ขอเชิญร่วมทำบุญสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์อาพาธ

ในห้อง 'ตลาด พระเครื่องเพื่อการกุศล' ตั้งกระทู้โดย พันวฤทธิ์, 29 พฤศจิกายน 2007.

  1. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    แต่สุดท้ายภาพที่ชื่อว่าพุทธนิมิตร พร้อมบันทึกข้อเขียนความเห็นในเรื่องภาพนี้ ของคุณดังตฤณ ส่วนภาพนี้ตามความเห็นของผม เป็นภาพที่งดงามซาบซึ้งตรึงใจมาก เคยนั่งกำหนดนึกถึงภาพท่านพร้อมกำหนด พุท-โธ ไปด้วย สงบดีครับ ลองดูท่านนานๆ แล้วท่านจะรู้เองว่าภาพนี้เหมือนมีชีวิต อิ่มเอิบ นับว่าควรแก่การเป็นมหาบุรุษโดยแท้ เคยทราบจากคนที่มีตาที่สามที่เห็นเทพเทวาได้ ท่านบอกว่า เคยเห็นเทวดามากราบที่ภาพนี้ด้วยครับ



    [​IMG]


    <SUB>ดูด้วยตาเปล่าคงทราบนะครับว่ารูป ดั้งเดิมนั้นเป็นรูปวาด ซึ่งอันนี้ก็มีที่มาที่ไปสองกระแส ผมไม่แน่ใจว่าข้อมูลจากฝ่ายใดถูกต้อง กระแสหนึ่งบอกว่าเป็นฝีพระหัตถ์ของโอรสรัชกาลที่ ๕ อีกกระแสหนึ่งบอกว่าเป็นภาพวาดของจิตรกรฝรั่งเศส แต่ไม่ว่ากระแสใดถูกหรือผิด ที่แน่นอนก็คือพุทธนิมิตนี้ไม่ได้เกิดจากการที่ใครถ่ายรูปแล้วติดมาดังคำ ร่ำลือ และก่อให้เกิดความสงสัยไปทั่วประเทศ

    ภาพดั้งเดิมแสดงให้เห็นว่ามีพลพรรค มารและธิดาพญามารรายล้อมพระศาสดา ซึ่งหมายความว่าเป็นภาพวาดสมมุติในวันตรัสรู้ หากคำนึงถึงความจริง ที่พระองค์ยังคงซูบผอมในวันตรัสรู้ ก็ต้องกล่าวว่าภาพวาดขาดความสมจริงในขณะของเหตุการณ์

    อย่างไรก็ตาม หากคำนึงถึงความเหมือนจริง ตามลักษณะอันควรเป็นสรีระเยี่ยงมนุษย์ ก็ต้องว่าภาพวาดนี้เหมือนพระพุทธองค์ที่ทรงมีเลือดเนื้อยิ่งกว่าพระปฏิมา หรือภาพวาดอื่นๆในโลก ส่วนที่ว่าใครจะลงความเห็นว่า
     
  2. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    และสุดท้ายของสุดท้ายอีกทีหนึ่ง นำมาจากกระทู้ที่ลงภาพพระอริยะสงฆ์ต่างๆ ไว้มาก กระทู้หนึ่งเช่นกัน แต่พอเห็น 2 ภาพนี้ จึงอดเก็บมาฝากไม่ได้ครับ



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#224444 border=1><TBODY><TR><TD>

    • <!--MsgIDBody=120-->พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงผนวช...
    • <!--MsgFile=120--><CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#224444 border=0><TBODY><TR><TD width=10></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#224444 border=0><TBODY><TR><TD width=10></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>

      จากคุณ : <!--MsgFrom=120-->นัยนะ [​IMG] [​IMG] [​IMG] - [ <!--MsgTime=120-->27 พ.ย. 51 19:57:10 <!--MsgIP=120-->] [​IMG]
      [​IMG] : [FONT=Tahoma,Verdana, Arial, Helvetica, sans-serif]สุภวิโมกข์[/FONT]
      <!--pda content="end"-->
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#403e68 border=0><TBODY><TR><TD width=10></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#403e68 border=0><TBODY><TR><TD width=10></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><!--pda tag="<hr align=center width=90%>"--><!--MsgIDBottom=120--><!--MsgIDTop=121-->


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#224444 border=1><TBODY><TR><TD>
    • [​IMG] <!--WapAllow121=Yes--><!--pda content="begin"-->ความคิดเห็นที่ 121 <!--InformVote=121--><SCRIPT language=JavaScript>MsgStatus(Msv[121], 121);</SCRIPT>[​IMG] [​IMG] <!--EcardManage=121--><!--EcardSend=121-->

    • <!--MsgFile=121--><CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top bgColor=#000000 rowSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#224444 border=0><TBODY><TR><TD width=10></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=left bgColor=#000000 colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 bgColor=#224444 border=0><TBODY><TR><TD width=10></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>


    • จากคุณ : <!--MsgFrom=121-->นัยนะ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>


    จากกระทู้ของ

    http://www.pantip.com/cafe/religious/topic/Y7250167/Y7250167.html
     
  3. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    ธรรมะขำขันวันเสาร์


    [​IMG]


    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=5 width=600 border=0><TBODY><TR><TD align=middle>เรียน...เพื่อให้เกิดปัญญา

    </TD></TR><TR><TD><TABLE width=590 align=center border=0><TBODY><TR><TD>พระพยอมเล่าว่า....

    หนู...เราไปเรียนเพื่ออะไร....?
    เพื่อให้รู้...เพื่อให้เกิดปัญญา

    แล้วที่เรียนเนี่ย
    สมองมันต้องพัฒนา...หูตาต้องกว้างไกล
    รับรู้..ดูปัญหา...สามารถแก้ไขได้
    วันก่อน...อาตมาดูข่าว...เขาบอกว่า
    ตอนนี้ที่....ยโสธร...ศรีสะเกษ...อุบล
    จังหวัดแถบภาคอีสาน...กำลังนี้ปัญหา

    รัฐบาลประกันข้าวหอมมะลิเกวียนละ 12,000 บาท
    แต่ชาวนาขายข้าวได้จริง...เกวียนละ 8,000 บาท
    พ่อค้าอ้างว่า...
     
  4. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    เคยนำมาลงให้อ่านนานมาแล้ว นำมาอีกครั้งหนึ่งเพื่อทบทวนความทรงจำกันครับ



    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center>ปริศนาธรรมจากพระพุทธรูป.
    &laquo; เมื่อ: 26 ตุลาคม, 2008, 03:32:56 pm &raquo;
    </TD><TD style="FONT-SIZE: smaller" vAlign=bottom align=right height=20></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <HR class=hrcolor width="100%" SIZE=1>

    [​IMG]--------------------------------------------------------------------------------

    ปริศนาธรรม
     
  5. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097

    [​IMG]

    <TABLE style="TABLE-LAYOUT: fixed" cellSpacing=0 cellPadding=5 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top width="85%" height="100%"><TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center></TD><TD vAlign=center>หลวงปู่ฝากไว้ ความจริงที่ "ลบไม่เลือน"
    &laquo; เมื่อ: 27 ตุลาคม, 2008, 12:50:08 pm &raquo;
    </TD><TD style="FONT-SIZE: smaller" vAlign=bottom align=right height=20></TD></TR></TBODY></TABLE><HR class=hrcolor width="100%" SIZE=1>หลวงปู่ฝากไว้ ความจริงที่ "ลบไม่เลือน"

    หลวงปู่พระอุดมญานโมลี (จันทร์ศรี จันททีโป) เจ้าอาวาสวัดโพธิสมภรณ์ อ.เมือง จ.อุดรธานี

    เป็นธรรมโอวาท "หลวงปู่ขอบอกลูกหลานว่า
    นรกโลกนี้
    ยังไม่เผ็ดร้อน
    เท่ากับนรกในภพหลัง
    สวรรค์ในภพนี้ ไม่สุขสงบร่มเย็น
    ไม่อุดมสมบูรณ์ไพบูลย์
    เท่ากับสวรรค์ในภพภูมิอื่น
    นี่คือความจริง"
    คติธรรมพระอุดมญานโมลี
    ๑. "คนดีพวกน้อย แพ้คนชั่วพวกมาก"
    ๒."ทำดีไม่ได้ดี เพราะยังทำไม่ถึงดี หรือทำเกินพอดี"
    ๓."ที่คนทำดีแล้วมักบ่นว่าไม่ได้ดี เพราะดีนั้น มีโทษ"
    ๔."บุญจะให้คุณ ต่อเมื่อผู้ให้ลืมไปแล้ว"
    ๕."การพูดมาก แก้ปัญหาใดๆไม่ได้เลย แม้กับปัญหาที่พอจะแก้ไขได้"
    ๖."พายุร้าย ทำอันตรายได้น้อยกว่าวาจาส่อเสียด ยุแหย่ ใส่ร้าย นินทากัน"
    ๗."การคุยสนุกหากเกินหนึ่งชั่วโมง คือการทำลายเวลาอันมีค่าของตนเองและผู้อื่น"
    ๘."อย่าพูดอะไรเพียงเพราะเห็นว่าสนุกปาก เรื่องร้ายสงบได้ เมื่อหยุดพูดถึง
    ๙."ความรักดูเหมือนหอมหวาน ความชั่วดูเหมือนเผ็ดร้อน ทั้งสองนี้เป็นอารมณ์สุดโต่ง มีอำนาจเหนือเราเมื่อใด จะทำลายเราอย่างเจ็บปวดที่สุด"

    ท่านที่ต้องการหนังสือเล่มนี้ซึ่งมีคติธรรมจากหลวงปู่ที่เหมาะกับการดำเนินชีวิตสามารถขอรับได้โดยเขียนชื่อ-ที่อยู่ท่านให้ชัดเจนแนบแสตมป์ 10 บาท
    ส่งไปยัง....คุณนรินทร์ เศวตประวิชกุล
    254/3 ถนนโพศรี อำภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000
    โทร.086-6341434

