ตามรอยสมเด็จเจ้าฟ้าเผยแผ่พระไตรปิฎก

ในห้อง 'ข่าวพุทธศาสนา' ตั้งกระทู้โดย aprin, 4 มกราคม 2008.

  1. aprin

    aprin เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    7,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +22,514
    [​IMG]


    ------------




    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width=567 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>ตามรอยสมเด็จเจ้าฟ้าเผยแผ่พระไตรปิฎก</TD></TR><TR><TD vAlign=top>4 มกราคม 2551 01:54 น.</TD></TR><TR><TD class=Text_Story vAlign=top><!-- [​IMG] [​IMG] พระกรณียกิจสำคัญด้านพุทธศาสนาของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ คือ ทรงเป็นประธานกิตติมศักดิ์การประดิษฐานพระไตรปิฎกฉบับสากล อักษรโรมัน ฉบับแรกของโลก แก่นานาประเทศ ตามรอยพระไตรปิฎกบาฬี อักษรสยาม สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 พระบรมอัยกาธิราชของพระองค์ เมื่อ 114 ปีก่อน




    สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ มีพระกรณียกิจสำคัญด้านการส่งเสริมพระพุทธศาสนาด้วยการเผยแผ่พระไตรปิฎกสากลสู่โลก โดย "มูลนิธิร่วมจิตต์น้อมเกล้าฯ เพื่อเยาวชนในพระบรมราชินูปถัมภ์" ซึ่งสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯทรงเป็นประธานก่อตั้งและประธานกิตติมศักดิ์ และ "กองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ" ซึ่งพระองค์ท่านทรงเป็นประธานกิตติมศักดิ์ การพระราชทานและประดิษฐานพระไตรปิฎกในนานาประเทศ ร่วมกันจัดพิมพ์พระไตรปิฎกเพื่อเผยแผ่พระไตรปิฎกฉบับสากล ภาษาโรมัน ชุดสมบูรณ์ 40 เล่ม ชุดแรกของโลกขึ้น
    ต่อมาเมื่อวันที่6 มีนาคม 2548 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จจาริกสู่ศรีลังกาตามคำกราบทูลเชิญของประธานาธิบดีแห่งศรีลังกา เพื่อพระราชทานพระไตรปิฎกสากลชุดปฐมฤกษ์ของโลก อันเป็นการเผยแผ่พระธัมมทานตามรอยพระไตรปิฎก ฉบับ "จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช ร.ศ.112" อักษรสยามซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานแก่สถาบันสำคัญต่างๆ กว่า 260 แห่งทั่วโลกใน 30 ประเทศ เมื่อศตวรรษที่แล้ว
    "...ข้าพเจ้าตระหนักดีว่า เป็นเกียรติพิเศษยิ่งใหญ่ที่ในบรรดาประมุขผู้นำประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนา ข้าพเจ้าได้รับเลือกให้เป็นผู้รับมอบพระไตรปิฎกชุดแรกนี้ และข้าพเจ้ารู้สึกปลื้มปีติที่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้เสด็จจาริกสู่ประเทศศรีลังกา เพื่อพระราชทานพระไตรปิฎก ข้าพเจ้าขอถือโอกาสนี้ถวายพระพรชัยมงคลให้ทรงมีพระชนมายุยิ่งยืนนาน..." สาส์นจาก จันทริกา บันดาราไนยเก กุมาราตุงคะ ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา กราบทูลเชิญเสด็จเพื่อพระราชทานพระไตรปิฎกสากล
    พระไตรปิฎกสากลอักษรโรมัน 1 ชุด มี 40 เล่ม พระราชทานแก่สถาบันสำคัญทั่วโลกรวม 1,000 ชุด ถือเป็นพระไตรปิฎกบาฬี อักษรโรมัน ชุดที่สมบูรณ์ชุดแรกของโลก เป็นคลังอารยธรรมทางปัญญาสูงสุดของมนุษยชาติที่สืบทอดมากว่า 2,500 ปี อันเป็นผลมาจากการประชุมสังคายนาสากลของพระสงฆ์ 2,500 รูป ระดับนานาชาติ เมื่อ พ.ศ. 2500 และมีการตรวจทานใหม่-จัดพิมพ์เป็นอักษรโรมันในพระสังฆราชูปถัมภ์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ผู้เสด็จไปทรงร่วมสังคายนาพระไตรปิฎกฉบับนี้ โดยใช้เวลาถึง 6 ปีในการจัดพิมพ์ เพื่อเป็นธัมมทานอันเป็นการสืบสานบวรพุทธศาสนา ตามพระราชศรัทธาในสมเด็จพระปิยมหาราช
    "พระไตรปิฎก" เป็นคัมภีร์รวบรวมพระพุทธวจนะอันเป็นคำสอนแสดงธัมมะเพื่อดับทุกข์ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ทรงเป็นพระบรมศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย จำแนกออกเป็น พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธัมมปิฎก มีพระธัมมขันธ์ 84,000 พระธัมมขันธ์ พระพุทธองค์ตรัสไว้ในกาลสมัยใกล้เสด็จดับขันธปรินิพพานว่า "ดูกรอานนท์ ธัมมะ และวินัยใดที่เราได้แสดงแล้วบัญญัติแล้วแก่เธอทั้งหลาย ธัมมะและวินัยนั้นจักเป็นศาสดาของเธอทั้งหลายเมื่อเราล่วงลับไป"
    สาระสำคัญของพระไตรปิฎกบาฬีฉบับสังคายนาสากลนานาชาติ พ.ศ. 2500 พิมพ์เป็นอักษรโรมันแล้วเสร็จครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2548 ซึ่งใน 1 ชุด มี 40 เล่ม โดยสันปกแบ่งสีของเนื้อหาพระไตรปิฎก ดังนี้ พระวินัยปิฎก สันปกสีส้ม, พระสุตตันตปิฎก สันสีเขียว พระสุตตันปิฎก เนตติ-เปฏโกปเทสปาฬิ และมิลินทปัญหาปาฬิ สันปกสีขาว และพระอภิธัมมปิฎก สันปกสีน้ำเงิน
    "พระวินัยปิฎก" เป็นการประมวลพุทธพจน์หมวดพระวินัย คือ พุทธบัญญัติเกี่ยวกับความประพฤติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียม และการดำเนินกิจการต่างๆ ของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ แบ่งเป็น 5 คัมภีร์ ส่วน "พระสุตตันตปิฎก" เป็นการประมวลพุทธพจน์หมวดพระสูตร คือ พระธัมมเทศนา คำบรรยายหรืออธิบายธัมม์ต่างๆ ที่ตรัสยักเยื้องให้เหมาะกับบุคคลและโอกาส ตลอดจนบทประพันธ์ เรื่องเล่าและเรื่องราวทั้งหลายที่เป็นชั้นเดิมในพระพุทธศาสนา แบ่งเป็น 5 นิกาย
    "พระสุตตันปิฎก เนตติ-เปฏโกปเทสปาฬิ" เป็นคัมภีร์ที่รองรับและรักษาความเข้าใจในพยัญชนะ อรรถ ของพระไตรปิฎกบาฬีไว้ให้ถูกต้อง ส่วน "มิลินทปัญหาปาฬิ" เป็นคัมภีร์มิลินทปัญหาเป็นการถาม-ตอบปัญหาเกี่ยวกับเนื้อหาสาระในพระไตรปิฎก ระหว่างพระเจ้ามิลินท์กับพระอรหันต์นาคเสนเถระ และ "พระอภิธัมมปิฎก" เป็นประมวลพุทธพจน์หมวดอภิธัมม์ คือ หลักธัมม์และคำอธิบายที่เป็นเนื้อหาวิชาการล้วนๆ ไม่เกี่ยวด้วยบุคคลหรือเหตุการณ์ แบ่งเป็น 7 คัมภีร์
    อย่างไรก็ตามตลอด 3 ปีที่ผ่านมา สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงบำเพ็ญบุญกิริยาตามรอยพระไตรปิฎกบาฬี อักษรสยาม ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบรมอัยกาธิราช โปรดเกล้าฯ ให้จัดพิมพ์และพระราชทานไปยังสถาบันสำคัญทั่วโลกเช่นเดียวกัน
    "...ขอหวังว่า พระไตรปิฎกศึกษานานาชาติในสถาบันสำคัญทั่วโลกนี้ จักให้ความรู้และความเข้าใจใหม่แก่โลกปัจจุบัน ช่วยเสริมสร้างความรู้ในวิทยาการทั้งหลาย ให้ลึกซึ้งสู่หลักธัมมะในพระไตรปิฎก และบูรณาการเป็นฐานปัญญาเพื่อสันติสุขและมั่นคงในโลกต่อไป..." ส่วนหนึ่งของพระดำรัสสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ จากหนังสือพระไตรปิฎกสากล : อารยธรรมทางปัญญา นำสันติสุขและความมั่นคงสู่โลก ซึ่งจัดพิมพ์เผยแพร่เป็นครั้งแรก ในพิธีสมโภชและพระราชทานพระไตรปิฎกสากลแก่ประธานศาลฎีกา สำหรับประดิษฐาน ณ ศาลฎีกาแห่งราชอาณาจักรไทย เมื่อวันอังคารที่ 11 ธันวาคม 2550 ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง


