยู่วัดบูรพาราม จังหวัดสุรินทร์ ได้รับสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญา บัตร มีนามว่า พระครูรัตนากร เจ้าคณะธรรมยุต จังหวัดสุรินทร์ และเป็นพระอุปัชฌาย์[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ต่อมาคือ พระราชวุฒาจารย์ และมรณะภาพเมื่อ ๒๕๒๖[/SIZE][/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​

    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๒. พระอาจารย์มหาโชติ คุณสัมฺปนฺโน พักอยู่สำนักสงฆ์ วัดป่าโยธาประสิทธิ กรมทหาร จังหวัดสุรินทร์ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ มีนามว่า พระธรรมฐิติญาณ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ต่อมาท่านอยู่วัดสุทธจินดา จังหวัดนครราชสีมา เป็นเจ้าคณะธรรมยุตจังหวัดนครราชสีมา และได้เลื่อน สมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นราช มีนามว่า พระราชสุทธาจารย์ เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๒[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ต่อมาคือ พระเทพสุทธาจารย์ (พระมหาโชติ คุณสมฺปนฺโน) อดีตเจ้าอาวาสวัดวชิราลงกรณ์วรารามวิหาร ปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา มรณะภาพเมื่อ ๒๔ มีนาคม ๒๕๑๗[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์น้อย อรินฺทโม พักอยู่สำนักสงฆ์ วัดป่านิมิตรมงคลสถานี จังหวัดสุรินทร์[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ศรีษะเกษ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์ภุมมี ฐิตธมฺโม ไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ จังหวัดศรีษะเกษ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เมื่อไปถึงจังหวัดศรีษะเกษแล้ว ท่านได้พักอยู่สำนักสงฆ์วัดป่าสำราญ ตำบลเมืองใต้ อำเภอเมือง จังหวัด ศรีษะเกษ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ต่อมาท่านไปอยู่ วัดโนนพระนิเวศน์ จังหวัดอุดรธานี[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]อุดรธานี[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์ภุมมี ฐิตธมฺโม พระอาจารย์อ่อน ญาณสิรพระอาจารย์มหาบัว ญาณสมฺปน์โน พร้อมด้วยพระ ภิกษุและสามเณรหมวดละ ๗ องค์ ไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่านวิปัสสนาธุระ ในท้องที่จังหวัดอุดรธานี[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เมื่อไปถึงจังหวัดอุดรธานีแล้ว[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์ภุมมี ฐิตธมฺโม พักอยู่สำนักวัดป่าโนนพระนิเวศน์ จังหวัดอุดรธานี ได้รับสมณศักดิ์เป็นฐานานุกรม ของเจ้าคุณพระธรรมเจดีย์ เจ้าคณะธรรมยุติ ผู้ช่วยภาค ๓-๔-๕ รูปที่ ๓ มีนามว่าพระครูวินัยธรภุมมี ฐิตธมฺโม[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์อ่อน ญาณสิริ ท่านพักอยู่สำนักสงฆ์วัดป่าบ้านหนองบัวบาน อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]มรณะภาพแล้ว[/SIZE][/FONT]
    <TABLE width="87%" border=0><TBODY><TR><TD noWrap width="55%">[​IMG]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]พระอาจารย์มหาบัวกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว[/FONT]​