    ขอขอบคุณที่มาคะ
    http://www.dhammathai.org/store/talk/view.php?No=433
    </TD></TR><TR><TD class=smalltext vAlign=bottom width="85%"><TABLE style="TABLE-LAYOUT: fixed" width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=smalltext width="100%" colSpan=2></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  6. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    <DD>พุทธศาสนาและศาสนาฮินดูหรือศาสนาพราหมณ์ ก่อให้เกิดศิลปของโบราณวัตถุและโบราณสถาน ในประเทศไทยเป็นอย่างมาก ทั้งที่มีมาก่อนที่ชนชาติไทยจะเข้ามาครอบครองดินแดนส่วนนี้ และหลังจากที่ ชนชาติไทยได้ครอบครองแล้ว จากหลักฐานทางโบราณคดีพอจะแบ่งออกได้เป็น ๔ ยุคด้วยกัน คือ <DD>ยุคแรก เป็นลัทธินิกายหินยานอย่างเถรวาท <DD>ยุคที่สอง เป็นลัทธินิกายมหายาน <DD>ยุคที่สาม เป็นลัทธินิกายหินยานแบบพุกาม <DD>ยุคที่สี่ เป็นลัทธินิกายลังกาวงศ์ <DD>พระพุทธรูปที่สร้างขึ้นในประเทศไทย จะผันแปรไปตามยุค และลัทธินิกายดังกล่าวข้างต้น พอจะแบ่ง ศิลปะออกเป็นสมัยต่างๆ ได้ดังนี้ <HR><CENTER>[SIZE=+2]สมัยทวาราวดี [/SIZE]</CENTER><CENTER><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=5 border=2><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>[SIZE=+2][/SIZE]<CENTER><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=5 border=2><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><CENTER><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=5 border=2><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><DD>อยู่ในห้วงเวลาพุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๖ เป็นอาณาจักรที่มีศูนย์กลางอยู่บริเวณภาคกลางของไทยในปัจจุบัน พระพุทธรูปในสมัยนี้ทำด้วย ศิลา ดินเผา และโลหะ มีลักษณะพระเกตุมาลาเป็นต่อมสั้น ขมวดพระเกตุโตและป้าน ไม่มีไรพระศก พระนลาฏไม่เรียบเสมอกัน หลังพระเนตรอูมเกือบเสมอพระนลาฏ พระขนงยาว พระพักตร์กว้างและแบน พระโอษฐ์แบะ พระหนุป้าน จีวรบางแนบติดกับพระองค์ ชายผ้าสังฆาฏิมีทั้งแบบสิ้นเหนือพระอุระ และชนิดยาวถึงพระนาภีพระหัตถ์ และพระบาทมีขนาดใหญ่ ฐานบัวเป็นกลีบขนาดใหญ่ และมีกลีบเล็กแซม มีทั้งแบบบัวคว่ำและบัวหงาย และบัวหงายอย่างเดียว พระพุทธรูปในสมัยนี้มี ๒ ยุค มีพุทธลักษณะแตกต่างกันเล็กน้อย กล่าวคือ ในยุคแรกพระพักตร์จะยาวและกลมกว่ายุคหลัง ซึ่งพระพักตร์มีลักษณะแบนกว่าและกว้างกว่า พระเนตรโปนโตพระนลาฏแคบ และพระนาสิกแบน</DD>
     
  7. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    <CENTER>[SIZE=+2]สมัยศรีวิชัย [/SIZE]</CENTER><CENTER><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=5 border=2><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><DD>อยู่ในห้วงเวลาพุทธศตรวรรษ ที่ ๑๓-๑๘ มีราชธานีอยู่ที่เกาะสุมาตรา ทางด้านตะวันตกของ เมืองปาเล็มบังในปัจจุบัน ได้แก่ อาณาเขตไปถึงเกาะชะวา และแหลมมะลายูขึ้นเหนือมาถึงเมือง นครศรีธรรมราชสมัยนั้นมีชื่อว่า ตามพรลิงค และเมืองไชยา (สมัยนั้นชื่อว่าครหิ) นำศิลปวิทยาของ สกุลช่างศรีวิชัย เข้ามาแพร่หลายในภาคใต้ของไทยในปัจจุบัน บรรดาศิลปวิทยาดังกล่าวก็มีที่มาจาก อินเดีย เช่น อาณาจักรทวาราวดี <DD>พระพุทธรูปในสมัยนี้ จะมีลักษณะองค์พระอวบกว่าสมัยทวราวดี คล้ายกับพระพุทธรูปครั้งราชวงศ์ปาละในอินเดีย พระเกตุมาลาเป็นต่อมสั้น ขมวดพระเกศเล็กและละเอียด และมักจะมีใบโพธิ์ ติดอยู่ทางด้านหน้าของพระเกตุมาลา พระพักตร์แบน พระนลาฏเรียบ พระขนงโก่ง พระโอษฐ์ไม่แบะ พระหนุไม่ป้าน ชายสังฆาฏิมีทั้งแบบสั้นเหนือพระอุระ และชนิดยาวถึงพระนาภีเช่นเดียวกับสมัยทวาราวดี ชายจีวรมักจะซ้อนกันเป็นริ้ว อยู่บนพระอุราเบื้องซ้าย พระหัตถ์และบัวรองฐานกลีบใหญ่ มีกลีบเล็กแซม เกษรละเอียด

    <CENTER>[SIZE=+2]สมัยลพบุรี [/SIZE]</CENTER><CENTER><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=5 border=2><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><DD>อยู่ในห้วงเวลาพุทธศตรรรษที่ ๑๗-๑๙ สมัยขอมมีอำนาจแผ่เข้ามาถึงบริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยา ได้ตั้งเมืองลพบุรีเป็นเมืองของอุปราช และตั้งเมืองหน้าด่านออกไป ทางเหนือถึงเมืองศรีสัชนาลัยและสุโขทัย ทางใต้ถึงเมืองเพชรบุรี <TABLE cellPadding=10 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=5 border=2><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><DD>[SIZE=+1]พระพุทธรูปสมัยนี้ มีทั้งฝ่ายลัทธินิกายมหายานและลัทธิ นิกายหินยาน มีลักษณะพระเกตุมาลาแบ่งออกได้เป็นสี่แบบ คือ เป็นต่อมแบบก้นหอยเป็นแบบฝาชีครอบ เป็นแบบมงกุฎเทวรูป และเป็นแบบดอกบัว เครื่องศิราภรณ์มีแบบกระบังหน้าแบบมี ไรพระศกเสมอ และแบบทรงเทริด (แบบขนนก) เส้นพระศก ทำอย่างเส้นผมคนทั่วไป พระพักตร์กว้าง พระโอษฐแบะ พระหนุป้าน พระกรรณยาวจรดพระอังสา[/SIZE] <DD>[SIZE=+1]การห่มจีวร ถ้าเป็นพระยืนจะห่มคลุมส่วนพระนั่ง มีทั้งห่มคลุมและห่มดอง ชายสังฆาฏิ ยาวถึงพระนาภี ขอบอันตรวาสก (สบง) ข้างบนเป็นสัน สำหรับพระทรงเครื่องจะมีฉลองพระศกกำไลแขน และประคด[/SIZE] <DD>[SIZE=+1]บัวรองฐานมีทั้งแบบบัวคว่ำบัวหงายและแบบบัวคว่ำอย่างเดียวกับบัวหงายอย่างเดียว[/SIZE]</DD></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <CENTER>[SIZE=+2]สมัยเชียงแสน [/SIZE]</CENTER><DD>อยู่ในห้วงพุทธศตวรรษที่ ๑๖-๒๒ อยู่ทางตอนเหนือของประเทศไทย มีศูนย์กลางอยู่ที่เมือง เชียงแสนเก่า ชาวไทยได้เข้ามาตั้งรกรากอยู่ในพื้นที่บริเวณนี้มาแต่โบราณ ดังนั้นพระพุทธรูปในพื้นที่นี้ ซึ่งให้ชื่อว่าสมัยเชียงแสนจึงเป็นฝีมือช่างไทย เราสามารถแบ่งออกได้เป็น ๓ รุ่น <CENTER><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=5 border=2><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><DD>รุ่นแรก ที่เรียกกันว่ารูปสิงห์หนึ่ง น่าจะได้รับอิทธิพลจากศิลปะแบบปาละของอินเดีย มีลักษณะองค์พระอวบ พระรัศมีเป็นต่อมกลมคล้ายดอกบัวตูม เส้นพระศกใหญ่เป็นต่อมกลมหรือเป็นก้นหอยไม่มีไรพระศก พระพักตร์กลมสั้น พระขนงโก่ง พระนาสิกงุ้ม พระโอษฐ์เล็ก พระหนุป้านพระอุระนูน ชายสังฆาฏิสั้นอยู่เหนือพระอุระด้านซ้าย ตรงชายมักทำเป็นแฉกหรือแบบเขี้ยวตะขาบ <DD>ฐานมีบัวรองมีทั้งบัวคว่ำบัวหงาย มีกลีบแซมและมีเกสรกับแบบฐานเอียงแบบโค้งออก <DD>รุ่นที่สอง ที่เรียกกันว่ารุ่นสิงห์สอง ส่วนใหญ่มีลักษณะเหมือนรุ่นแรก แต่องค์พระจะอวบน้อยกว่า และชายสังฆาฏิจะยาวลงมาอยู่เหนือพระนาภี <DD>รุ่นหลัง ที่เรียกกันว่ารุ่นสิงห์สาม เปลี่ยนแปลงไปจากรุ่นแรกค่อนข้างมาก ทำตามแบบสุโขทัยเป็นส่วนใหญ่ กล่าว คือ พระรัศมีเป็นเปลว เส้นพระศกละเอียดมีไรพระศกกับระหว่างเส้นพระเกศากับพระนลาฏ ชายสังฆาฏิอ้างถึงพระนาภี ฐานเอียงแบบโค้งออก</DD>
     