    เสด็จจาริกพระราชทานพระไตรปิฎกสากล

    ในปีพ.ศ. 2548 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จจาริกพระราชทานพระไตรปิฎกสากลฉบับปฐมฤกษ์ ณ กรุงโคลัมโบ สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา โดยพระราชทานพระไตรปิฎกแก่ประธานาธิบดีแห่งประเทศศรีลังกา เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2548 จากนั้นได้พระราชทานพระไตรปิฎกสากล แก่คณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2548 และพระราชทานพระไตรปิฎกสากลเพื่อประดิษฐานคู่กับพระไตรปิฎกฉบับอักษรสยาม ณ หอสมุดคาโรลีน่า เรดิวีว่า มหาวิทยาลัยอุปซาลา ราชอาณาจักรสวีเดน เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2548
    ต่อมาปีพ.ศ. 2549 ได้พระราชทานพระไตรปิฎกสากล แก่ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา ณ รัฐสภาแห่งศรีลังกา กรุงโคลัมโบ เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2549 จากนั้นปี พ.ศ. 2550 พระราชทานพระไตรปิฎกสากล แก่กระทรวงการต่างประเทศ กรุงเทพมหานคร วันที่ 6 มีนาคม 2550 พระราชทานพระไตรปิฎกสากล ณ นครโอซากาและกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น วันที่ 8 เมษายน และ 15 กันยายน 2550 พระราชทานพระไตรปิฎกสากล แก่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ เนเธอร์แลนด์ และสมาคมมหาโพธิแห่งอินเดีย พุทธคยา สาธารณรัฐอินเดีย
    "ดังที่เราได้ทราบว่าพระไตรปิฎกสากลเป็นของพระราชทาน เพื่อปัญญาและสันติสุขจากประชาชนชาวไทย ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ในฐานะที่เป็นองค์กรหลักด้านตุลาการขององค์การสหประชาชาติ ได้อุทิศการทำงานเพื่อเหตุแห่งสันติภาพ ความคิดในการก่อตั้งศาลยุติธรรมระหว่างประเทศได้กำเนิดขึ้นเมื่อ 100 ปีมาแล้ว จากการประชุมสันติภาพแห่งกรุงเฮก ความปรารถนาของนานาชาติคือความต้องการนำข้อขัดแย้งให้ยุติอย่างสันติแทนการก่อสงครามระหว่างกัน
    ภายใต้กฎบัตรแห่งสหประชาชาติศาลยุติธรรมระหว่างประเทศมีอำนาจในการรักษาสันติภาพและความมั่นคงโดยการยุติข้อขัดแย้งทางกฎหมายตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ เราได้ยึดมั่นที่จะป้องกันในความเคารพในกฎหมายระหว่างประเทศ และส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างชาติในทางสันติสุข เราจึงมีความยินดีที่ได้รับพระราชทานสิ่งนี้แก่เราตามปณิธานดังกล่าว" คำกล่าวโดย ตุลาการรอสลิน ฮิกกิ้นส์ ประธานศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2550
    -->[​IMG]
    พระกรณียกิจสำคัญด้านพุทธศาสนาของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ คือ ทรงเป็นประธานกิตติมศักดิ์การประดิษฐานพระไตรปิฎกฉบับสากล อักษรโรมัน ฉบับแรกของโลก แก่นานาประเทศ ตามรอยพระไตรปิฎกบาฬี อักษรสยาม สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 พระบรมอัยกาธิราชของพระองค์ เมื่อ 114 ปีก่อน



    สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ มีพระกรณียกิจสำคัญด้านการส่งเสริมพระพุทธศาสนาด้วยการเผยแผ่พระไตรปิฎกสากลสู่โลก โดย "มูลนิธิร่วมจิตต์น้อมเกล้าฯ เพื่อเยาวชนในพระบรมราชินูปถัมภ์" ซึ่งสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯทรงเป็นประธานก่อตั้งและประธานกิตติมศักดิ์ และ "กองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ" ซึ่งพระองค์ท่านทรงเป็นประธานกิตติมศักดิ์ การพระราชทานและประดิษฐานพระไตรปิฎกในนานาประเทศ ร่วมกันจัดพิมพ์พระไตรปิฎกเพื่อเผยแผ่พระไตรปิฎกฉบับสากล ภาษาโรมัน ชุดสมบูรณ์ 40 เล่ม ชุดแรกของโลกขึ้น
    ต่อมาเมื่อวันที่6 มีนาคม 2548 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จจาริกสู่ศรีลังกาตามคำกราบทูลเชิญของประธานาธิบดีแห่งศรีลังกา เพื่อพระราชทานพระไตรปิฎกสากลชุดปฐมฤกษ์ของโลก อันเป็นการเผยแผ่พระธัมมทานตามรอยพระไตรปิฎก ฉบับ "จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช ร.ศ.112" อักษรสยามซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานแก่สถาบันสำคัญต่างๆ กว่า 260 แห่งทั่วโลกใน 30 ประเทศ เมื่อศตวรรษที่แล้ว
    "...ข้าพเจ้าตระหนักดีว่า เป็นเกียรติพิเศษยิ่งใหญ่ที่ในบรรดาประมุขผู้นำประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนา ข้าพเจ้าได้รับเลือกให้เป็นผู้รับมอบพระไตรปิฎกชุดแรกนี้ และข้าพเจ้ารู้สึกปลื้มปีติที่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้เสด็จจาริกสู่ประเทศศรีลังกา เพื่อพระราชทานพระไตรปิฎก ข้าพเจ้าขอถือโอกาสนี้ถวายพระพรชัยมงคลให้ทรงมีพระชนมายุยิ่งยืนนาน..." สาส์นจาก จันทริกา บันดาราไนยเก กุมาราตุงคะ ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา กราบทูลเชิญเสด็จเพื่อพระราชทานพระไตรปิฎกสากล