    </TD><TD width="45%">[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์มหาบัว ญาณสมฺปนฺโน ท่านพักอยู่สำนักสงฆ์วัดป่าบ้านตาด อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี [/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]( ปัจจุบันมีสมณศักดิ์ที่ พระธรรมวิสุทธิมงคล )[/SIZE][/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]สกลนคร[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร พระอาจารย์กงมา จิรปุญฺโญ พระอาจารย์สิลา อิสฺสโร พระอาจารย์แว่น พระอาจารย์หอม พระอาจารย์ทองคำ พร้อมด้วยพระภิกษุและสามเณรหมวดละ ๗ รูป ไปเผยแพร่พระพุทธศาสนา ฝ่ายวิปัสส นาธุระ ในท้องที่จังหวัดสกลนคร[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เมื่อไปถึงจังหวัดสกลนครแล้ว เวลานี้เผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ อยู่ในสำนักต่างๆ ดังต่อไป[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=+1][FONT=Angsana New, AngsanaUPC]นี้คือ[/FONT][/SIZE]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๑. พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร อยู่สำนักสงฆ์ วัดป่าถ้ำผาขาม จังหวัดสกลนคร[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๒. พระอาจารย์กงมา จิรปุญฺโญ พักอยู่สำนักสงฆ์ยอดเขา เรียกว่า วัดป่าดอยธรรมเจดีย์ จังหวัดสกลนคร[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๓. พระอาจารย์สิลา อิสฺสโร อยู่สำนักสงฆ์ วัดโพธิชัย หรือวัดป่าอิสรารามก็เรียก ตำบลวาใหญ่ อำเภอวานร นิวาส จังหวัดสกลนคร[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๔. พระอาจารย์กว่า สุมโน อยู่สำนักสงฆ์ วัดป่าบ้านภู่ อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]มรณะภาพเมื่อ ๑๔ มกราคม ๒๕๑๙[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๕. พระอาจารย์แว่น ธนปาโล อยู่สำนักสงฆ์ วัดป่าบ้านบัว อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ต่อมาเป็นเจ้าอาวาสวัดป่าสุทธาวาส จังหวัดสกลนคร[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ปัจจุบันพำนักจำพรรษาที่วัดถ้ำพระสบาย อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]( มรณภาพแล้วเมื่อวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๔๔ )[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๖. พระอาจารย์หอม อยู่สำนักสงฆ์ วัดป่าบ้านอุ่มเม่า อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๗. พระอาจารย์ทองคำ อยู่สำนักสงฆ์ วัดป่าฝั่งโคน อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]นครพนม[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์เกิ่ง อธิมุตฺโต พระอาจารย์บุญมา มหายโส พระอาจารย์ทอง อโสโก พระอาจารย์สนธิ์ พระอาจารย์ คำ คมฺภีโร พระอาจารย์จรัส พร้อมด้วยภิกษุและสามเณรหมวดละ ๗ องค์ ไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่าย วิปัสสนาธุระ ในท้องที่จังหวัดนครพนม[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เมื่อไปถึงจังหวัดนครพนมแล้ว ท่านได้แยกกันอยู่ตามสำนักต่างๆ ดังนี้[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๑. พระอาจารย์เกิ่ง อธิมุตฺโต อยู่สำนักวัดโพธิชัย ตำบลสามผง อำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม ได้ รับตำแหน่งเป็นพระอุปัชฌาย์[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๒. พระอาจารย์บุญมา มหายโส อยู่สำนักวัดอรัญญิกาวาส จังหวัดนครพนม ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตร มีนามว่าพระครูไพโรจน์ ปัญญาคุณ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๓. พระอาจารย์ทอง อโสโก อยู่สำนักสงฆ์วัดป่าเกาะแก้ว อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๔. พระอาจารย์สนธิ์ อยู่สำนักสงฆ์วัดถ้ำบ้านนาโสก อำเภอนาแก จังหวัดนครพนม[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๕. พระอาจารย์คำ คมฺภีโร อยู่สำนักสงฆ์ วัดป่าสิลาวิเวก อำเภอมุกดาหาร จังหวัดนครพนม[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๖. พระอาจารย์จรัส อยู่สำนักสงฆ์ วัดป่าท่าควาย อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]หนองคาย[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์หนูพูล พระอาจารย์หล้า พร้อมด้วยภิษุและสามเณร ไปเผยแพร่พระพุทธศาสนา ในท้องที่จังหวัด หนองคาย[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เมื่อไปถึงจังหวัดหนองคายแล้ว ท่านได้แยกกันอยู่สำนักต่างๆ ดังต่อไปนี้[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๑. พระอาจารย์หนูพูล อยู่สำนักสงฆ์ วัดป่า อำเภอบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๒. พระอาจารย์หล้า อยู่สำนักสงฆ์ อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ขอนแก่น[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๒-๒๔๗๔ พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม พระอาจารย์มหาปิ่น ปญฺญพโล ปธ.