  8. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    <CENTER>[SIZE=+2]สมัยสุโขทัย [/SIZE]</CENTER><CENTER><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=5 border=2><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><CENTER> </CENTER><DD>อยู่ในห้วงพุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐ นับตั้งแต่พ่อขุนบางกลางท่าวเจ้าเมืองบางยาง และพ่อขุนผาเมือง เจ้าเมืองราดได้ร่วมกันตีได้เมืองสุโขทัย พ่อขุนบางกลางท่าวได้รับสถาปนาเป็นเจ้าเมืองสุโขทัย ประกาศอิสรภาพไม่ขึ้นกับขอม และได้มีพระมหากษัตริย์ปกครองกรุงสุโขทัยต่อมาอีกหลายพระองค์ ตั้งอาณาจักรสุโขทัยเป็นปึกแผ่น <DD> <DD><CENTER><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=5 border=2><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><DD><CENTER> </CENTER><DD>ในห้วงเวลาดังกล่าว พุทธศาสนาในลังกาเจริญรุ่งเรืองมาก บรรดาพระสงฆ์ในสุวรรณภูมิอันได้แก่ ไทย พม่า มอญ พากันไปศึกษาพุทธศาสนาในลังกาเป็นอันมาก และได้มีพระสงฆ์ชาวลังกา เข้ามาเผยแพร่ พุทธศาสนาในดินแดนส่วนนี้ด้วย โดยในระยะแรกมาอยู่ที่นครศรีธรรมราช ต่อมาจึงขึ้นไปอยู่สุโขทัย และเชียงใหม่ ดังนั้นพระพุทธรูปในยุคนี้จึงได้แบบอย่างมาจากลังกา ลักษณะโดยทั่วไปมีดังนี้คือ รัศมียาว เส้นพระศกขมวดก้นหอย ส่วนมากไม่มีไรพระศก พระขนงโก่ง พระนาสิกงุ้ม พระหนุเสี้ยม หัวพระถันโปน ชายสังฆาฏิยาว ปลายมี ๒ แฉก และย่นเป็นเขี้ยวตะขาบ ฐานส่วนใหญ่เป็นแบบฐานเอียง ตอนกลางโค้งเข้าด้านใน ตรงข้ามกับสมัยเชียงแสน <TABLE cellPadding=10 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=5 border=2><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><DD>[SIZE=+1]พระพุทธรูปสมัยนี้ แบ่งออกเป็น ๓ รุ่น ด้วยกัน คือ <DD>รุ่นแรก มีวงพระพักตร์กลมแบบลังกา <DD>รุ่นที่สอง มีวงพระพักตร์ยาว และพระหนุเสี้ยม <DD>รุ่นที่สาม น่าจะสร้างในรัชสมัยพระมหาธรรมราชา หรือ พระเจ้าลิไท พระองค์ทรงหาหลักฐานต่าง ๆ จากพระไตรปิฎก มาประกอบการสร้างพระพุทธรูป จึงได้เกิดพระพุทธรูปแบบสุโขทัยขึ้นอีกแบบหนึ่ง ได้แก่ พระพุทธชินราช พระพุทธชินสีห์ วงพระพักตร์ รูปไข่คล้ายแบบอินเดีย ปลายนิ้วพระหัตถ์เสมอกันทั้ง ๔ นิ้ว </DD>[/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE><HR><CENTER>[SIZE=+2]สมัยอู่ทอง [/SIZE]</CENTER><CENTER><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=5 border=2><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><DD><CENTER> </CENTER><DD>อยู่ในห้วงพุทธศตวรรษที่ ๑๗-๒๐ พื้นที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย พระพุทธรูปแบบนี้ แบบผสมระหว่างศิลปะแบบทวาราวดีลพบุรี และสุโขทัย แบ่งออกได้เป็น ๓ รุ่น คือ <DD>รุ่นที่ ๑ ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘ เป็นฝีมือช่างไทย แต่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะแบบ ทวาราวดี ลักษณะโดยทั่วไปมีพระรัศมีทั้งแบบต่อม นูนเป็นกระเปาะ และคล้ายทรงฝาชีเตี้ย พระพักตร์เหลี่ยม มีไรพระศกเป็นกรอบรอบวงพระพักตร์ แบ่งส่วนพระเกษากับพระนลาฎ เส้นพระเกศาละเอียด พระหนุ ค่อนข้างแหลม พระนาสิกค่อนข้างแบน พระโอษฐ์แบะ <DD>ชายสังฆาฏิยาว ชายขอบอันตรวาสก (สบง) ด้านบนเป็นสัน <DD>ฐานหน้ากระดาษ ด้านหน้าเป็นร่องเข้าด้านใน ด้านหลังเรียบและโค้งออก <DD>รุ่นที่ ๒ ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๘-๑๙ ได้รับอิทธิพลจากศิลปะขอมมากขึ้น ลักษณะส่วนใหญ่เหมือนรุ่นที่ ๑ ที่ต่างกัน คือ รุ่นนี้มีรัศมีเป็นเปลว พระพักตร์เป็นรูปสี่เหลี่ยมมากขึ้น พระนาสิกโค้งมากขึ้น พระหนุสี่เหลี่ยม <DD><CENTER><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=5 border=2><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><DD><CENTER> </CENTER><DD>รุ่นที่ ๓ ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐ ได้รับอิทธิพลจากศิลปะสุโขทัย จึงทำแบบสุโขทัยเป็นส่วนใหญ่ มีลักษณะ พระกายค่อนข้างสูง พระพักตร์รูปไข่ มีไรพระศกเป็นแถบแบนกว้างกันระหว่างพระนลาฏกับเส้นพระศก พระรัศมีเป็นเปลวแบบสุโขทัย แต่ด้านหลังเรียบ ระหว่างเส้นพระศกกับพระรัศมีมีแถบกั้น สังฆาฏิมีขนาดใหญ่ <DD>ฐานเป็นแบบหน้ากระดานสองแผ่นซ้อนกัน มีร่องตรงกลางเว้าเข้า ด้านหลังโค้งออกและเรียบ</DD>
     
  9. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    <CENTER>[SIZE=+2]สมัยอยุธยา [/SIZE]</CENTER><CENTER><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=5 border=2><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><CENTER></CENTER><DD>อยู่ในห้วงพุทธศตวรรษที่ ๒๐-๒๓ ในขั้นต้นน่าจะมีที่มาจากสมัยอู่ทอง ต่อมาในต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๑ ศิลปสมัยสุโขทัยแพร่หลายมาถึงอยุธยามากขึ้น ช่างจึงสร้างพระพุทธรูปตามแบบสุโขทัย แต่ไม่งามเท่า มาถึงรัชสมัยพระเจ้าประสาททอง ได้มีการสร้างพระพุทธรูปด้วยศิลาทรายแบบเขมร ปลายสมัยอยุธยา นิยมสร้างพระพุทธรูปทรงเครื่องแบบมหายาน <DD>ลักษณะโดยทั่วไป วงพระพักตร์และพระรัศมีทำตามแบบสุโขทัย ที่ต่างกันคือ มีไรพระศก และสังฆาฏิใหญ่สำหรับพระทรงเครื่อง พระรัศมีทำเป็นก้นหอยหลายชั้น บ้างก็เป็นแบบมงกุฎของเทวรูปสมัยลพบุรี ถ้าทรงเครื่องใหญ่มักทำเป็นมงกุฎแบบพระมหากษัตริย์ ถ้าทรงเครื่องน้อย มักเอาแบบมาจากศิลปะสุโขทัย ต่างกันที่ในสมัยอยุธยาจะมีครีบยื่นออกมาสองข้างเหนือพระกรรณ <DD><DD><CENTER><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=5 border=2><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><DD>ยังมีพระพุทธรูปสกุลช่างทางใต้ พบมากที่นครศรีธรรมราช จึงเรียกว่าสมัยอยุธยาแบบนครศรีธรรมราช ลักษณะเหมือนสมัยเชียงแสนรุ่นแรก ลักษณะทั่วไปพระรัศมีเป็นต่อมกลางคล้ายดอกบัวตูม เส้นพระศกใหญ่ พระโอษฐกว้างกว่าสมัยเชียงแสน ชายสังฆาฏิอยู่เหนือพระอุระ ชายจีวรใหญ่มีหลายแฉกซ้อนอยู่ใต้ชายสังฆาฏิ พระอุระนูน องค์พระอวบนั่งขัดสมาธิเพชร ปางมารวิชัย ฐานไม่มีบัวรอง ชนิดไม่มีบัวรองก็ไม่เหมือนบัวแบบเชียงแสน <HR><CENTER>[SIZE=+2]สมัยรัตนโกสินทร์ [/SIZE]</CENTER><DD>เริ่มตั้งแต่กลางพุทธศตวรรษที่ ๒๔ ถึงปัจจุบัน มีลักษณะผสมกันของแบบสุโขทัย และแบบอยุธยา มีที่ต่างกันคือ พระเกตุมาลาและพระรัศมีสูงกว่า เส้นพระเกษาละเอียดกว่า มีวิวัฒนาการตามลำดับ ดังนี้ <DD><DD><CENTER><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=5 border=2><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><DD><CENTER></CENTER><DD>สมัยรัชกาลที่ ๑ และ รัชกาลที่ ๒ คงทำตามแบบอยุธยา <DD>สมัยรัชกาลที่ ๓ โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างพระพุทธรูปปางต่าง ๆ เพิ่มเติมจากที่มีอยู่เดิม <DD>สมัยรัชกาลที่ ๔ โปรดเกล้า ฯ ให้แก้ไขพุทธลักษณะ ให้คล้ายคนธรรมดามากยิ่งขึ้น ได้แก่ ตัดพระเกตุมาลาออก คงมีแต่พระรัศมีเป็นเปลวอยู่บนพระเศียร <DD>สมัยรัชกาลที่ ๕ พระพุทธรูปกลับมีพระเกตุมาลาอีก <DD>สมัยรัชกาลปัจจุบัน เมื่อคราวฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ ได้สร้างพระพุทธรูปปางลีลา มีลักษณะเหมือนมนุษย์สามัญ แต่มีศิลปแบบสุโขทัยปนอยู่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างพระพุทธรูปโดยพระราชนิยมขึ้น ๒ ปาง คือ พระพุทธรูปประทับนั่ง ปางประทานพร และพระพุทธนวราชบพิตร เป็นปางมารวิชัย</DD>


    ขอขอบคุณ
    http://www.heritage.thaigov.net
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 พฤศจิกายน 2008
  10. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    <TABLE width=650 align=center><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TD><TR><TD class=narright>


    ใบไม้ร่วงตามลมหนาว
    ด้วยถึงคราวหรือเหตุใด
    ฉันมองไม่เห็นใบไม้
    เพราะน้ำใสเต็มสองตา




    ฉันนึกถึงวันเก่าๆ
    ใต้เงาต้นไม้ใบหนา
    อุ่นใจกายทุกเวลา
    ต้นไม้รักษาคุ้มครอง





    กี่ลมหนาวจะพัดผ่าน
    แดดจัดจ้านกร้านผิวผ่อง
    ต้นไม้ใหญ่คอยประคอง
    คอยสอดส่องดูแลเรา




    ใบไม้ร่วงอำลาร้าง
    แม้ทุกอย่างไม่เหมือนเก่า
    รักของแม่ในใจเรา
    เป็นร่มเงาให้พักใจ




    จะเติบใหญ่เป็นไม้งาม
    ทำตามแม่ที่สอนไว้
    เมื่อถึงคราวร่วงตามไป
    ฝากโลกไว้แต่ความดี


    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    ขอขอบคุณ
    http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=sevendaffodils&month=09-11-2008&group=3&gblog=189
     
  11. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    บล๊อกนี้รูปสวยเยอะนา....เข้าไปดูแล้วเก็บไว้ก็คงจะดี


    เมื่อดอกไม้ร่วง

    <!-- Main -->[SIZE=-1]<STYLE> body { background-image: url(http://www.bloggang.com/data/sevendaffodils/picture/1127669325.jpg); background-repeat: repeat; font-family: "Tahoma, Arial,sans-serif"; color: #666666; font-size: 10pt; } table { border-style: none; background-color: transparent; } td { border: medium none ; background: transparent none repeat scroll 0%; } img { border: 0px;} .photo { font-size: 8pt; color: #666666;font-family: Tahoma, "Microsoft Sans Serif"; text-align: center;} .main { font-family: Tahoma, "Microsoft Sans Serif"; font-size: 10pt; color: #666666; text-align: center;} h2 { font-family: Tahoma, "Microsoft Sans Serif"; color: #666666;} .nar { font-size: 10pt; color: #666666; font-family: Tahoma, "Microsoft Sans Serif", AngsanaUPC; text-align: left;} .narright { font-size: 10pt; color: #666666; font-family: Tahoma, "Microsoft Sans Serif", AngsanaUPC; text-align: right;} p.nareng { font-size: 9pt; font-family: "Cultz MT", Georgia; Tahoma; color: #666666; text-align: center;} .end { font-family: Tahoma, "Microsoft Sans Serif"; font-size: 9pt; font-style: italic; color: #999999; text-align: right; background-color: #FFFFFF;} ul { list-style-image: url(http://www.geocities.com/mkanchanavatee/spiral.bmp); } </STYLE>[/SIZE]


    [SIZE=-1]ดอกไม้ร่วง เพราะห่วงรู้ไหม[/SIZE]
    [SIZE=-1]หล่นใกล้ๆ ให้เธอได้เห็น[/SIZE]


    [SIZE=-1][​IMG][/SIZE]














    [SIZE=-1]ชอบใจไหม ลมพัดเย็นๆ[/SIZE]
    [SIZE=-1]เริงลมเล่น ร่วงเป็นเพื่อนกัน[/SIZE]


    [SIZE=-1][​IMG][/SIZE]