    <TABLE height=350 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=209 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top background=../../../images2006/pt_05.jpg><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=186 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=186>[​IMG]</TD></TR><TR><TD height=8>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top background=../../../images2006/pt_06.jpg>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[​IMG]</TD><TD vAlign=top background=../../../images2006/pt_08.jpg height=14>[​IMG]</TD><TD vAlign=top>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    พระไตรปิฎกสากลอักษรโรมัน 1 ชุด มี 40 เล่ม พระราชทานแก่สถาบันสำคัญทั่วโลกรวม 1,000 ชุด ถือเป็นพระไตรปิฎกบาฬี อักษรโรมัน ชุดที่สมบูรณ์ชุดแรกของโลก เป็นคลังอารยธรรมทางปัญญาสูงสุดของมนุษยชาติที่สืบทอดมากว่า 2,500 ปี อันเป็นผลมาจากการประชุมสังคายนาสากลของพระสงฆ์ 2,500 รูป ระดับนานาชาติ เมื่อ พ.ศ. 2500 และมีการตรวจทานใหม่-จัดพิมพ์เป็นอักษรโรมันในพระสังฆราชูปถัมภ์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ผู้เสด็จไปทรงร่วมสังคายนาพระไตรปิฎกฉบับนี้ โดยใช้เวลาถึง 6 ปีในการจัดพิมพ์ เพื่อเป็นธัมมทานอันเป็นการสืบสานบวรพุทธศาสนา ตามพระราชศรัทธาในสมเด็จพระปิยมหาราช
    "พระไตรปิฎก" เป็นคัมภีร์รวบรวมพระพุทธวจนะอันเป็นคำสอนแสดงธัมมะเพื่อดับทุกข์ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ทรงเป็นพระบรมศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย จำแนกออกเป็น พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธัมมปิฎก มีพระธัมมขันธ์ 84,000 พระธัมมขันธ์ พระพุทธองค์ตรัสไว้ในกาลสมัยใกล้เสด็จดับขันธปรินิพพานว่า "ดูกรอานนท์ ธัมมะ และวินัยใดที่เราได้แสดงแล้วบัญญัติแล้วแก่เธอทั้งหลาย ธัมมะและวินัยนั้นจักเป็นศาสดาของเธอทั้งหลายเมื่อเราล่วงลับไป"
    สาระสำคัญของพระไตรปิฎกบาฬีฉบับสังคายนาสากลนานาชาติ พ.ศ. 2500 พิมพ์เป็นอักษรโรมันแล้วเสร็จครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2548 ซึ่งใน 1 ชุด มี 40 เล่ม โดยสันปกแบ่งสีของเนื้อหาพระไตรปิฎก ดังนี้ พระวินัยปิฎก สันปกสีส้ม, พระสุตตันตปิฎก สันสีเขียว พระสุตตันปิฎก เนตติ-เปฏโกปเทสปาฬิ และมิลินทปัญหาปาฬิ สันปกสีขาว และพระอภิธัมมปิฎก สันปกสีน้ำเงิน
    "พระวินัยปิฎก" เป็นการประมวลพุทธพจน์หมวดพระวินัย คือ พุทธบัญญัติเกี่ยวกับความประพฤติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียม และการดำเนินกิจการต่างๆ ของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ แบ่งเป็น 5 คัมภีร์ ส่วน "พระสุตตันตปิฎก" เป็นการประมวลพุทธพจน์หมวดพระสูตร คือ พระธัมมเทศนา คำบรรยายหรืออธิบายธัมม์ต่างๆ ที่ตรัสยักเยื้องให้เหมาะกับบุคคลและโอกาส ตลอดจนบทประพันธ์ เรื่องเล่าและเรื่องราวทั้งหลายที่เป็นชั้นเดิมในพระพุทธศาสนา แบ่งเป็น 5 นิกาย
    "พระสุตตันปิฎก เนตติ-เปฏโกปเทสปาฬิ" เป็นคัมภีร์ที่รองรับและรักษาความเข้าใจในพยัญชนะ อรรถ ของพระไตรปิฎกบาฬีไว้ให้ถูกต้อง ส่วน "มิลินทปัญหาปาฬิ" เป็นคัมภีร์มิลินทปัญหาเป็นการถาม-ตอบปัญหาเกี่ยวกับเนื้อหาสาระในพระไตรปิฎก ระหว่างพระเจ้ามิลินท์กับพระอรหันต์นาคเสนเถระ และ "พระอภิธัมมปิฎก" เป็นประมวลพุทธพจน์หมวดอภิธัมม์ คือ หลักธัมม์และคำอธิบายที่เป็นเนื้อหาวิชาการล้วนๆ ไม่เกี่ยวด้วยบุคคลหรือเหตุการณ์ แบ่งเป็น 7 คัมภีร์

    <TABLE height=350 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=209 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top background=../../../images2006/pt_05.jpg><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=186 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=186>[​IMG]</TD></TR><TR><TD height=8>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top background=../../../images2006/pt_06.jpg>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[​IMG]</TD><TD vAlign=top background=../../../images2006/pt_08.jpg height=14>[​IMG]</TD><TD vAlign=top>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    อย่างไรก็ตามตลอด 3 ปีที่ผ่านมา สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงบำเพ็ญบุญกิริยาตามรอยพระไตรปิฎกบาฬี อักษรสยาม ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบรมอัยกาธิราช โปรดเกล้าฯ ให้จัดพิมพ์และพระราชทานไปยังสถาบันสำคัญทั่วโลกเช่นเดียวกัน
    "...ขอหวังว่า พระไตรปิฎกศึกษานานาชาติในสถาบันสำคัญทั่วโลกนี้ จักให้ความรู้และความเข้าใจใหม่แก่โลกปัจจุบัน ช่วยเสริมสร้างความรู้ในวิทยาการทั้งหลาย ให้ลึกซึ้งสู่หลักธัมมะในพระไตรปิฎก และบูรณาการเป็นฐานปัญญาเพื่อสันติสุขและมั่นคงในโลกต่อไป..." ส่วนหนึ่งของพระดำรัสสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ จากหนังสือพระไตรปิฎกสากล : อารยธรรมทางปัญญา นำสันติสุขและความมั่นคงสู่โลก ซึ่งจัดพิมพ์เผยแพร่เป็นครั้งแรก ในพิธีสมโภชและพระราชทานพระไตรปิฎกสากลแก่ประธานศาลฎีกา สำหรับประดิษฐาน ณ ศาลฎีกาแห่งราชอาณาจักรไทย เมื่อวันอังคารที่ 11 ธันวาคม 2550 ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง


    เสด็จจาริกพระราชทานพระไตรปิฎกสากล

    ในปีพ.ศ. 2548 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จจาริกพระราชทานพระไตรปิฎกสากลฉบับปฐมฤกษ์ ณ กรุงโคลัมโบ สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา โดยพระราชทานพระไตรปิฎกแก่ประธานาธิบดีแห่งประเทศศรีลังกา เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2548 จากนั้นได้พระราชทานพระไตรปิฎกสากล แก่คณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2548 และพระราชทานพระไตรปิฎกสากลเพื่อประดิษฐานคู่กับพระไตรปิฎกฉบับอักษรสยาม ณ หอสมุดคาโรลีน่า เรดิวีว่า มหาวิทยาลัยอุปซาลา ราชอาณาจักรสวีเดน เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2548
    ต่อมาปีพ.ศ. 2549 ได้พระราชทานพระไตรปิฎกสากล แก่ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา ณ รัฐสภาแห่งศรีลังกา กรุงโคลัมโบ เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2549 จากนั้นปี พ.ศ. 2550 พระราชทานพระไตรปิฎกสากล แก่กระทรวงการต่างประเทศ กรุงเทพมหานคร วันที่ 6 มีนาคม 2550 พระราชทานพระไตรปิฎกสากล ณ นครโอซากาและกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น วันที่ 8 เมษายน และ 15 กันยายน 2550 พระราชทานพระไตรปิฎกสากล แก่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ เนเธอร์แลนด์ และสมาคมมหาโพธิแห่งอินเดีย พุทธคยา สาธารณรัฐอินเดีย
    "ดังที่เราได้ทราบว่าพระไตรปิฎกสากลเป็นของพระราชทาน เพื่อปัญญาและสันติสุขจากประชาชนชาวไทย ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ในฐานะที่เป็นองค์กรหลักด้านตุลาการขององค์การสหประชาชาติ ได้อุทิศการทำงานเพื่อเหตุแห่งสันติภาพ ความคิดในการก่อตั้งศาลยุติธรรมระหว่างประเทศได้กำเนิดขึ้นเมื่อ 100 ปีมาแล้ว จากการประชุมสันติภาพแห่งกรุงเฮก ความปรารถนาของนานาชาติคือความต้องการนำข้อขัดแย้งให้ยุติอย่างสันติแทนการก่อสงครามระหว่างกัน

    <TABLE height=350 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=209 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top background=../../../images2006/pt_05.jpg><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=186 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=186>[​IMG]</TD></TR><TR><TD height=8>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top background=../../../images2006/pt_06.jpg>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>[​IMG]</TD><TD vAlign=top background=../../../images2006/pt_08.jpg height=14></TD><TD vAlign=top>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>[​IMG]ภายใต้กฎบัตรแห่งสหประชาชาติศาลยุติธรรมระหว่างประเทศมีอำนาจในการรักษาสันติภาพและความมั่นคงโดยการยุติข้อขัดแย้งทางกฎหมายตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ เราได้ยึดมั่นที่จะป้องกันในความเคารพในกฎหมายระหว่างประเทศ และส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างชาติในทางสันติสุข เราจึงมีความยินดีที่ได้รับพระราชทานสิ่งนี้แก่เราตามปณิธานดังกล่าว" คำกล่าวโดย ตุลาการรอสลิน ฮิกกิ้นส์ ประธานศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2550 <TABLE align=center><TBODY></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://www.komchadluek.net/.
     