๕ พระ อาจารย์อ่อน ญาณสิริ พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร พระอาจารย์อุ่น พระอาจารย์เกิ่ง อธิมุตฺโต พระอาจารย์สิลา อิสฺสโร พระอาจารย์ภุมมี ฐิตธมฺโม พระอาจารย์กงมา จิรปุญฺโญ พระอาจารย์ดี ฉนฺโน พร้อมพระภิกษุสามเณร ประมาณรวม ๓๐ รูป ไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่านวิปัสสนาธุระ ในท้องที่จังหวัดขอนแก่น[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เมื่อไปถึงจังหวัดขอนแก่นแล้ว ได้แยกกันอยู่จำพรรษาตามสำนักสงฆ์ต่างๆ ดังต่อไปนี้[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๑. พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม พระอาจารย์ภุมมี ฐิตธมฺโม พระอาจารย์กงมา จิรปุญฺโญ พระอาจารย์หลุย อยู่จำพรรษาที่สำนักสงฆ์ วัดป่าวิเวกธรรม ตำบลโนนทัน อำเภอพระลับ จังหวัดขอนแก่น[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๒. พระมหาปิ่น ปญฺญาพโล ปธ.๕ พระอาจารย์อ่อน ญาณสิริ อยู่จำพรรษาที่สำนักสงฆ์วัดป่าบ้านพระ คือ อำเภอพระลับ จังหวัดขอนแก่น[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๓. พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร พร้อมด้วยพระภิกษุสามเณร อยู่จำพรรษาที่สำนักสงฆ์วัดป่าบ้านผือ ตำบลโนนทัน อำเภอพระลับ จังหวัดขอนแก่น[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๔. พระอาจารย์กิ่ง อธิมุตฺโต พร้อมด้วยพระภิกษุสามเณร อยู่จำพรรษาที่สำนักสงฆ์วัดป่าชัยวันบ้านสีฐาน อำเภอพระลับ จังหวัดขอนแก่น[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๕. พระอาจารย์สิลา อิสฺสโร อยู่จำพรรษาที่สำนักสงฆ์วัดป่าบ้านคำไฮ ตำบลเมืองเก่า อำเภอพระลับ จังหวัด ขอนแก่น[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๖. พระอาจารย์อุ่น พร้อมด้วยพระภิกษุสามเณร อยู่จำพรรษาที่สำนักสงฆ์วัดป่าบ้านทุ่ง อำเภอพระลับ จังหวัดขอนแก่น[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๗. พระอาจารย์ดี ฉนฺโน พร้อมด้วยพระภิกษุสามเณร อยู่จำพรรษาที่สำนักสงฆ์วัดป่าบ้านโคกโจด อำเภอพระ ลับ จังหวัดขอนแก่น[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๘. พระอาจารย์ซามา อุจุตฺโต พร้อมด้วยพระภิกษุสามเณร อยู่จำพรรษาที่สำนักสงฆ์วัดป่าบ้านยางคำจังหวัด[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=+1][FONT=Angsana New, AngsanaUPC]ขอนแก่น[/FONT][/SIZE]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๙. พระอาจารย์นิน อยู่จำพรรษาที่สำนักสงฆ์ วัดป่าสุมนามัย อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เมื่อออกพรรษาแล้ว ได้พร้อมด้วยเจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะอำเภอ เจ้าคณะตำบล และพระอุปัชฌาย์ในท้องที่ อำเภอพระลับ จังหวัดขอนแก่น ออกเทศนาสั่งสอนประชาชนให้ละมิจฉาทิฐิ เลิกจากการถือภูติผีปีศาจ ตั้ง อยู่ในพระไตรสรณคมน์ทุกปีตลอดมาทั้ง ๓ ปี[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ครั้นเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๗๔ กำลังออกเทศนาสั่งสอนประชาชนไปในท้องที่อำเภอน้ำพอง เจ้าพระคุณ พระพรหมมุนี เจ้าคณะมณฑลนครราชสีมา มีบัญชาอาราธนาให้ไปจังหวัดนครราชสีมา จึงได้ย้ายจากจังหวัด ขอนแก่นไปอยู่จำพรราที่จังหวัดนครราชสีมา[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]กาฬสินธุ์[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์แดง พร้อมด้วยหมู่คณะ ไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ ในท้องที่จังหวัดกาฬสินธุ์ ท่านอยู่จำพรรษาที่สำนักสงฆ์วัดป่าประชานิยม ตำบลเมือง อำเภอ เมือง จังหวัดกาฬสินธุ์[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตร มีนามว่า พระครูกาฬสินธุ์จรัสคุณ และเป็นพระอุปัชฌาย์ เจ้าคณะธรรมยุต อำเภอ จังหวัดกาฬสินธุ์[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]มหาสารคาม[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์คูณ อธิมุตฺตโก พร้อมด้วยพระภิกษุสามเณร ไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ ท่าน พักอยู่จำพรรษาที่สำนักสงฆ์ ป่าพูนไพบูลย์ อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ป่วยเป็นโรคฝีประคำร้อย ถึงแก่ มรณภาพ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๗[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ร้อยเอ็ด[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์สีโห เขมโก พร้อมด้วยพระภิกษุสามเณร เผนแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ จังหวัดร้อย เอ็ด ท่านพักอยู่จำพรรษาที่สำนักสงฆ์วัดป่าศรีไพวัน ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ต่อมาท่านได้มาอยู่สำนักสงฆ์วัดป่าทรงคุณ ตำบลดงพระราม อำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เลย[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์คำดี ปภาโส พระอาจารย์ชอบ พร้อมด้วยพระภิกษุสามเณร ไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัส สนาธุระ ในท้องที่จังหวัดเลย[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เมื่อไปถึงจังหวัดเลยแล้ว ท่านได้แยกกันอยู่จำพรรษา ตามสำนักต่างๆ ดังต่อไปนี้[/SIZE][/FONT]
    <TABLE width="85%" border=0><TBODY><TR><TD noWrap width="34%">[​IMG]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]พระอาจารย์คำดี ปภาโส[/FONT]