    [SIZE=-1]http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=sevendaffodils&group=8[/SIZE]

     
  12. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    ส่วนเพจนี้สำหรับคนที่เข้ามาใหม่ ไว้ศึกษาตัวตนของทุนนิธิฯ ครับ

    http://www.vcharkarn.com/vblog/34941/1


    [​IMG]

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=80>[​IMG]
    </TD><TD vAlign=top>ขอเชิญร่วมทำบุญสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์อาพาธ
    ด้วยในปัจจุบันพระภิกษุสงฆ์อาพาธตามโรงพยาบาลต่างๆ เช่น รพ.สงฆ์ ยังคงมีอยู่เป็นจำนวนมาก พระสงฆ์เหล่านี้ล้วนเป็นเนื้อนาบุญของเรา ดังคำกล่าวที่ว่า"ผู้ใดปราถนาจะอุปปัฏฐากเราตถาคต ผู้นั้นพึงรักษาภิกษุป่วยไข้"
    ผู้เขียน: pratomfoundation ชมแล้ว: 99,397 ครั้ง
    post ครั้งแรก: Thu 7 February 2008, 3:43 am ปรับปรุงล่าสุด: Thu 20 November 2008, 3:17 pm
    อยู่ในส่วน: พักผ่อนหย่อนใจ, วิชาการ.คอม, สุขภาพ, สุขภาพทั่วไป, โรคภัยไข้เจ็บ, อาหารการกิน, กิจกรรมพิเศษ, ศาสนา
    <INPUT type=hidden value=article> <INPUT type=hidden value=34941> <INPUT type=hidden value=vblog>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    สารบัญ
    1-20 | 21-40 | 41-60 | 61-80 | 81-93

    หน้า : 1 บทนำ
    หน้า : 2 จุดเริ่มต้นและแนวทางการดำเนินงาน
    หน้า : 3 ความคืบหน้าและยอดเงินบริจาค ณ เดือน ธันวาคม 2550
    หน้า : 4 พี่ใหญ่ฝากมา...
    หน้า : 5 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน ธันวาคม 2550 #1
    หน้า : 6 ความรู้ปู่ให้มา..พระสมเด็จกรุบางน้ำชน (ปีระกาป่วงใหญ่)
    หน้า : 7 ความรู้ปู่ให้มา..พระสมเด็จปูนสอ "สมเด็จอัศนี"
    หน้า : 8 พระท่าดอกแก้วที่ อ.ประถม อาจสาครสร้าง
    หน้า : 9 ความคืบหน้าและยอดเงินบริจาค ณ เดือน มกราคม 2551
    หน้า : 10 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มกราคม 2551 #2
    หน้า : 11 ความคืบหน้าและยอดเงินบริจาค ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2551
    หน้า : 12 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2551 #3
    หน้า : 13 การไหว้ 5 ครั้ง (ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ญาณวรเถร ) วัดเทพศิรินทราวาส
    หน้า : 14 แจ้งกำหนดการร่วมทำบุญเดือน มีนาคม
    หน้า : 15 ภาพพระโลกอุดรที่เรียกว่า "กรุเก่า"
    หน้า : 16 ใบเสร็จรับเงินที่ไปทำบุญมาเมื่อวันอาทิตย์ที่ 23 มีนาคม 2551
    หน้า : 17 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มีนาคม 2551 #4
    หน้า : 18 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มีนาคม 2551 #4 หน้า 2
    หน้า : 20 "กระดูก 300 ท่อน" สุดยอดธรรมจากหลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร
    หน้า : 21 ย้อนหลังกลับมาคุยถึงเรื่อง พระกำลังใจ 2

    หน้า : 22 ชนวนที่ใช้ในการสร้างพระกำลังใจ 2 หน้าที่ 1
    หน้า : 23 ชนวนที่ใช้ในการสร้างพระกำลังใจ 2 หน้าที่ 2
    หน้า : 24 สรุปยอดเงินบริจาคที่ Update ยอดเมื่อวันนี้ 10 เมษายน 2551
    หน้า : 25 ใบโมทนาบัตรเมื่อคราวไปทำบุญเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2551
    หน้า : 26 สรุปรายการพระที่นำมามอบให้เป็นสำหรับผู้ร่วมทำบุญกับทุนนิธิ ฯ
    หน้า : 27 บรรยากาศแบบไทย ๆ ณ บ้านอาจารย์ประถม อาจสาคร ร่วมกับ คณะกรรมการทุนนิธิฯ
    หน้า : 28 พระอีกรุ่นหนึ่งที่เป็นพระที่ อ.ประถมฯ สร้างไว้...
    หน้า : 29 คำบอกเล่าเกี่ยวกับกิจกรรมทำบุญครั้งที่ 5 ของทุนนิธิฯ...จากประธานทุนนิธิฯ
    หน้า : 30 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน เมษายน 2551 #5
    หน้า : 31 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน เมษายน 2551 #5-2
    หน้า : 32 รูปขณะที่ทางประธานทุนนิธิฯและคณะกรรมการได้นำกระเช้า ไปกราบเยี่ยมอาการผ่าตัดต้อที่ตาของ อาจารย์ประถม ที่บ้าน
    หน้า : 34 ประชาสัมพันธ์ งานบุญที่ รพ.สงฆ์ ครั้งที่ 6/51
    หน้า : 35 รายละเอียด ก่อนเริ่มการทำบุญ ในวันอาทิตย์ที่ 25/5/2551
    หน้า : 36 รายงานการถอนเงินออกมาเพื่อทำบุญ และ สรุปยอดเงินบริจาคที่ Update ยอดเมื่อ 27/05/08
    หน้า : 37 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน พฤษภาคม 2551 #6 หน้าที่ 1
    หน้า : 38 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน พฤษภาคม 2551 #6 หน้าที่ 2
    หน้า : 39 แจ้งข่าว หลวงปู่อ่อนศรี ฐานวโร วัดถ้ำเขาประทุน ชลบุรี ได้มรณภาพแล้วด้วยอาการสงบ
    หน้า : 40 แจ้งข่าวเรื่องการทำบุญ รพ.สงฆ์ ในวันที่ ๒๒/๐๖/๒๕๕๑
    หน้า : 41 ขอประชาสัมพันธ์กิจกรรมของทุนนิธิฯ วันที่ 22 มิ.ย (ครั้งที่ 7)
    หน้า : 42 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มิถุนายน 2551 #7 หน้าที่ 1

    หน้า : 43 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มิถุนายน 2551 #7 หน้าที่ 2
    หน้า : 44 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มิถุนายน 2551 #7 หน้าที่ 3
    หน้า : 45 ประธานทุนนิธิฯ แจ้งยอดการทำบุญในครังที่ 7 นี้ และใบเสร็จแจ้งการทำบุญ ร่วมโมทนาบุญด้วยกันครับ
    หน้า : 46 พระนาคปรกมหาลาภ
    หน้า : 47 ประชาสัมพันธ์กิจกรรมสำหรับงานบุญประจำเดือนกรกฎาคม 2551
    หน้า : 48 หลักฐานการโอนเงินเข้ากองทุนของหลวงปู่เทสก์ เทสรังสี และ กองทุนสงฆ์อาพาธ รพ. 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ์ จ.อุบลฯ
    หน้า : 49 ใบโมทนาบัตรที่ทางโรงพยาบาลสงฆ์ และของทาง รพ.50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ จ.อุบลส่งมาให้ทางทุนนิธิฯทั้งของเดือน พฤษภาคมและเดือนมิถุนายน
    หน้า : 50 การเบิก-จ่ายในงานบุญ ๒๗/๐๗/๒๕๕๑
    หน้า : 51 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กรกฏาคม 2551 #8 หน้าที่ 1
    หน้า : 52 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กรกฏาคม 2551 #8 หน้าที่ 2
    หน้า : 53 พระพิมพ์สมเด็จเจ้าคุณกรมท่า พิมพ์ปรกโพธิ์
    หน้า : 54 ซื้อผ้ามัสสลิน ถวายเพื่อใช้เป็นเครื่องบริขารให้แก่พระสงฆ์อาพาธ ณ รพ.ศรีนครินทร์ จ.ขอนแก่น
    หน้า : 55 ปุจฉา - วิสัชนา
    หน้า : 56 สมเด็จเจ้าคุณกรมท่าพิมพ์ใหญ่และสมเด็จปัญจสิริรุ่นแรกเนื้อเก่าสวยๆ #1
    หน้า : 57 สมเด็จเจ้าคุณกรมท่าพิมพ์ใหญ่และสมเด็จปัญจสิริรุ่นแรกเนื้อเก่าสวยๆ #2
    หน้า : 58 สมเด็จเจ้าคุณกรมท่าพิมพ์ใหญ่และสมเด็จปัญจสิริรุ่นแรกเนื้อเก่าสวยๆ #3
    หน้า : 59 สมเด็จเจ้าคุณกรมท่าพิมพ์ใหญ่และสมเด็จปัญจสิริรุ่นแรกเนื้อเก่าสวยๆ #4
    หน้า : 60 สมเด็จเจ้าคุณกรมท่าพิมพ์ใหญ่และสมเด็จปัญจสิริรุ่นแรกเนื้อเก่าสวยๆ #5
    หน้า : 61 ใบโมทนาบัตรของเดือน กรกฎาคม+ยอดเงินที่เบิกออกมาใช้ในการทำบุญกับทาง รพ.สงฆ์ ในวันที่ 24 สิงหาคม 2551
    หน้า : 62 ภาพของผ้ามัสลินที่ได้จากการบริจาคของทุนนิธิ ฯ ไปใช้หอสงฆ์ที่ รพ.ศรีนครินทร์ จ.ขอนแก่น

    หน้า : 65 พระกรุวังหน้าบางส่วน
    หน้า : 66 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน สิงหาคม 2551 #1
    หน้า : 67 แจงรายละเอียดการทำบุญเดือนสิงหาคม 2551
    หน้า : 68 ปิดท้ายงานบุญเดือนสิงหาคม 2551
    หน้า : 69 พระพิมพ์เจ้าสัว....
    หน้า : 70 พระกรุโลกอุดร
    หน้า : 71 พระกรุโลกอุดร พิมพ์ปิดตา อรหัง
    หน้า : 72 พระสารีริกธาตุของพระพุทธปัจเจกพุทธเจ้า
    หน้า : 73 พระสกุลวังหน้า
    หน้า : 74 พระพิมพ์สกุลวังหน้า
    หน้า : 75 พระพิมพ์สกุลวังหน้า.. ต่อ
    หน้า : 76 พระพิมพ์ของบรมครูพระเทพโลกอุดร
    หน้า : 77 แจ้งข่าวเกี่ยวกับแนวทางการดำเนินงานขั้นต่อไปของทุนนิธิ
    หน้า : 78 ทางทุนนิธิฯตั้งใจจะแจกพระให้ในเดือนนี้นั้นก็ขอเรียนชี้แจงดังนี้นะครับ
    หน้า : 79 ภาพพระ ๒๔๐๘ เพื่อการศึกษา
    หน้า : 80 ภาพของการรักษาผู้ป่วยของ รพ.สงขลานครินทร์ ที่เราเตรียมส่งเงินไปช่วยเหลือ
    หน้า : 81 ภาพพระ ๒๔๐๘ เพื่อการศึกษา (๒)
    หน้า : 82 ใบโมทนาบัตรของโรงพยาบาล 5 พรรษา มหาวชิราลงกรณ และโรงพยาบาล ศรีนครินทร์ มาให้ได้ร่วมกันโมทนาในบุญ
    หน้า : 83 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กันยายน 2551 #10 หน้าที่ 1
    หน้า : 84 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กันยายน 2551 #10 หน้าที่ 2