  2. ราศีสิงห์

    ราศีสิงห์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    815
    ค่าพลัง:
    +2,118
    สุดอาลัย
     
  3. สุริยันจันทรา

    สุริยันจันทรา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 กรกฎาคม 2007
    โพสต์:
    766
    ค่าพลัง:
    +4,588
    อนุโมทนา
    ________________________________________

    ขอพระองค์ทรงเสด็จสู่สวรรคาลัย

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle colSpan=2></TD></TR><TR><TD class=difcursor align=middle width="49%">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. คนมีกิเลส

    คนมีกิเลส เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    3,973
    ค่าพลัง:
    +19,431
    สาาาาา...ธุ
    สาาาาา...ธ
    สาาาาา...ธุ
    ให้ดังไปถึงพระนิพพาน


    ขอบุญที่พระองค์ได้ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา เป็นปัจจัยให้ถึงสรวงสวรรค์ชั้นดุสิตเทอญ
     
  5. poprock

    poprock เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    117
    ค่าพลัง:
    +812
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="558"><tbody><tr><td style="" align="center" height="40"> ธรณินสิ้นแล้ว...สมเด็จแก้วกัลยาฯ</td> </tr> <tr> <td style="padding-right: 20px;" align="right" height="30" valign="top">กลอนโดย นายธนา</td> </tr> <tr> <td align="center"> <table border="0" width="320"><tbody><tr><td style="width: 320px; left: 0pt; right: 0pt;" class="font-th-content">
    ธรณินรินร่ำไห้ โหยหวน
    ฟ้าพร่ำเฝ้ากำสรวล สนั่นฟ้า
    โศกสลดคร่ำครวญ ทั่วทั้ง โลกา
    สิ้นแลองค์ขวัญหล้า พระพี่ฟ้าชาวชน

    สมเด็จ เสด็จสู่สวรรค์แล้ว แดนไกล
    พระเจ้าพี่นาง ของไทย จากแล้ว
    กัลยา ที่อาลัย ยิ่งล้ำ ปวงเฮย
    ณิวัฒนา คือพระแก้ว เพริศแพร้วบารมี

    โอ้สิ้นพระพี่เจ้า กัลยา แล้วเฮย
    ชนร่ำนองน้ำตา เปี่ยมล้น
    ขวัญไทยทรงสง่า ราษฎร์รัก เหลือเฮย
    โศกเศร้ายิ่งล้นพ้น ทั่วทั้งแผ่นไทย

    คุณาองค์คงแซ่ซ้อง สืบไป กัลปา
    น้ำพระทัยจารึกไทย ยิ่งแพร้ว
    ขอพระทรงสถิตใน สรวงสวรรค์ นิรันดร์เทอญ
    พระพี่นางนิวัตแล้ว สู่เมืองแก้วโพ้นไกล
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  6. lasomchai

    lasomchai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    383
    ค่าพลัง:
    +2,036
    ขอพระองค์ทรงเสด็จสู่สวรรคาลัย

    สาธุ
     
  7. บุษบากาญจ์

    บุษบากาญจ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2007
    โพสต์:
    9,476
    ค่าพลัง:
    +20,271
    อนุโมทนา สาธุ สาธุ สาธุ
    [​IMG] [​IMG] [​IMG]
     
  8. สัมภเวสี.

    สัมภเวสี. เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2007
    โพสต์:
    24
    ค่าพลัง:
    +253
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 มกราคม 2008
  9. สัมภเวสี.

    สัมภเวสี. เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2007
    โพสต์:
    24
    ค่าพลัง:
    +253
    เพลง "แสงหนึ่ง" ที่ขับร้องด้วยเสียงโซปราโน่และบาริโทน


    [​IMG]

    โดยศิโศน ดาวรัตนหสงษ์ และศรันย์ สืบสันติวงศ์ ร่วมกับการบรรเลงเปียโนหมู่ 5 คน พร้อมๆ กัน
    เป็นการขับร้องถวายสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ เมื่อพระองค์ท่านเสด็จทอดพระเนตรการแสดง
    คอนเสิร์ตพระกรุณาธิคุณทุนดนตรีคลาสสิก "แสงหนึ่งคือรุ้งงาม"
    ฝีมือการแสดง 19 นักเรียนทุนดนตรีคลาสสิกในพระอุปถัมภ์ฯ
    ซึ่งจัดขึ้นเนื่องในโอกาสที่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ ทรงเจริญพระชนมายุ 84 พรรษา
    ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เมื่อเดือนกรกฎาคม 2550 ค่ะ
    <!--MsgFile=2-->




    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#224444 border=0><TBODY><TR><TD width=10></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#224444 border=0><TBODY><TR><TD width=10></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    12:25:38 <!--MsgIP=2-->]

    พระราชทานวโรกาสฉายพระรูปกับนักดนตรีทุน 19 คน <!--MsgFile=3-->




    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#224444 border=0><TBODY><TR><TD width=10></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#224444 border=0><TBODY><TR><TD width=10></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>

    จากคุณ : <!--MsgFrom=3-->อยากเก็บเธอไว้ทั้งสองคน [​IMG][​IMG] - [ <!--MsgTime=3-->4 ม.ค. 51 12:27:09 <!--MsgIP=3-->]

    http://www.pantip.com/cafe/chalermkrung/topic/C6198504/C6198504.html


    ---------------------------------------------------





    <TABLE class=news2006_topic cellSpacing=0 cellPadding=0 width=595 border=0><TBODY><TR><TD width=585 height=10><TABLE class=news2006_topic width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left>สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯโปรดดนตรีคลาสสิก




    </TD><TD align=right width=100>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=news2006_graylight height=10>โดย คม ชัด ลึก<SCRIPT language=JavaScript src="/global_js/global_function.js"></SCRIPT> <!--START-->วัน พฤหัสบดี ที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2551 02:01 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=595 border=0><TBODY><TR><TD height=10>

    <CENTER></CENTER>
    [​IMG]


    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=news2006_black cellSpacing=0 cellPadding=0 width=595 border=0><TBODY><TR><TD width=10 rowSpan=4></TD><TD width=575><!img001:m:r>ความสนพระทัยอีกด้านหนึ่งสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ คือการดนตรีและการฉายพระรูปภาพ มีพระดำริจัดตั้งทุนส่งเสริมดนตรีคลาสสิกในพระอุปถัมภ์ขึ้น
    เพื่อพัฒนาและส่งเสริมให้เยาวชนไทยมีโอกาสศึกษาหรือฝึกอบรมเรื่องดนตรีคลาสสิกในสถาบันการศึกษาชั้นสูงในต่างประเทศ แล้วนำกลับมาถ่ายทอดและพัฒนาการดนตรีในประเทศ

    สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯโปรดดนตรีคลาสสิกมาก ซึ่งหากมีเวลาจะเสด็จมาทรงให้กำลังใจนักดนตรีเสมอ ดังที่คุณหญิงไขศรี ศรีอรุณ กล่าวว่า ที่กระทรวงวัฒนธรรมขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตใช้พระนามของพระองค์ เพราะทรงสนับสนุนดนตรีคลาสสิกมาโดยตลอด และสนองแนวพระราชดำริที่ว่าไทยควรมีสถาบันสอนดนตรีคลาสสิกที่ปูพื้นฐานตั้งแต่เด็กปฐมวัยต่อเนื่องไปจนถึงอุดมศึกษา และร่วมมือด้านวิชาการกับสถาบันดนตรีชั้นนำของโลก ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศ

    [​IMG]