    </TD><TD vAlign=center width="66%">[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๑. พระอาจารย์คำดี ปภาโส พักอยู่สำนักสงฆ์วัดป่าถ้ำผาปู่เขานิมิตร จังหวัดเลย ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตร มีนามว่า พระครูญาณทัสสี[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ปัจจุบันมรณภาพแล้ว[/SIZE][/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๒. พระอาจารย์ชอบ ฐานสโม ท่านพักอยู่สำนักสงฆ์ วัดป่าถ้ำเขาเมืองเลย จังหวัดเลย[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ปัจจุบันอยู่จำพรรษาที่วัดป่าสัมมานุสรณ์ อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]( มรณภาพ ๘ มกราคม ๒๕๓๘ )[/SIZE][/FONT]
    </TD><TD noWrap>[​IMG]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]หลวงปู่ชอบกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว[/FONT]​

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เชียงใหม่[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์ตื้อ พระอาจารย์สิม พระอาจารย์หลุยไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระในท้องที่จังหวัด นครเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เมื่อไปถึงจังหวัดนครเชียงใหม่แล้ว ท่านได้แยกกันอยู่คนละสำนักดังนี้[/SIZE][/FONT]
    <TABLE width="85%" border=0><TBODY><TR><TD noWrap width="36%">[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]พระอาจารย์ตื้อ อาจาลธัมโม[/FONT]​