    หน้า : 85 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กันยายน 2551 #10 หน้าที่ 3
    หน้า : 86 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กันยายน 2551 #10 หน้าที่ 4
    หน้า : 87 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กันยายน 2551 #10 หน้าที่ 5
    หน้า : 88 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กันยายน 2551 #10 หน้าที่ 6
    หน้า : 89 รายนามท่านที่บริจาคเงินสมทบเข้าทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร เมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2551
    หน้า : 90 ร่วมทำบุญให้กับ รพ.แม่สอด จ.ตาก (รพ.ชายแดน)
    หน้า : 91 นำใบโอนเงินมาร่วมโมทนาบุญกับทาง ทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร
    หน้า : 92 ใบอนุโมทนาบัตรที่ได้รับจากโรงพยาบาลต่าง ๆ ครับ โมทนาสาธุ
    หน้า : 93 การประชุมคณะกรรมการทุนนิธิฯ
    หน้า : 94 ภาพการทำบุญ รพ.สงฆ์ วันที่ 19 ตุลาคม 2551
    หน้า : 95 ภาพพระสมเด็จที่ระลึกในงานศพของคุณพ่อพี่พันวฤทธิ์
    หน้า : 96 รายงานยอดเงินที่ถอนไปทำบุญในเดือนนี้และใบขอบคุณและโมทนาบัตรของโรงพยาบาลต่างๆครับ
    หน้า : 97 สรุปผลการประชุม ๒๖-๑๐-๒๕๕๑ และแจ้งวันร่วมทำบุญในเดือน พฤษจิกายน ๒๕๕๑
    <INPUT id=cur_content type=hidden value=1 name=cur_content>




    หน้าที่ 1 - บทนำ



    [​IMG]



    ด้วยในปัจจุบันพระภิกษุสงฆ์อาพาธตามโรงพยาบาลต่างๆ เช่น รพ.สงฆ์
    ยังคงมีอยู่เป็นจำนวนมาก พระสงฆ์เหล่านี้ล้วนเป็นเนื้อนาบุญของเรา
    ดังคำกล่าวที่ว่า"ผู้ใดปราถนาจะอุปปัฏฐากเราตถาคต ผู้นั้นพึงรักษาภิกษุป่วยไข้"
    ด้วยเหตุและปัจจัยแห่งเนื้อนาบุญอันมีอานิสงส์ที่ประมาณมิได้นี้ ประกอบกับเป็นการเชิดชู
    ครูอาจารย็ที่ได้อบรมความรู้ และถ่ายทอดประสบการณ์ในเรื่องอภิญญาจิต และความรู้เรื่องพระพิมพ์
    สกุล วัดพระแก้ววังหน้า พระพิมพ์สกุลบรมครูเทพโลกอุดรของ ท่าน อ.ประถม อาจสาคร
    กระผมและคณะจึงได้ก่อตั้งกองทุนขึ้นมาในรูปแบบของทุนนิธิ เพื่อรวบรวมเงินบริจาค
    ที่จะได้มานำไปบริจาคให้หรือรักษาไข้แก่พระภิกษุสงฆ์อาพาธที่ยากไร้ ตามโรงพยาบาลต่างๆ
    หรือบำรุงศาสนกิจที่จำเป็นตามที่คณะกรรมการของกองทุนจะได้พิจารณาขึ้น ดังนั้น กระผมและคณะ
    จึงใคร่ขอเชิญชวนทุกท่านที่ได้อ่าน ได้มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือพุทธศาสนา ด้านการรักษาสงฆ์
    หรือศาสนกิจอื่นๆ





    บัญชี
    "ศ. ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร" (pratom foundation)
    บัญชีธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาถนนวิภาวดีรังสิต (ซันทาวเวอร์ส)
    บัญชีออมทรัพย์ หมายเลข 348-1-23245-9
     
  13. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD><TABLE borderColor=white cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" border=2><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><!--Last Update : 26 พฤษภาคม 2551 12:49:21 น.-->พระพุทธประวัติ ตอนที่ ๘๐ | พระพุทธเจ้าทรงให้มี อุปัชฌาย์
    <!-- Main -->พระพุทธประวัติ ตอนที่ ๘๐ : พระพุทธเจ้าทรงให้มี อุปัชฌาย์

    พระพุทธเจ้าทรงให้มี อุปัชฌาย์

    หลังจากทรงโปรด อุปติสสะและโกลิตะ และผองเพื่อนปริพาชกทั้งหลายจนได้บรรลุอรหัตตผลแล้วทั้งสิ้น ภายในเมือง เกิดเสียงติเตียนกันมากขึ้น เนื่องจากเหล่าพวกกุลบุตรชาวมคธที่มีชื่อเสียงทั้งหลาย ต่างพากันประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค ดังนั้นประชาชนที่ไม่ได้นับถือในพระพุทธศาสนา จึงพากันเพ่งโทษ ติเตียนโพนทะนาว่า พระสมณะโคดมปฏิบัติเพื่อให้ชายไม่มีบุตร พระสมณโคดมปฏิบัติเพื่อให้หญิงเป็นหม้าย พระสมณโคดมปฏิบัติเพื่อตัดสกุล บัดนี้พระสมณโคดมให้ชฎิล 1000 รูปบวชแล้ว และให้ปริพาชกศิษย์ของท่านสญชัย ๒๕๐ คนนี้บวชแล้ว และกุลบุตรชาวมคธที่มีชื่อเสียง พากันประพฤติพรหมจรรย์ในพระสมณโคดม ไปหมดแล้ว บัดนี้ จักทรงนำใครไปอีกเล่า

    ภิกษุทั้งหลายได้ยินประชาชนเหล่านั้น เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค

    พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
     
  14. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    มาลงจดหมายของหลวงปู่สิมต่อ ในฉบับที่ 5-9 จากทั้งหมด 20 ฉบับครับ



    [​IMG]


    ธรรมเมตตา ฉบับที่ ๕<?XML:NAMESPACE PREFIX = O /><O:p></O:p>
    วันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๐๖ <O:p></O:p>
    ความขยันหมั่นเพียรเป็นยอดแห่งธรรม คำว่า “ความขยันหมั่นเพียร” มีทั้งภายนอกและทั้งภายใน ภายนอกนั้นผู้ที่เป็นนักบวช ก็ต้องขยันหมั่นเพียรในการปัดกวาดเช็ดถู แต่ก่อนอื่นที่จะปัดกวาดได้ต้องพร้อมเพรียงกันถางหญ้าดายหญ้า ในบริเวณเขตวัดที่อยู่ที่อาศัย โดยเฉพาะกลางพรรษา ไม่ว่าวัดใดย่อมมีหญ้าขึ้นเป็นธรรมดา เมื่อได้รับอุบายนี้เมื่อใดแล้ว เณรทุกรูป เด็กวัดทุกคน (ศิษย์วัด) ลุกยืนขึ้นจับจอบดายหญ้า พระทุกองค์ก็ลุกขึ้นจับไม้กวาด ปัดกวาดพร้อมกันไป ให้เห็นว่าเป็นกิจส่วนรวมของหมู่คณะ อย่านั่งดูดายเป็นอันขาด ส่วนความขยันหมั่นเพียรภายในนั้น ได้แก่ ท่องบ่นสาธยาย ศึกษาเล่าเรียน ฟังเทศน์ สนทนาธรรม กราบพระ สวดมนต์ ท่องคาถา ทุก ๆ ค่ำเช้า ภาวนานั่งสมาธิไม่ให้ขาด กลางวัน ๒ ชั่วโมง กลางคืน ๒ ชั่วโมง ส่วนการตั้งจิตนั้น ให้กำหนดลมหายใจ เมื่อหายใจเข้าไป ก็ให้มีสติว่านี้คือลมหายใจเข้า เมื่อลมหายใจออก ก็ให้มีสติว่า นี้คือลมหายใจออกมา ไม่ให้ลืมเป็นอันขาด จงเรียนแบบลมหายใจ ตั้งแต่เราเกิดมาไม่เห็นมันหยุดซักที ถ้าลมหายใจหยุด เราก็ตายเป็นผีเฝ้าพสุธานี้เท่านั้นเอง อาจารย์หวังว่าศิษยานุศิษย์ พร้อมทั้งญาติโยมทั้งหลายคงปฏิบัติได้ตามที่กล่าวมานี้ทุก ๆ คน<O:p></O:p>
    ท้ายนี้อาจารย์เมตตาจิตมาช่วยทุกลมหายใจ <O:p></O:p>

    ลงชื่อ พระครูสันติวรญาณ <O:p></O:p>


    ปญฺญาวโรภิกขุ ผู้เขียนแทน


    เมตตาธรรม ฉบับที่ ๖
    วันที่ ๒๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๐๖ <O:p></O:p>
    การทำความเพียรเพื่อละกิเลสนั้น ไม่ใช่เรื่องทำเล่น ๆ กิเลสในใจของมนุษย์นั้น มีมาตั้งแต่ก่อนเกิด จนเดี๋ยวนี้กิเลสก็ยังมีอยู่ ถ้าไม่เพียรละให้หมดในชาตินี้ กิเลสนี้ก็จะพาเกิดพาตายในอนาคต ไม่มีที่สิ้นสุด ด้วยเหตุนี้พุทธบริษัททั้งสี่ ที่ยังมีลมหายใจเข้าออกอยู่ จงเพียรทำทานการกุศลจนวาระสุดท้าย หมดลมหายใจ จงเพียรพยายามรักษาศีล ๕ ศีล ๘ ศีล ๒๒๗ ตามศรัทธาของตน ๆ พร้อมทั้งขันติความอดทน ทุก ๆ คนไปจนตราบเท่า ยาวชีวํ ตลอดชีวิตด้วยจิตศรัทธาเลื่อมใสจริง ๆ ให้พากันทำความเพียร นั่งสมาธิ ยืนก็ให้เป็นสมาธิ เดินไปข้างหน้าก็ให้เป็นสมาธิ ถอยหลังก็ให้เป็นสมาธิ ยืนก็ให้เป็นสมาธิ ขึ้นรถก็ให้เป็นสมาธิ ไปรถไปเรือก็ให้เป็นสมาธิ ลงจากรถก็ให้เป็นสมาธิ ขึ้นจากเรือก็ให้เป็นสมาธิ ขึ้นเครื่องบินและขณะโดยสารอยู่ในเครื่องบินก็ให้เป็นสมาธิ ตลอดทั้งกลางวัน ตลอดทั้งกลางคืนก็ให้เป็นสมาธิขั้นสุดท้ายเวลาจะตายยิ่งให้เป็นสมาธิอย่างยอดเยี่ยม ถอดถอนอาสวะกิเลสออกให้หมดสิ้น ก็ดับขันธ์สู่นฤพานเลย เอวํ ก็มีด้วยประการฉะนี้ <O:p></O:p>