    นอกจากนี้ยังทรงพระกรุณาเสด็จทอดพระเนตรการแสดง คอนเสิร์ตพระกรุณาธิคุณทุนดนตรีคลาสสิก แสงหนึ่งคือรุ้งงาม ซึ่งจัดขึ้นเนื่องในโอกาสที่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ ทรงเจริญพระชนมายุ 84 พรรษา ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เมื่อเดือนกรกฎาคม 2550
    การจัดงานครั้งนี้นับว่าเป็นครั้งพิเศษ เพราะเกิดจากการรวมตัวกันครั้งแรกของนักเรียนทุนดนตรีคลาสสิกในพระอุปถัมภ์ จำนวน 19 คน เพื่อแสดงความกตัญญูกตเวทิตาที่ได้รับพระราชทานพระเมตตาสนับสนุนทุนในการศึกษาดนตรี โดยทุกคนต่างสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์อย่างหาที่เปรียบมิได้ ที่ทรงช่วยเหลือส่งเสริมนักดนตรีคลาสสิกตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา

    เมื่อสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จมาถึงได้ทอดพระเนตรนิทรรศการพระกรณียกิจของพระองค์ จากนั้นการแสดงเริ่มด้วยเสียงไวโอลินของนักเรียนทุน ศิริพงษ์ ทิพย์ธัญ และทัศนา นาควัชระ กับบทเพลง โซนาตา ฟอร์ ทู ไวโอลิน อิน อะ เมเจอร์ ออปชั่น 3 นัมเบอร์ 2 (Sonata for Two Violin in A Major,Op.3,No.2) หลังจากนั้นนักเรียนทุนผลัดเปลี่ยนขึ้นมาบรรเลงกันอย่างต่อเนื่อง ทุกเส้นสายของเสียงบรรเลงสุดแสนซาบซึ้งและไพเราะ จนสามารถสร้างรอยแย้มพระสรวลให้สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ตลอดระยะเวลาการแสดงกับ 13 บทเพลง

    [​IMG]

    ไฮไลท์ของงานอยู่ที่ช่วงสุดท้ายของการแสดงที่นักเรียนทุนทั้งหมดได้หลอมดวงใจให้เป็นหนึ่งเดียวบรรเลงเพลง แสงหนึ่ง ซึ่งประพันธ์เนื้อร้องและทำนองโดย บอยด์ โกสิยพงษ์ สร้างความประทับใจด้วยเสียงร้องของนักร้องเสียงโซปราโน่และบาริโทน ศิโศน ดาวรัตนหสงษ์ และศรันย์ สืบสันติวงศ์ และการบรรเลงเปียโนหมู่ถึง 5 คน พร้อมๆ กัน เรียกเสียงปรบมือเกรียวกราว
    หลังการแสดงจบสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พระราชทานดอกไม้แก่ตัวแทนนักดนตรีและฉายพระรูปร่วมกับนักดนตรี ก่อนเสด็จกลับ

    ด้านบอยโกสิยพงษ์ ผู้บริหารค่ายเพลงเลิฟอีส ได้เป็นผู้ซึ่งแต่งเพลง แสงหนึ่งคือรุ้งงาม ถวายสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา ในโอกาสที่ทรงเจริญพระชนมายุ 84 พรรษาโดยคุณหญิงวงจันทร์ พินัยนิติศาสตร์ ประธาน จัดการแสดงคอนเสิร์ต พระกรุณาธิคุณทุนดนตรีคลาสสิก แสงหนึ่งคือรุ้งงาม
    ผมได้รับมอบหมายให้ทำงานชิ้นนี้ ตอนแรกที่รู้ว่าจะต้องได้ทำนั้น รู้สึกว่าพระองค์อยู่สูงมาก ทำไปแล้วไม่รู้ว่าพระองค์จะโปรดหรือเปล่า แต่ก็ได้ลองทำดู ปรากฏว่าพระองค์โปรด ก็รู้สึกดีใจมาก นักแต่งเพลงชื่อดัง กล่าว

    นอกจากนี้บอยยังเล่าถึงแรงบันดาลใจในการแต่งเนื้อหาเพลงนี้ว่า ได้ทราบพระกรณียกิจต่างๆ ที่พระองค์ทรงทำเพื่อประชาชน จากนิทรรศการแสงหนึ่งคือรุ้งงามแล้วจึงนำข้อมูลทั้งหมดมาประมวลรวมกัน ซึ่งสรุปได้ว่าพระองค์ทรงเปรียบเสมือนแสงหนึ่งที่งดงาม
    ด้านโจ้ กวี พูลทวีเกียรติ์ ผู้ควบคุมการผลิตของนิทรรศการ แสงหนึ่งคือรุ้งงาม กล่าวถึงที่มาที่ไปของโครงการนี้ว่า เริ่มมาจากท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม พระธิดาของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ เป็นผู้ริเริ่มขึ้น ขณะที่พระองค์มีพระชนมายุ 84 พรรษา เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2550 โดยจุดประสงค์ของงานนี้นั้น สืบเนื่องจากต้องการให้เยาวชนได้เห็นถึงพระกรณียกิจของพระองค์แล้วเกิดแรงบันดาลใจในการทำงานเพื่อส่วนรวม

    ส่วนเหตุผลที่เลือกเอา บอย โกสิยพงษ์ มาเป็นคนแต่งเพลงแสงหนึ่งคือรุ้งงามนี้นั้น เพราะเขาถือเป็นไอดอนของเยาวชนคนรุ่นใหม่ จึงคิดว่าน่าจะสามารถสื่อสารงานออกมาได้ดี และเราก็ได้เปรียบพระองค์ท่านเป็นเหมือนแสงหนึ่งที่มองไม่เห็น ที่มักจะทำงานอยู่เบื้องหลังมาเสมอ ผู้ควบคุมการผลิตของนิทรรศการ กล่าว
    เพลงแสงหนึ่งคือรุ้งงามขับร้องโดย นภ พรชำนิ ศิลปินค่ายเลิฟอิส

    เนื้อหาเพลงแสงหนึ่งคือรุ้งงาม

    รู้ไหมว่าเราซาบซึ้งใจแค่ไหนและรู้ไหมว่าเรานั้นปลาบปลื้มเท่าไหร่
    ที่ได้มีเธอเป็นพลังอันสำคัญเพราะว่าเรานั้นรู้ว่าเพื่อทำเพื่อใคร
    เหน็จและเหนื่อยแค่ไหนเธอไม่ไหวหวั่น พร้อมที่จะให้เรานั้นได้เดินต่อไป
    แม้ว่าจะไม่มีใครมองเห็นเธอแต่สำหรับเรานั้น เธอเหมือนดังกับแสงที่มองไม่เห็น
    แต่เมื่อส่องมาสะท้อนสิ่งที่ซ่อนเร้นก็เด่นชัดขึ้นทันที เปรียบเธอกับแสงแม้ไม่มีสีแต่เธอก็สะท้อนความจริงในโลกนี้ ให้พบเห็นสิ่งดีๆว่างดงามเพียงใด<!--END-->


    [​IMG] [​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    http://www.mediathai.net/module/newsdesk/newsdesk_subcat.php?board_id=25655


    [music]http://palungjit.org/attachments/a.261557/[/music]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 มกราคม 2008
  10. พชร (พสภัธ)

    พชร (พสภัธ) ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    5,746
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +49,866
    เป็นบทเพลงที่งดงามมากครับ
     
  11. สัมภเวสี.