    </TD><TD vAlign=center width="64%">[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๑. พระอาจารย์ตื้อ อาจลธมฺโม อยู่สำนักสงฆ์ วัดป่าดาราภิรมย์ ตำบลค่ายรัศมี อำเภอแม่ริม จังหวัดนครเชียง ใหม่[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]มรณภาพเมื่อ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๑๔[/SIZE][/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๒. พระอาจารย์สิม พุทธาจาโร พักอยู่สำนักสงฆ์ วัดป่าสันติธรรม จังหวัดนครเชียงใหม่ ได้รับพระราชทาน สมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตร ฝ่านวิปัสสนาธุระ มีนามว่า พระครูสันติวรญาณ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ปัจจุบันอยู่วัดถ้ำผาปล่อง อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]( ต่อมาได้รับสมศักดิ์ที่พระญาณสิทธาจารย์ มรณภาพเมื่อวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๓๕ )[/SIZE][/FONT]
    </TD><TD>[​IMG]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]พระอาจารย์สิม พุทธาจาโร[/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]กับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ[/FONT]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]พระอาจารย์หลุยกับ[/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หั[/FONT]

    </TD><TD>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๓. พระอาจารย์หลุย จนฺทสาโร พักอยู่สำนักสงฆ์ วัดป่า จังหวัดเชียงราย[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ปัจจุบัน อยู่วัดถ้ำผาบิ้ง ตำบลทรายขาว อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]( มรณภาพเมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๓๒ )[/SIZE][/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ลำปาง[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์แว่น พร้อมหมู่ภิกษุสามเณร ไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ ในท้องที่จังหวัดลำปาง เมื่อไปถึงแล้วพักอยู่จำพรรษาที่สำนักสงฆ์ วัดป่าสำราญนิวาส อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ต่อมาท่านอยู่วัดป่าบ้านบัว อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]นครสวรรค์[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์ทรงชัย (แข) พร้อมด้วยพระภิกษุสามเณร ไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ ในท้องที่ จังหวัดนครสวรรค์ ภาค ๖ ท่านพักอยู่จำพรรษา ที่สำนักสงฆ์วัดป่าเทวาสถาพร ตอนทางบ้านแดน จังหวัดนคร สวรรค์[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ภูเก็ต พังงา[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]พระอาจารย์เทสก์ เทสรังสี พระอาจารย์จันทร์ จนฺทสิริ พร้อมพระภิกษุสามเณร ไปเผยแพร่พระพุทธศาสนา ฝ่ายวิปัสสนาธุระในภาคใต้ คือ ภาค ๗ จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดพังงา[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]เมื่อไปถึงภาคใต้แล้ว ท่านได้แยกกันอยู่สำนักต่างๆ ดังนี้คือ[/SIZE][/FONT]
    <TABLE width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๑. พระอาจารย์เทสก์ เทสรังสี อยู่จำพรรษาสำนักสงฆ์ วัดป่าไม้ขาว จังหวัดภูเก็ต ได้รับสมณศักดิ์เป็นพระรา าคณะชั้นสามัญฝ่ายวิปัสสนาธุระ มีนามว่า พระนิโรธรังสี คัมภีรปัญญาจารย์ เจ้าคณะธรรมยุตอำเภอ จังหวัด ภูเก็ต และพังงา เป็นพระอุปัชฌาย์[/SIZE][/FONT]</TD><TD>
    [​IMG]