    อาจารย์ส่งอำนาจจิตมาช่วยพุทธบริษัททุก ๆ คน <O:p></O:p>


    พระครูสันติวรญาณ


    เมตตาธรรม ฉบับที่ ๗<O:p></O:p>
    วันที่ ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๐๖ <O:p></O:p>
    เวลาเขียนธรรมอยู่นี้ ซึ่งอยู่ในระยะกลางพรรษา ในพรรษานี้ให้พากันระลึกถึงพระโยคาวจรเจ้าทั้งหลาย ท่านพระโยคาวจรพยายามตั้งจิตในก่อนเข้าพรรษาว่า ในพรรษาที่ถึงนี้ จะทำความเพียรแผดเผากิเลสให้หมดไปสิ้นไปภายในเจ็ดวัน พระโยคาวจรเจ้าทั้งหลายก็ละกิเลสได้ตามชั้นตามภูมิในการปฏิบัติของตน ๆ บางท่านก็เป็นพระโสดา บางท่านก็เป็นพระสกิทาคา บางท่านก็เป็นพระอนาคา องค์สำคัญก็สำเร็จพระอรหันต์ ภายในเจ็ดวันนั้นเอง บางท่านที่ยังไม่สำเร็จก็ตั้งจิตอธิษฐานใหม่ต่อไปอีกเจ็ดวันบ้าง หน้านี้ ถ้ายังไม่สำเร็จก็ตั้งจิตว่าในครึ่งพรรษานี้จะให้สำเร็จ ถ้าหากยังไม่สำเร็จอีก ท่านก็ตั้งใจเด็ดเดี่ยวเต็มที่ว่า ไม่ให้เกินในคืนวันออกพรรษา วันมหาปวารณา เมื่อวันมหาปวารณาผ่านไปแล้ว พระโยคาวจรทั้งหลายที่จำพรรษาอยู่ในอาวาส พร้อมทั้งญาติโยมก็ได้สำเร็จมรรคผล เห็นแจ้งซึ่งพระนิพพานตามอุปนิสัยวาสนาของตน ๆ ฉะนั้นเราเหล่าพุทธบริษัททั้งหลาย ผู้ได้สดับรับฟังพระธรรมเทศนากัณฑ์นี้แล้ว จงให้พากันทำความเพียรละกิเลสให้หมดไปสิ้นไป ภายในพรรษานี้ ทุก ๆ ท่าน ทุก ๆ คน เท่าที่มีชีวิตอยู่นี้เทอญ <O:p></O:p>

    อาจารย์มีความเมตตาสงสารศิษย์และญาติโยมพร้อมหน้ากัน <O:p></O:p>



    พระครูสันติวรญาณ



    เมตตาธรรม ฉบับที่ ๘ <O:p></O:p>
    วันที่ ๒๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๐๖ <O:p></O:p>
    การละกิเลสเป็นของละง่าย การเอากิเลสเป็นของยาก คนทุกคนที่เกิดมา หาเอาแต่กิเลสมาเพิ่มใหม่เรื่อย ๆ เมื่อเราเกิดมามีกิเลสตัวเดียว ผู้เป็นชายก็ชายคนเดียว ไม่ได้กอดคอหญิงมา แต่เมื่อเกิดเป็นหญิง เป็นหญิงคนเดียวไม่ได้กอดคอชายแต่เมื่อเกิด ทั้งชายและหญิง เมื่อคลอดออกมาจากท้องแม่ ก็เปลือยกายออกมาทุกคน ในเวลานั้นยังไม่มีสมบัติใด ๆ เป็นของตัว เมื่อใหญ่แล้วจึงดิ้นรนวุ่นวาย หาเอาสมบัติในโลกนี้ จึงได้เกิดความยุ่งยากร้อยแปดพันประการอย่างนี้แหละ เราท่านทั้งหลาย อาจารย์เอง จึงแสดงธรรมว่าละกิเลสเป็นของง่าย ให้ดูตัวอย่างที่อ้างมาให้เห็น เมื่อพิจารณาเห็นแจ้งดังกล่าวสอนมานี้แล้ว จงพากันตื่นขึ้น ลุกขึ้นกราบพระ ๓ หน ไหว้พระสวดมนต์ เข้าที่นั่งสมาธิ ละกิเลสที่ย่องเข้ามาใหม่นี้ออกไปให้หมด ถ้ายังไม่หมดให้ลุกขึ้นยืนหยัดต่อสู่กับกิเลสให้หมดไป ในขณะที่ยืนอยู่นี้ ถ้ายังไม่หมด ให้ก้าวเท้าเดินจงกรมภาวนา ละความโกรธ ความโลภ ความหลง ให้หมดสิ้นไปในขณะนั้น ถ้ากิเลสยังไม่ตาย เราสู้เดินจงกรมภาวนาก็ให้ก้าวเดินต่อไป จนหมดลมหายใจ ล้มตายลง ๆ ตรงทางเดินจงกรมนั้นแหละ <O:p></O:p>

    โดยความเมตตาถึงทุกคน <O:p></O:p>



    พระครูสันติวรญาณ



    เมตตาธรรม ฉบับที่ ๙ <?:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:
    วันที่ ๒๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๐๖ <O:p></O:p>
    การภาวนาละกิเลสให้หมดไปจริง ๆ นั้นต้องปฏิบัติดังนี้ เมื่อกำหนดบริกรรม กำหนดลมหายใจ จนจิตตั้งมั่นดีแล้ว ต้องกำหนดรูปร่างกายของเราเอง นับตั้งแต่ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง ไปตลอดหมดในร่างกายนี้ ให้เห็นตามที่มันตั้งอยู่ มันเสื่อมไป ทรุดโทรมไป ทั้งเป็นเก้าเป็นสถานที่ไหลเข้าไหลออกซึ่งของไม่งาม คนที่เกิดมาแล้วมักจะหลง ไม่ค่อยกำหนดดูว่า ตัวเรานี้ เมื่อมาปฏิสนธิมาเกิดในท้องของแม่ต้องมาเอาก้อนอสุภะกรรมฐาน อยู่ให้ท้องแม่นานถึงสิบเดือน จึงได้คลอดออกมา ในวันที่คลอดนั้นปฏิกูลขนาดไหน ในบริเวณคลอดออกมาเต็มไปด้วยน้ำเลือดน้ำเหลือง กลิ่นเหม็น กลิ่นคาว นี้แหละรูปกายนี้เป็นของไม่งาม จงกำหนดให้เห็น ถ้ายังไม่เห็น ก็ให้พิจารณาจนถึงวันตาย สุดท้ายเมื่อได้ฟังธรรมกัณฑ์นี้แล้ว จงพากันกำหนดกายอันเป็นอุบายละกิเลสให้หมดไป <O:p></O:p>

    อาจารย์ส่งจิตมาช่วยเสมอ <O:p></O:p>



    พระครูสันติวรญาณ



    ขอขอบคุณ







     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Y7250167-48.jpg
      Y7250167-48.jpg
      ขนาดไฟล์:
      18.5 KB
      เปิดดู:
      1,120
  15. katicat

    katicat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2008
    โพสต์:
    1,112
    ค่าพลัง:
    +524
    ขอบคุณนะคะสำหรับภาพท่านครูบาอาจารย์ รวมทั้งข้อมูลดีๆทั้งนั้นเลยค่ะ
     
  16. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,782
    ค่าพลัง:
    +16,097
    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>ชาตินี้ ชาติหน้า <HR width="100%" color=#dddddd SIZE=1></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff>
    หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ







    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff>
    [​IMG]


    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>บัดนี้ วันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๑๐ สำหรับพวกเรา ได้ล่วงมาถึงเวลา ๕.๐๐ น.แล้ว เป็นเวลาที่เรา กำหนดกันไว้ว่า จะพูดจา เรื่องใดเรื่องหนึ่งกัน เป็นประจำวัน

    วันนี้จะได้กล่าวถึงเรื่อง ชาตินี้-ชาติหน้า, เนื่องจาก เรื่องนี้เป็น เรื่องสำคัญ แก่คนทุกคน ในฐานะที่เป็นปัญหา, และพวกธรรมฑูต ก็จำเป็น ที่จะต้องสอน เรื่องนี้ นอกจาก จะเป็นเรื่อง ที่จะถูกถามแล้ว ยังเป็นเรื่อง ที่จะถูกถามหรือไม่ถูกถาม ก็ต้องสอนให้รู้จัก, ให้เข้าใจ ในการปฏิบัติ เกี่ยวกับเรื่องนี้ ที่แล้วมา ได้สังเกตเห็นว่า ความเข้าใจผิด ในเรื่องนี้ มีอยู่มากทีเดียว, เมื่อเข้าใจผิด ก็ทำให้การปฏิบัติ เกี่ยวกับเรื่องนี้ พลอยผิดไปด้วย หรือไปสนใจ ในทาง หรือ ในแนวที่ผิดๆ.

    การที่จะสันนิษฐาน หรือ แม้แต่ตัดสินใจ ลงไปว่า เรื่องใดผิด เรื่องใดถูก นี้ก็มีปัญหา อยู่บางอย่าง, คือ ถ้าเป็นเรื่อง ที่ไม่อาจ จะเอามาแสดงกันได้ โดยเปิดเผย ชัดเจน, มันก็กลายเป็น เรื่องที่ขึ้นอยู่กับ เหตุผล, และมักจะเป็น เหตุผลของการพูดจา เสียมากกว่า เช่น โลกหน้า เป็นต้น ดังนั้น มันมีทางออก อีกทางหนึ่ง ที่จะวินิจฉัย หรือ ตัดสินเกี่ยวกับเรื่องนี้. คือว่า ความเห็น หรือ เหตุผลนั้น จะต้องฟังดูอีกทีหนึ่งว่า การกล่าว ลงไปเช่นนั้น มันมีประโยชน์ หรือ ไม่มีประโยชน์, ถ้ามันมีประโยชน์ ก็ต้องนับว่า เป็นการสันนิษฐาน หรือ ความเข้าใจที่ถูกต้อง, ถ้ามันเป็น ประโยชน์เต็มที่ ในเมื่อความเห็น อีกทางหนึ่ง ไม่มีประโยชน์ อะไรเลย อย่างนี้ ก็ต้องเอาอย่าง ที่เป็นประโยชน์เต็มที่ นี่แหละ เรื่องเกี่ยวกับ ชาติหน้า หรือ ชาติอื่น ที่เอามาให้ดูไม่ได้, เพราะไม่ใช่เรื่องวัตถุ จะต้องเป็นไป ในทำนองที่ว่า ความคิดเห็น หรือ หลักเกณฑ์อย่างไร เป็นประโยชน์ ความคิดเห็น หรือ หลักเกณฑ์อันนั้น ถูกต้อง