    สัมภเวสี. เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2007
    โพสต์:
    24
    ค่าพลัง:
    +253
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR vAlign=top bgColor=#ffffff><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR vAlign=top bgColor=#ffffff><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR vAlign=top bgColor=#ffffff><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR vAlign=top bgColor=#ffffff><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR vAlign=top bgColor=#ffffff><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR vAlign=top bgColor=#ffffff><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR vAlign=top bgColor=#ffffff><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR vAlign=top bgColor=#ffffff><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD align=middle width="25%" bgColor=#e6e6e0><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD align=middle width=120>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    http://www1.matichonmultimedia.com/~matichon/news_detail.php?id=15402
     
  12. porapatr

    porapatr เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    599
    ค่าพลัง:
    +1,282
    น้อมเกล้าส่งเสด็จสู่สวรรคาลัย
     
  13. __

    __ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    24
    ค่าพลัง:
    +144
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=558 border=0><TBODY><TR><TD style="WIDTH: 558px; WORD-WRAP: break-word" align=middle height=40>รัตนมิ่งเกล้าเหนือชีวัน...นิจนิรันดร์งดงาม ณ กลางใจ</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 20px" vAlign=top align=right height=30>พุด</TD></TR><TR><TD align=middle><TABLE width=320 border=0><TBODY><TR><TD class=font-th-content style="RIGHT: 0px; LEFT: 0px; WIDTH: 320px; WORD-WRAP: break-word">[​IMG]


    ดวงดอกไม้ร่วงพรูทั้งพสุธา
    จอมขวัญหล้าเสด็จสู่สวรรค์
    รัตนมิ่งเกล้าเหนือชีวัน
    นิจนิรันดร์งดงามณ กลางใจ

    ดารารายพรายพร่างโปรยปราย
    ร่ำไห้แทนธรณินทร์สะเทือนไหว
    เพชรพสุธาพรากลาแผ่นดินไทย
    หนึ่งมณีในฤทัยแห่งปวงชน

    สายธาราเงียบงันในวันนี้
    ฟ้าดินสดุดีทุกแห่งหน
    เมตตาธรรมอันล้ำค่าอมตกมล
    เป็นล้นพ้นด้วยพระจริยวัตรฉัตรแผ่นดิน

    สอนใจไทยทุกธุลีหล้าข้าพระบาท
    ให้รักชาติรักศาสน์ตราบชีพสิ้น
    เสียสละหยาดพระเสโทหลั่งระริน
    ให้รู้รักษ์ผืนดินไทยธำรง

    คือแสงรุ้งเรืองรองในครองขวัญ
    งามกว่าจันทร์แจ่มเหนือหล้าฟ้าสูงส่ง
    อธิษฐานจิตพระสถิตแดนนิรันดร์ดำรง
    ทุกใจไทส่งเสด็จสู่นฤพาน...
    ...........................................


    http://www.thaipoem.com/forever/ipage/song6192.html
    ความฝันอันสูงสุด... เพลงพระราชนิพนธ์

    ขอฝันใฝ่ ในฝันอันเหลือเชื่อ
    ขอสู้ศึก ทุกเมื่อ ไม่หวั่นไหว
    ขอทนทุกข์ รุกโรมโหมกายใจ
    ขอฝ่าฟัน ผองภัย ด้วยใจทะนง
    จะแน่วแน่แก้ไข ในสิ่งผิด
    จะรักชาติ จนชีวิต เป็นผุยผง
    จะยอมตาย หมายให้ เกียรติดำรง
    จะปิดทอง หลังองค์ พระปฏิมา
    ไม่ท้อถอย คอยสร้าง สิ่งที่ควร
    ไม่เรรวน พะว้าพะวัง คิดกังขา
    ไม่เคืองแค้น น้อยใจ ในโชคชะตา
    ไม่เสียดาย ชีวา ถ้าสิ้นไป
    นี่คือ ปณิธาน ที่หาญมุ่ง
    หมายผดุง ยุติธรรม อันสดใส
    ถึงทนทุกข์ ทรมาน นานเท่าใด
    ยังมั่นใจ รักชาติ องอาจครัน
    โลกมนุษย์ ย่อมจะดี กว่านี้แน่
    เพราะมีผู้ ไม่ยอมแพ้ แม้ถูกหยัน
    ยังคงหยัด สู้ไป ใฝ่ประจัญ
    ยอมอาสัญ ก็เพราะปอง เทิดผองไทย...



    น้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ
    ในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ
    เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา
    กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

    ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ
    ข้าพระพุทธเจ้า พุดพัดชา
    เขียนถวายไว้แทบเบื้องพระบาท
    ด้วยความภักดี เทิดไว้เหนือดวงชีวัน
    ด้วยความอาลัยเป็นที่ยิ่ง พระพุทธเจ้าข้า
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://www.thaipoem.com/forever/ipage/poem111239.html
     
  14. __

    __ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    24
    ค่าพลัง:
    +144
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=558 border=0><TBODY><TR><TD style="WIDTH: 558px; WORD-WRAP: break-word" align=middle height=40>แสงรุ้ง</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 20px" vAlign=top align=right height=30>วิวิธวิลาษ</TD></TR><TR><TD align=middle><TABLE width=320 border=0><TBODY><TR><TD class=font-th-content style="RIGHT: 0px; LEFT: 0px; WIDTH: 320px; WORD-WRAP: break-word">
    หากหนึ่งนั้น คือสายน้ำ เย็นฉ่ำใจ
    อีกหนึ่งคือ ป่าไม้ ปกทิวผา
    นี่คงคือ แสงสว่าง กลางนภา
    กระทบพา หักเห กลายรุ้งงาม

    และรุ้ง นั้นพาดผ่าน ณ ที่ใด
    ก็ก่อให้ ในใจ เกิดคำถาม
    ว่าไฉน รอบลาย ปลายรุ้งงาม
    จึงนำความ สดใส และเบิกบาน

    แล้วจึงรู้ ต้นแสง แห่งฟากฟ้า
    ที่คอยส่อง แสงมา เมื่อดินขาน
    แต่ก็รู้ อยู่นับเนิ่น เพียงไม่นาน
    รุ้งก็พลาน ลางเลือน ละลายไป

    ใจก็พลัน หวั่นเศร้า เคล้ามัวหมอง
    ฟ้าที่รอง เรืองสุข เคยสดใส
    กลับหมองหม่น มืดคลึ้ม กลืนจิตใจ
    แล้วร้องไห้ กลายเป็น หยดน้ำฝน

    ฟ้าก็ร้อง แวบดัง ดั่งปวดร้าว
    ดินที่กร้าว กลับกลาย มลายป่น
    หยาดฝนหยด จากฟ้า ที่เบื้องบน
    สู่ปวงชน เบื้องล่าง ที่ใจหาย

    ณ บัดนี้ไม่มีแล้วละ...รุ้งงาม
    ผู้ทอความ สุขสดใส แห่งแสงสาย
    แต่ละออง รักนี้ มิเสื่อมคลาย
    จะขยาย ละลอยล่อง ไปทั่วคาม

    ขอปลายรุ้ง ที่ลับแล้ว ละเลือนหาย
    อย่าเดียวดาย กลางฟากฟ้า น่าเกรงขาม
    แต่จงอยู่เคียง แสงจันทร์ ตะวันงาม
    และสายลม ที่พัดความ ชื่นฉ่ำเย็น
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    http://www.thaipoem.com/forever/ipage/poem111242.html
     
  15. __

    __ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    24
    ค่าพลัง:
    +144
    เพลงนี้เพราะมากๆๆครับ ฟังแล้วขนลุกจริงๆครับ

    พระองค์ท่านจะสถิตในดวงใจคนไทยนิจนิรันดร์

    ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ
     
  16. virot05

    virot05 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    830
    ค่าพลัง:
    +1,679
  17. aprin

    aprin เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    7,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +22,514
    <TABLE height=34 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-LEFT: 30px">พระกรณียกิจสุดท้าย ถวายพระเจ้าอยู่หัว
    [7 ม.ค. 51 - 00:18]


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=text cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle><TABLE class=text cellSpacing=0 cellPadding=0 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]

    ตลอดระยะเวลาหลายทศวรรษที่ผ่านมา สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจอันทรงคุณประโยชน์ต่อ ประเทศชาติเป็นอเนกอนันต์ และทรงมีน้ำพระทัยเสียสละสูงส่งต่อปวงพสกนิกร ทรงเกื้อกูล อุปถัมภ์งานในหลายด้านอย่างต่อเนื่อง ทั้งงานที่ทรงรับสืบทอดจากสมเด็จพระบรมราชชนนี และงานที่ทรงสนพระทัยด้วยพระองค์เอง โดยก่อนสิ้นพระชนม์ ยังได้ทรงทิ้งผลงานชิ้น สุดท้ายไว้ให้เป็นที่เลื่องลือในพระปรีชาญาณ นั่นคือ การเผยแผ่พระไตรปิฎกอักษรโรมัน สู่เวทีระดับโลก เป็นพระไตรปิฎกภาษาบาฬี ฉบับสากล ชุดสมบูรณ์ชุดแรกของโลก อันเป็นคลังอารยธรรมทางปัญญาสูงสุดของมนุษยชาติที่สืบทอดมากว่า 2,500 ปี