    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]พระอาจารย์เทสก์ กับ[/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC]พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ[/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ปัจจุบันอยู่วัดหินหมากเป้ง อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]( มรณภาพเมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๓๗ )[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]๒. พระอาจารย์จันทร์ จนฺทสิริ อยู่สำนักสงฆ์วัดป่า............ จังหวัดกระบี่[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]จากเรื่องราวที่กล่าวมา บรรดาพระอาจารย์ในกองทัพธรรมฝ่ายวิปัสสนาธุระ เฉพาะองค์ที่ปรากฏชื่อเสียงขจร ขจายมาจนกระทั่งทุกวันนี้[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต มรส่วนสำคัญมากที่เป็นกำลังใจให้ท่านเหล่านี้ได้รับธรรมอันลึกซึ้งสามารถทำให้ เกิดประโยชน์แผ่ขยายไปมากมายหลายแห่งในทุกภาคของประเทศ[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ถึงแม้ว่าปัจจุบันท่านจะมรณภาพ แต่ชื่อเสียง เกียรติคุณของพระอาจารย์มั่น ยังคงอยู่เป็นที่เคารพสักการะ ของหมู่ชนโดยทั่วไปไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าครั้งที่ท่านยังดำรงชีวิตอยู่[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]การที่ได้นำ กองทัพธรรมฝ่ายวิปัสสนาธุระ มาลงพิมพ์ เพื่อที่จะได้เป็นตัวอย่างที่ดี เป็นแนวความคิดให้ปรากฏ แก่ กองทัพธรรมฝ่ายวิปัสสนาธุระ ในยุคปัจจุบัน ที่ตกทอดสืบต่อมาจากพระอาจารย์เสาร์ กนฺตสีโล พระ อาจารย์มั่น ภูริทัตฺโต และพระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม[/SIZE][/FONT]
    [FONT=Angsana New, AngsanaUPC][SIZE=+1]ซึ่งจักได้ช่วยกันทำนุบำรุงเผยแพร่งานด้านวิปัสสนาธุระ ให้ขจรขจาย แก่ผู้คนที่นับวันก็ยิ่งจะสนใจการปฏิบัติ ธรรมสมาธิภาวนากันมากขึ้นต่อๆ ไป[/SIZE][/FONT]
     
  2. toottoo

    toottoo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2006
    โพสต์:
    720
    ค่าพลัง:
    +3,255
    เสียดาย.... น่าจะมีชื่อพระสุรรมคณาจารย์ (หลวงปู่เหรียญ วาลาโภ) แห่งวัดอรัญญบรรพต จ.หนองคายด้วย ท่านเคยไปร่วมกับหลวงปู่เทสก์ไปเผยแพร่ธรรมทางใต้ ทางภูเก็ต พังงา และสร้างวัดประชาสันติไว้ที่พังงาด้วย
     
  3. lonely_pkw

    lonely_pkw เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    110
    ค่าพลัง:
    +333
    เห็นด้วยครับ หลวงปู่เหรียญครั้งจำพรรษาที่ภูเก็ต เคยมีคนไปถ่ายรูปท่านโดยไม่ขออนุญาตก่อน เห็นว่าจะถ่ายไม่ติดเลยครับ

    อีกอย่างเท่าที่รู้มา หลวงปู่เหรียญเป็นพระอีกรูปหนึ่งที่ได้รับการนิมนต์ไปในวังบ่อยๆครับ

    (ผิดพลาดประการใด ขอคำชี้แนะด้วยครับ)
     
  4. ศิษย์หลวงตา

    ศิษย์หลวงตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2007
    โพสต์:
    500
    ค่าพลัง:
    +2,855
    ก็อยากจะเพิ่มชื่อท่านเข้าไปด้วยนะครับ
    แต่เรื่อง กองทัพธรรม ฝ่ายวิปัสนาธุระ ในสมัย บุพพาจารย์ แห่งยุค นี้แต่งโดย พระญาณวิศิษฏ์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม) กับ พระอริยคุณาธาร (เส็ง ปุสฺโส)
    จึงไม่อยากแก้ไข ดัดแปลงครับ ต้องขออภัยทุกท่านด้วยครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...