    การที่จะสอนเรื่อง โลกหน้า กันไปตามตัวหนังสือ, หรือ ตามความเข้าใจ ที่นำสืบๆ กันมา อย่างหลับหู หลับตานั้น อาจจะกลายเป็นผู้ทำผิด, หรือเป็นผู้โง่เขลา เกี่ยวกับเรื่องนี้เสียเอง. ดังนั้น เราในฐานะ ที่เป็น นักศึกษาธรรมฑูต จักไม่ตกหลุม ตกบ่อ ของตัวเอง, ของความโง่เขลา ของตัวเอง มากเหมือนอย่างนั้น, ยิ่งตั้งอยู่ในฐานะ ที่จะไปสอน เข้าด้วยแล้ว ก็จะต้องระวังให้ดี, หรือ ควรจะรับผิดชอบ ให้เต็มที่, ให้มันเป็นเรื่อง ที่มีประโยชน์ จึงจะเรียกว่า ถูกต้อง

    ที่นี้ เราจะได้พูดกัน ถึงเรื่องนี้ ชาตินี้ ชาติหน้า โลกนี้ หรือ โลกหน้า ต่อไป. ข้อนี้มันเกี่ยวกับ คำว่า "ชาติ" คือ ความเกิด เป็นส่วนใหญ่ สิ่งที่เรียกว่า ความเกิดนั้น มันต้องรู้กันด้วยว่า เป็นความเกิดของอะไร. เป็นความเกิดของเนื้อหนังร่างกาย, หรือว่าเป็นความเกิดของจิตใจ แน่นอนความเกิดนั้น ยังเป็นความเกิดของตัวเราหรือตัวกู แต่มันยัง มีเป็น ๒ อย่าง, คือเกิดทางร่างกาย, หรือ เกิดทางจิตใจ ตัวเราเกิดทางร่างกาย หรือ เกิดจากท้องแม่ เกิดทีเดียว ก็เสร็จไปตลอดชาติ, แต่ว่า การเกิดทางจิตใจนั้น เกิดได้เรื่อยไป, วันหนึ่งเกิดได้หลายๆหน หรือ หลายสิบหน ปัญหาจึงมีขึ้นเป็นชั้นแรกว่า ความเกิดชนิดไหน เป็นความเกิด ที่เป็นปัญหา สำหรับมนุษย์เรา ที่เราจะต้องรู้, ที่เราจะต้อง เอาชนะให้ได้, โดยมีหลักอยู่ว่า ความเกิดเป็นทุกข์, หรือ ความเกิดทุกที เป็นทุกข์ทุกที.

    ถ้าเกี่ยวกับความเกิดจากท้องแม่ มันก็เป็นเรื่องเสร็จสิ้นไปแล้ว, ไม่มีปัญหาอะไรเหลืออยู่, แต่ถ้าเป็นการเกิดทางจิตใจ มันยังจะเกิดอีกเรื่อยไป, คือ มันเป็นการเกิดทางจิตใจ มันยังจะเกิดอีกเรื่อยไป, คือมันยังจะต้องมีความทุกข์อีกเรื่อยไป, นี่เป็นการเกิดทางใจ ทางนามธรรม เป็นการเกิดของอุปาทานว่า ตัวเรา ว่า ของเรา. พระพุทธองค์ ก็ได้ตรัสว่า เบญจขันธ์ ที่ประกอบอยู่ด้วยอุปาทาน นั้นเป็นทุกข์ ด้วยเหตุนี้ เราพอจะจับหลักได้ว่า เบญจขันธ์มีอุปาทานว่า ตัวกู ของกู ขึ้นในขณะใด, ขณะนั้น เบญจขันธ์นั้น จะต้องมีความทุกข์ เพราะมีการ ยึดถือเบญจขันธ์ นั้นเอง ว่าเป็นตัวกูบ้าง ว่าเป็นของกูบ้าง ในขณะใด เบญจขันธ์ ปราศจากความรู้สึกว่า มีอุปาทาน ในขณะนั้นก็ไม่มีทุกข์

    เบญจขันธ์ ของพระอรหันต์ เรียกว่า เบญจขันธ์บริสุทธิ์, ปราศจากกิเลสอุปาทาน จึงไม่เป็นทุกข์ ตลอดเวลา ตลอดกาล, ส่วนเบญจขันธ์ของคนธรรมดา นั้น เดี๋ยวก็เกิดอุปาทาน เดี๋ยวก็เกิดอุปาทาน มีความรู้สึก ไปในทำนอง เป็นตัวกู ของกู เกิดอยู่บ่อยๆ จึงเป็นทุกข์บ่อยๆ พร้อมที่จะเกิด และจะเป็นทุกข์ และง่ายดายที่สุด ที่จะเกิด และเป็นทุกข์ มันแตกต่างกันอยู่อย่างนี้, นี้คือ การเกิด และเป็นการเกิด ของตัวกู หรือ ของกู ในฝ่ายนามธรรม หรือ ทางจิต, ดังนั้น สิ่งที่เรียกว่า ชาตินี้ หรือ ชาติหน้า ในทางฝ่ายร่างกาย และทางฝ่ายนามธรรม มันจึงต่างกันอย่างยิ่ง อีกเหมือนกัน, ชาติหน้า ฝ่ายร่างกาย หรือฝ่ายวัตถุนั้น มันต้องเข้าโลง ตายเข้าโลง เน่าไปแล้ว จึงจะมีชาติหน้า.

    ส่วนเรื่องชาติหน้า ของการเกิด ฝ่ายนามธรรม หรือ ฝ่ายจิตนั้น มีสลับกันอยู่ใน ชาตินี้ และกระทั่งในวันนี้ มีชาตินี้ ชาติหน้า สลับกันอยู่ จนกล่าวได้ว่า ในกรณีที่ มีความรู้สึกว่า ตัวกูของกู เกิดขึ้นครั้งหนึ่ง นั้น คือ ชาติหนึ่ง, พอกรณีนั้น สิ้นสุดไป ก็เรียกว่า ชาตินั้น สิ้นสุดไป พร้อมที่จะ มีชาติหน้าใหม่, คือจะมีกรณีที่ ทำให้เกิดตัวกู ของกู ต่อไปใหม่ นี้เรียกว่า ระหว่างชาตินี้ กับชาติหน้า, แม้ในภายในวันหนึ่ง ก็มีได้ตั้งหลายชาติ, ผลที่ทำไว้ ในชาติที่แล้วมา คือ ในกรณี ก่อนจะมามี ความทุกข์เกิดขึ้นในกรณีหลัง, อย่างนี้เป็นสิ่งที่แน่นอน, เห็นได้ชัดด้วยตา ด้วยใจ อย่างชัดแจ้ง เปิดเผย, เช่นตัวกู เกิดขึ้น กระทำอย่างโจร, เสร็จแล้วตัวกูก็เกิดขึ้น ในลักษณะที่กลัวความผิด, หรือร้อนใจ คือตัวกู กระทำความชั่ว ไว้ในกรณีหลัง ที่เกิดตัวกู รู้สึกในเรื่องนี้ขึ้นมา, แล้วก็ร้อนใจ และเป็นทุกข์ ดังนี้เป็นต้น. เรียกว่า ผลในชาติก่อน ให้ผลแล้ว ในชาติถัดมา, ดังนั้น ในวันหนึ่ง จึงมีการเกิดตัวกูของกู อย่างนี้ ได้หลายๆชาติ มีทั้งชาตินี้ มีทั้งชาติหน้า.

    ถ้าจะเรียกอีกอย่างหนึ่ง ก็เรียกว่า เป็นกรณีๆ ไปทีเดียว, กรณีหนึ่ง ก็คือ ชาติหนึ่ง, แต่คำว่า "กรณี กรณี" ในที่นี้ ต้องสมบูรณ์ จริงๆ, หรือ เป็นกรณีที่มี ความรู้สึกเป็นตัวกู ของกู เกิดขึ้นมา อย่างสมบูรณ์, เรียกว่า การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ การดับไป โดยสมบูรณ์ ในกรณีของการที่อุปาทาน ได้เกิดขึ้น, การเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไปของจิต ในขณะจิต ตามธรรมดานั้น ไม่เกี่ยวกับเรื่องนี้ และไม่มีความหมายอะไร, การเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไปของอุปาทาน เนื่องด้วยตัวเรา เนื่องด้วยของเรานี้ มีความหมายเต็มที่ และปัญหาอยู่ที่นี่ ดังนั้น จึงต้องจัดการ เกี่ยวกับเรื่องนี้ ให้ดีๆ ให้เห็นว่า มันอยู่ใกล้ที่นี่ และเดี๋ยวนี้ เราจึงจะกำจัด ความทุกข์ที่เกิดขึ้น เกี่ยวกับเรื่องนี้ได้.

    คนโง่ ย่อมคิดไกลเกินไป จนไม่มีประโยชน์ "คนโง่ก็ไปคิดเอา สิบเบี้ยไกลมือ, คนฉลาดก็ไปคิดเอา หนึ่งเบี้ย สองเบี้ย ใกล้มือ" นี้เป็นคำพูดพื้นบ้าน, ซึ่งดูเหมือนจะมีอยู่ทั่วไป ว่า คนโง่คิดไกลอย่างนี้ เพราะฉะนั้น ชาติหน้าของคนโง่ จะต้องอยู่ไกล หลังจากตายไปแล้ว อยู่เสมอ แต่ชาติหน้า ของคนฉลาด ต้องอยู่ที่นี่ และเดี๋ยวนี้ ติดต่อกันไปทีเดียว จึงสามารถ ป้องกันมันได้ คนโง่จะเอาเรื่องเหตุ ไว้ที่ชาติอื่น, เอาผลไว้ที่ชาติอื่น, แล้วมันจะทำกัน ได้อย่างไร, เช่นว่าเดี๋ยวนี้ เราจะมีความทุกข์ เราต้องการ จะตัดต้นเหตุ ของความทุกข์, แล้วเราเอาเหตุ ของความทุกข์ ไปไว้ที่ชาติอื่น คือ ชาติที่แล้วมา อย่างนี้ มันจะตัดต้นเหตุ ของความทุกข์ ได้อย่างไร นี่พูดถึง ชาติ ของร่างกาย

    มันต้องอยู่ในชาติ ทางร่างกายเดียวกันนี้, ทั้งเหตุและผล เราจึงจะสามารถ ตัดต้นเหตุ แห่งความทุกข์นั้นได้ และได้รับผล เป็นความไม่ทุกข์ได้ สิ่งต่างๆ ต้องอยู่ในวิสัย ที่เราจะเกี่ยวข้องได้ จัดการได้ มันจึงจะเป็นประโยชน์, ถ้าเอาไปไว้กันเสีย คนละชาติแล้ว มันแทบจะ ไม่มีประโยชน์อะไร และในบางกรณี มันทำไม่ได้ เหมือนกับที่ เราจะดับทุกข์ ของชาตินี้ แต่เหตุของมัน อยู่ที่ ชาติก่อนโน้นแล้ว จะไปดับได้อย่างไร.