    และเนื่องจากปีนี้เป็นปีมหามงคลวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 80 พรรษา สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร์ ได้ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจชิ้นสำคัญ ซึ่งภายหลังกลายเป็นผลงานชิ้นสุดท้าย ที่พระเชษฐภคินีได้ทรงงานถวายยอดพระอนุชาอัน เป็นที่รักยิ่ง นั่นคือ การพระราชทาน พระไตรปิฎกสากลฉบับดังกล่าวแก่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ณ กรุงเฮก แห่งราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 12 ต.ค. 2550 เพื่อทรงรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณแห่งองค์ ์พระมหากษัตริย์ พุทธมามกะ และเฉลิมพระเกียรติองค์ราชันแห่งจักรีวงศ์ในระดับ นานาประเทศ

    ขณะเดียวกัน สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ยังทรงพระกรุณาพระราชทาน พระอนุญาตให้จัดพิมพ์พระไตรปิฎกสากลอีกสำรับหนึ่ง พระราชทานแก่ประธานศาลฎีกา สำหรับศาลฎีกาแห่งราชอาณาจักรไทย เพื่อเป็นมิ่งขวัญกำลังใจแก่บรรดาผู้พิพากษาและ ตุลาการ ผู้ทำหน้าที่รักษาความยุติธรรมเพื่อชาติและชาวไทย อันเป็นการรับใช้พระราชอำนาจ ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ผู้ทรงทศพิธราชธรรม

    สำหรับความเป็นมาของพระไตรปิฎกบาฬี อักษรโรมัน จำนวน 40 พระคัมภีร์ เป็นคำสอน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในภาษาบาฬี ที่ได้สังคายนาเป็นสากล เมื่อปี พ.ศ.2500 และปัจจุบันได้นำมาตรวจทานใหม่จัดพิมพ์เป็นอักษรโรมัน ในพระสังฆราชูปถัมภ์สมเด็จ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เพื่อสืบสานพระบวรพุทธศาสนา ตามพระราชศรัทธาในสมเด็จพระปิยมหาราช

    เมื่อเรื่องการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกฉบับ ประวัติศาสตร์ ทราบถึงสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ จึงได้ทรงพระกรุณาอุปถัมภ์โครงการเผยแผ่ ่พระไตรปิฎกเป็นธัมมทาน โดยทรงรับเป็นองค์ประธานกิตติมศักดิ์ในการพระราชทาน และประดิษฐานพระไตรปิฎกอักษรโรมันในนานาประเทศ อันเป็นการดำเนินตามรอย พระยุคลบาทในหลวงรัชกาลที่ 5 ในการจัดพิมพ์และพระราชทานพระไตรปิฎก สู่โลกอีกคราหนึ่ง

    ในฐานะองค์ประธานกิตติมศักดิ์ฯ เมื่อวันที่ 6 มี.ค. 2548 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ ยังได้เสด็จ จาริกครั้ง ประวัติศาสตร์ไปยังกรุงโคลัมโบ ประเทศศรีลังกา เพื่อพระราชทานพระไตรปิฎก ฉบับสากล อักษรโรมัน ชุดปฐมฤกษ์ 40 เล่ม แก่ประธานาธิบดีจันทริกา บันดาราไนยเก กุมารตุงคะ ซึ่งต่อมา ประธานาธิบดีคนปัจจุบันของศรีลังกา ได้ประกาศให้วันที่ 6 มีนาคม ของทุกปี เป็น​
     
  18. aprin

    aprin เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    7,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +22,514
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=804 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=30></TD><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=719 border=0><TBODY><TR><TD> </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=160>[​IMG]
    พระกรณียกิจสำคัญด้านพุทธศาสนา
    </TD><TD width=26>[​IMG]</TD><TD vAlign=top width=160>[​IMG]
    พระกรณียกิจสำคัญด้านพุทธศาสนา
    สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงเป็นองค์ประธานกิตติมศักดิ์การประดิษฐานพระไตรปิฎกฉบับสากล อักษรโรมัน ฉบับแรกของโลก และเป็นองค์ประธานก่อตั้งและองค์ประธานกิตติมศักดิ์ มูลนิธิร่วมจิตต์น้อมเกล้าฯ ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ในการแปลและจัดพิมพ์พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน เพื่อพระราชทานแด่นานาประเทศ ตั้งแต่ปี 2548 เป็นต้นมา </TD><TD width=26>[​IMG]</TD><TD vAlign=top width=160>[​IMG]
    พระกรณียกิจเผยแผ่พระไตรปิฎก
    พระกรณียกิจสำคัญด้านพุทธศาสนาของสมเด็จพระนางเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงเป็นองค์ประธานกิตติมศักดิ์การประดิษฐานพระไตรปิฎกฉบับสากล อักษรโรมัน ฉบับแรกของโลก แด่นานาประเทศ </TD><TD width=26>[​IMG]</TD><TD vAlign=top width=160>[​IMG]
    พระกรณียกิจเผยแผ่พระไตรปิฎกสากลสู่โลก
    พระราชทานพระไตรปิฎกบาฬี อักษรโรมัน แด่สถาบันสำคัญทั่วโลกรวม 1,000 ชุด ถือเป็นชุดที่สมบูรณ์ชุดแรกของโลก เป็นคลังอารยธรรมทางปัญญาสูงสุดของมนุษยชาติที่สืบทอดมากว่า 2,500 ปี ปัจจุบันได้ตรวจทานใหม่จัดพิมพ์เป็นอักษรโรมัน อันเป็นการสืบสานพระบวรพุทธศาสนา ตามพระราชศรัทธาในสมเด็จพระปิยมหาราช เมื่อ 112 ปีก่อน </TD><TD width=26>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://www.komchadluek.net/
     
  19. อิทธิปาฏิหาริย์

    อิทธิปาฏิหาริย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2007
    โพสต์:
    1,834
    ค่าพลัง:
    +1,472
  20. aprin

    aprin เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    7,492
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +22,514
    ทรงอุปถัมภ์พระพุทธศาสนา พระราชทานพระไตรปิฎกสากลสู่โลก
    <TABLE style="WIDTH: 480px"><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=messageblack vAlign=center align=middle height=20></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=messageblack vAlign=center align=middle height=20></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=messageblack vAlign=center align=middle height=20></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD class=message-normal style="HEIGHT: 10px" vAlign=top align=middle><SCRIPT type=text/javascript>// URLs of slidesvar slideurl = new Array('http://ads.dailynews.co.th/news/images/2008/variety/1/10/151032_66391.jpg','http://ads.dailynews.co.th/news/images/2008/variety/1/10/151032_66392.jpg','http://ads.dailynews.co.th/news/images/2008/variety/1/10/151032_66393.jpg') ;// Comments displayed below the slidesvar slidecomment = new Array('','','');var picNo = new Array('0','1','2');var i;var j;var picturecontent=''function poppic(ncId,NewsType,picNum){window.open('../../html/popup_news/popup_news_popuppic.htm?' + slideurl[picNum] + '?Daily News Online : Variety','','resizable=1,HEIGHT=200,WIDTH=200');}function createtable(){picturecontent ='<table width=100% cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0>' ;for (i=0;i<=(slideurl.length-1);i++) {picturecontent +='<tr>' ;picturecontent +='<td vAlign=top align=center>' ;picturecontent += '';picturecontent += '[​IMG]' ;picturecontent += '</td>' ;picturecontent +='</tr>' ;picturecontent +='<tr>' ;picturecontent += '<td class=messageblack vAlign=middle align=center height=20>' ;picturecontent+=slidecomment ;picturecontent +='</td>' ;picturecontent +='</tr>' ;}picturecontent+='</table>' ;document.getElementById("hlblTable").innerHTML=''+picturecontent+'';}createtable();</SCRIPT></TD></TR></TBODY></TABLE>สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงเป็นผู้อุปถัมภ์พระพุทธศาสนาที่ยิ่งใหญ่พระองค์หนึ่งและพระธัมมทานที่ได้พระราชทานไว้ก่อนเสด็จสู่สวรรคาลัย คือ พระไตรปิฎกสากล ซึ่งจักเป็นมรดกธัมมะที่จะแพร่หลายต่อไปชั่วกาลนาน

    สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาต่างประเทศ อย่างลึกซึ้ง ทรงเห็นความสำคัญของภาษาบาฬีในฐานะที่เป็นภาษาที่รักษาพระพุทธพจน์ ด้วยเหตุนี้การรักษาและสืบทอดพระไตรปิฎกบาฬีจึงเป็นการบำเพ็ญพระกุศลเป็นการส่วนพระองค์ ที่สำคัญประการหนึ่งในปลายพระชนม์ชีพ

    ในปี พ.ศ. 2544 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ ได้เสด็จเป็นประธานในการแสดงปาฐกถาพระไตรปิฎกเป็นครั้งแรก ต่อมาใน ปี พ.ศ. 2546 ทรงเริ่มศึกษาโครงการพระไตรปิฎกสากลและในปี พ.ศ. 2547 ทรงรับเป็น ประธานกิตติมศักดิ์การพระราชทานและประดิษฐานพระไตรปิฎกสากลในนานาประเทศ

    จากนั้นในปี พ.ศ. 2548 ได้เสด็จจาริกส่วนพระองค์สู่กรุงโคลัมโบ ตามคำกราบทูลเชิญของประธานาธิบดีศรีลังกาเพื่อพระราชทานพระไตรปิฎกฉบับสากลอักษรโรมัน 40 เล่ม ชุดแรกของโลก เป็นปฐมฤกษ์แก่ สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิป ไตยศรีลังกาและได้พระราชทานพระไตรปิฎกสากลตลอดมาจนถึงปัจจุบัน

    ความเป็นสากล เป็นพระวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร์ ที่ทรงเข้าพระทัยว่าพระไตรปิฎกบาฬีเป็นพระพุทธพจน์ที่บริสุทธิ์ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเป็นคลังอารยธรรมทางปัญญาและสันติสุขที่แท้จริงดังที่ปรากฏแล้วในประวัติศาสตร์โลกมาร่วม 3,000 ปี

    การพระราชทานจากสม เด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ ผู้ทรงเป็นปราชญ์และกุลเชษฐ์แห่งพระราชวงศ์ พร้อมทั้งการจัดพิมพ์เป็นอักษรโรมันชุดสมบูรณ์เป็นครั้งแรกจากประเทศไทย จึงได้รับการต้อนรับจากสถาบันสำคัญต่าง ๆ ในระดับนานาชาติ เพราะผู้มีปัญญาทั้งหลายย่อมเห็นว่าพระไตรปิฎกพระราชทานชุดนี้เป็นสัญลักษณ์แห่งปัญญาและสันติสุข เสมือนสมบัติ อันล้ำค่าและเกียรติยศสูงสุดในการแสดงออกถึงอุดมการณ์ของบุคคลและสถาบันนั้น ๆ ที่จะอุทิศเพื่อความเจริญที่ยั่งยืนในสังคมโลก

    สถาบันที่ขอพระราชทานพระไตรปิฎกในปัจจุบันจึง มิใช่สถาบันทางการศึกษาและศาสนาเท่านั้น หากแต่เป็นสถา บันทางสังคมและการเมืองระดับโลก เช่น สถาบันประธานาธิบดี สถาบันนิติบัญญัติ และสถาบัน ตุลาการ เป็นต้น

    ในปี พ.ศ. 2549 ประธาน รัฐสภาแห่งประเทศศรีลังกาได้ขอพระราชทานพระไตรปิฎกสากลจากสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ ในฐานะที่ทรงเป็นประธานกิตติมศักดิ์การพระราชทานพระไตรปิฎกในนานาประเทศทั่วโลก นับเป็นมิติใหม่ ที่มีการนำพระไตรปิฎกอันเป็นฐานปัญญาเก่า แก่ของอารยธรรมมนุษย์เข้าสู่ระบบการเมืองและการปกครองสมัยใหม่

    พระไตรปิฎกสากลชุดพระราชทานได้ประดิษฐาน แล้ว ณ สถาบันการศึกษาใน ต่างประเทศ คือ สวีเดน อินเดีย และญี่ปุ่น และในปลายปีนี้ชาวญี่ปุ่นจะมีพิธีรับพระไตรปิฎกสากลครั้งใหญ่ ณ สถาบันการศึกษาทั่วประเทศที่ได้รับพระราชทานพระไตรปิฎกอักษรสยามจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว เมื่อศตวรรษที่แล้ว

    นอกจากนี้ในความเป็นสากลที่สำคัญยิ่งของพระไตรปิฎกบาฬี อีกประการที่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยา ณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงเป็นผู้ริเริ่มให้ปรากฏใหม่ในประชาคมโลก คือ การประดิษฐานพระไตรปิฎก อักษรโรมันในสถาบันตุลาการระดับนานาชาติ เช่น ศาลรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งเป็นสถาบันตุลาการระดับชาติแห่งแรกของโลกที่ได้รับพระราชทานพระไตรปิฎกสากล ในปี พ.ศ. 2548 และในปี พ.ศ. 2550 ก็ได้พระราชทานพระไตร ปิฎกสากลฉบับนี้แก่ ศาลยุติธรรม ระหว่างประเทศ ณ กรุงเฮก ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในระดับนานาชาติและพระราชทานแก่ ศาลฎีกาแห่งราช อาณาจักรไทย เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในราชอาณาจักรไทย

    ในอดีตนับพันปี พระ ธัมมวินัยในพระไตรปิฎกได้เผยแผ่ผ่านสถาบันสงฆ์ผู้ทรงศีลระหว่างสยามและลังกาทวีป ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 พระจุลจอม เกล้าบรมธัมมิกมหาราชได้พระราชทานพระไตรปิฎกบาฬี ฉบับ พิมพ์ชุดแรกของโลก ซึ่งพิมพ์เป็นอักษรสยามแก่มหาวิทยาลัย สำคัญทั่วโลก โดยประดิษฐาน ณ สถาบันการศึกษาและบรรณา รักษศาสตร์นานาชาติใน 30 ประเทศ แต่การเผยแผ่พระไตรปิฎกสากลผ่านสถาบันตุลาการเป็นเหตุการณ์ใหม่ทางประวัติศาสตร์แห่งภูมิปัญญาซึ่งยังมิมีผู้ใดปฏิบัติมาก่อน แต่ก็ได้ริเริ่มและสำเร็จแล้วอย่างงดงามโดย สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ของชาวไทย อันเป็นมิติใหม่แห่งการเผยแผ่พระไตรปิฎกในพระพุทธศาสนาเถรวาท

    สถาบันตุลาการซึ่งมีความยุติธรรมเป็นหลักการสากลและเป็นที่พึ่งสูงสุดของสังคม จึงเห็นความสำคัญในปรมัตถธัมม์ที่เป็นสากลและไม่เปลี่ยนแปลงในพระไตรปิฎก สำหรับเป็นแหล่งค้นคว้าอ้างอิงและเป็นสัญลักษณ์แห่งคุณธรรมความดีที่ศักดิ์สิทธิ์และทรง เกียรติแห่งสถาบันชั้นนำ

    การประดิษฐานพระไตรปิฎกในสถาบันตุลาการระดับนานาชาติ จึงเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์การเผยแผ่พระไตรปิฎกผ่านสถาบันทางสังคมที่มีศักยภาพในการรักษาคุณภาพของการเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

    พระกรุณาธิคุณในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ที่ได้พระราชทานและประดิษฐานพระไตรปิฎกสากลจึงเป็นกุศลประโยชน์อันประมาณ ค่ามิได้

    ขอพระองค์จงทรงเจริญในพระธัมม์ตราบจนถึงพระนิพ พานเทอญ.
    </TD><TD vAlign=top>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://www.dailynews.co.th/web/html/popup_news/Default.aspx?Newsid=151032&NewsType=1&Template=1
     

แชร์หน้านี้

Loading...