    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ที่มา : หนังสือ ดอกโมกข์ รายตรีมาส ปีที่ ๑

    ขอขอบคุณ

    http://www.dhammathai.org/store/talk/view.php?No=188




    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  17. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    910
    ค่าพลัง:
    +4,284
    หัวใจเศรษฐี

    อุ อา กะ สะ หัวใจเศรษฐี

    พระพุทธเจ้าทรงเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่มนุษยชาติตลอดสี่สิบห้าปี เพื่อมุ่งหมายให้เกิดประโยชน์สูง 3 ประการ คือ

    o ประโยชน์สุขสามัญที่สามารถมองเห็นได้ในปัจจุบันที่บุคคลทั่วไปปรารถนามีทรัพย์สมบัติ เกียรติยศชื่อเสียง อันประกอบด้วยลาภ ยศ สุข สรรเสริญ

    o ประโยชน์ชั้นสูงขึ้นไป อันได้แก่ความมีจิตใจเจริญงอกงามด้วยคุณธรรมความดีทำให้ชีวิตมีค่าและเป็นหลักประกันในชาติหน้า

    o ประโยชน์อย่างยิ่ง คือ พระนิพพาน อันได้แก่ สภาพที่ดับกิเลสความโลภ ความโกรธและความหลง อันเป็นเป้าหมายสูงสุดในทางพระพุทธศาสนา



    หัวใจเศรษฐี อุ อา กะ สะ โดยจะต้องประพฤติดีปฏิบัติชอบ ดังต่อไปนี้

    1. อุ ย่อมาจากคำว่า อุฏฐานสัมปทา แปลว่า ให้ถึงพร้อมด้วยความขยันหมั่นเพียรในการแสวงหาความรู้ หนักเอาเบาสู้ในหน้าที่การงานที่ได้รับมอบหมาย กิจการทั้งหลายต้องรู้จักรับผิดชอบ โบราณกล่าวว่า ทรัพย์นี้มิไกล ใครปัญญาไว หาได้บ่นาน ทั่วแคว้นแดนดินมีสิ้นทุกสถาน ผู้ใดเกียจคร้าน บ่พานพบนา ซึ่งหมายถึง ทรัพย์สินเงินทองมีอยู่ทุกหนแห่ง ขออย่างเดียวอย่าเกียจคร้านให้ลงมือทำงานทุกชนิดอย่างจริงจังตั้งใจ งาน คือ ชีวิต ชีวิต คือ งานบันดาลสุข ทำงานให้สนุก เป็นสุขเมื่อทำงาน มิใช่รอความสุขจากความสำเร็จของงานอย่างเดียวขาดทุนและขอให้ถือคติว่า ขี้เกียจเป็นแมลงวัน ขยันเป็นแมลงผึ้ง ขี้หึ้งเป็นแมลงป่อง จองหองเป็นกิ่งก่า


    2. อา ย่อมาจากคำว่า อารักขสัมปทา แปลว่า ให้ถึงพร้อมด้วยการรักษาคุ้มครองทรัพย์สินเงินทองที่หามาได้ด้วยความ ขยันหมั่นเพียร ไม่ให้เงินทองรั่วไหลมีอันตราย ระมัดระวังการจับจ่ายใช้สอยมิให้เปลืองเงินทองโดยใช่เหตุ ตลอดจนรักษาหน้าที่การงานของตัวเองไม่ให้เสื่อมเสีย ขอให้ยึดหลักการเก็บเล็กผสมน้อยหรือการเก็บหอมรอมริบ ซึ่งล้วนเป็นขบวนการเก็บรักษาทรัพย์สินเงินทองที่ได้ผลเป็นอย่างยิ่ง เพราะนี้คือแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ที่เลี้ยงตัวเองได้อย่างสุขกายสบายใจไม่ต้องอยู่ร้อนนอนทุกข์สนุกอยู่กับคำว่า พอ เงินทองมีเกินใช้ ได้เกินเสียไม่ละเหี่ยจิตใจและขอให้ถือคติว่า ความไม่พอใจจนเป็นคนเข็ญ พอแล้วเป็นเศรษฐีมหาศาล จนทั้งนอกทั้งในไม่ได้การ จงคิดอ่านแก้จนเป็นคนพอ


    3. กะ ย่อมาจากคำว่า กัลยาณมิตตตา แปลว่า การมีเพื่อนเป็นคนดี ไม่คบคนชั่ว เพราะคบคนพาล พาลพาไปหาผิด คบบัณฑิต บัณฑิตพาไปหาผล คบคนจึงต้องดูหน้าว่าเพื่อนเป็นคนดีที่มีลักษณะไม่เป็นคนปอกลอก ไม่ดีแต่พูด ไม่หัวประจบและไม่เป็นคนชักชวน ไปในทางฉิบหาย มีการดื่มน้ำเมา เที่ยวกลางคืน มั่วเมาในการเล่นและผีการพนันเข้าสิงจิตใจ และขอให้ถือคติว่า มีเพื่อนดีมีหนึ่งถึงจะน้อย ดีกว่าร้อยเพื่อนคิดริษยา เหมือนมีเกลือนิดหน่อยด้อยราคา ดีกว่าน้ำเค็มเต็มทะเล


    4. สะ ย่อมาจากคำว่า สมชีวิตา แปลว่า การเลี้ยงชีวิตตามสมควรแก่กำลังทรัพย์ที่หามาได้ รู้จักกำหนดรายรับและรายจ่าย อย่าให้สุรุ่ยสุร่ายฟุ่มเฟือยหรืออัตคัดขัดสนจนเกินไปให้รู้จักออมเงิน ออมเงินเอาไว้ ฉุกเฉินเมื่อไร จะได้ใช้เงินออม และขอให้ถือคติว่า

    มีสลึงพึงบรรจบให้ครบบาท อย่าให้ขาดสิ่งของต้องประสงค์ แม้มีน้อยใช้น้อยค่อยบรรจง อย่าจ่ายลงให้มากจะยากนาน




    ขอขอบพระคุณข้อมูลจาก
    http://www.phuttawong.net
     
  18. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    910
    ค่าพลัง:
    +4,284
    "ชาติปิทุกขา"
    การเกิดเป็นทุกข์อย่างยิ่ง

    "ชาติปิทุกขา" ที่พระพุทธองค์ทรงตรัสเทศนาถึงกองทุกข์ต่างๆ ดังที่ปรากฏอยู่ในหนังสือ คัมภีร์
     
  19. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    910
    ค่าพลัง:
    +4,284
    8 รอบ 96 พรรษา
    หลวงปู่ครูบาเจ้าเกษม เขมโก

    หาก หลวงปู่ครูบาเจ้าเกษม เขมโก สุสานไตรลักษณ์ ลำปาง ยังทรงสังขารถึงวันนี้ ท่านก็จะมีอายุครบ 8 รอบ 96 พรรษาบริบูรณ์แท้ทีเดียว........... <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#ffffff cellSpacing=1 cellPadding=5 width=250 align=center bgColor=#f4f4f4 border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff><!-- [​IMG] -->[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    หลวงพ่อเกษม เขมโก
    "ท่านเขมโกภิกษุ หลวงปู่เกษม หรือหลวงพ่อเกษม เขมโก ที่เราท่านเคารพบูชา และรำลึกภาวนาขอ บารมีจากท่านช่วยคุ้มครอง ปกป้องจากอันตรายยามเมื่อเกิดความทุกข์ไม่ว่าจะอยู่ที่ใด เพราะบารมี หลวงพ่อที่เพียรเจริญวิปัสสนากรรมฐานด้วยความมานะบากบั่นยากที่จะมีผู้ปฏิบัติได้เสมือนนั้น สร้าง ศรัทธาและความเชื่อมั่นสูงยิ่งนัก" หลวงพ่อเกษมท่านเจริญวิปัสสนาด้วยถือสันโดษเป็นที่ตั้ง ใช้อำนาจจิต ควบคุมร่างกายเข้าสู่สมาธิภาวนา เบื้องหน้าเชิงตะกอน ท่านไม่ติดรสอาหารเมื่อมีผู้นำมาถวาย แม้อาหาร จะเสียจนราขึ้น ถ้าหลวงพ่อท่านยังมิได้แผ่เมตตาท่านก็จะรับประเคนบาตรแล้วแผ่เมตตาให้ หลวงพ่อ เป็นผู้มีศีลอันบริสุทธิ์ และเมตตาธรรมสูงส่ง ท่านหมดสิ้นแล้วกิเลสและเปี่ยมล้นด้วยบารมี ทุกวันนี้ หลวงพ่อยังเป็นดุจร่มโพธิ์ร่มไทรที่ให้ความร่มเย็นแก่พวกเราทุกคน
    ครูบาเจ้าเกษม เขมโก
    สำนักสุสานไตรลักษณ์ ลำปาง
    โดย ดาวลำปาง

    ณ ดินแดนถิ่นล้านนา ทางภาคเหนือของประเทศไทย พระอริยะสงฆ์ที่พวกเราทุกคนรู้จักชื่อเสียงคุณงามความดีของท่าน ก็คือ ครูบาศรีวิชัย อริยะสงฆ์องค์แรกของภาคเหนือท่านเปรียบเสมือนประทีปดวงใหญ่ที่ส่องประกายธรรมไปทั่วทุกสารทิศ ขณะที่ท่านยังมีชีวิตอยู่ ท่านได้ประกอบคุณงามความดีไว้กับแผ่นดินนี้มากมาย ท่านจึงถูกจัดให้เป็นบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ของชาวเหนือ
    ประวัติและเรื่องราวต่าง ๆ ของท่าน จึงถูกบันทึกเพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้รับรู้ถึงในยุคปัจจุบัน ประวัติบางตอน ของครูบาศรีวิชัยตอนหนึ่ง กล่าวว่าท่านครูบาศรีวิชัยได้พยากรณ์ไว้ว่าจะมีตนบุญมาเกิดที่ลำปาง ครั้นต่อมาครูบาศรีวิชัยได้มรณภาพไปโดยทิ้งคำพยากรณ์นี้ไว้ให้ชาวลำปางได้เฝ้ารอคอยการมาจุติของตนบุญ ที่ครูบาศรีวิชัยได้พยากรณ์ไว้ จนเวลาล่วงเลยไปหลายสิบปี ก็ยังไม่ปรากฏ แต่ชาวลำปางก็ยังเชื่อในคำพยากรณ์ของครูบาศรีวิชัย
    เมื่อปี พ.ศ.2455 ได้มีครอบครัวเชื้อเจ้าผู้ครองนครลำปางหรือเขลางค์นครในอดีตหัวหน้าครอบครัวคือ เจ้าหนูน้อย ณ ลำปาง ภายหลังเปลี่ยนนามสกุลใหม่เป็น มณีอรุณ รับราชการเป็นปลัดอำเภอภรรยาชื่อเจ้าแม่บัวจ้อน ณ ลำปาง ทั้งสอง เป็นหลานเจ้าของพ่อบุญวาทย์ วงศ์มานิตย์ เจ้าผู้ครองนครลำปางองค์สุดท้าย
    ครอบครัวนี้ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านท่าเก๊าม่วง ริมแม่น้ำวัง อ.เมือง จ.ลำปาง อยู่กินกันมาอย่างมีความสุข ในที่สุด เจ้าแม่บัวจ้อนได้ตั้งครรภ์ และพอถึงกำหนดคลอดตรงกับวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ.2455 ตรงกับวันพุทธ เดือนยี่ (เหนือ) ปีชวด ร.ศ.131 ค.ศ.1912 เจ้าแม่บัวจ้อน ให้กำเนิดทารกเพศชาย เป็นลูกคนแรกของครอบครัว
    ขณะนั้นไม่มีใครทราบกันเลย ตนบุญ ที่ครูบาศรีวิชัยได้พยากรณ์ไว้นั้นได้ถือกำเนิดขึ้นแล้ว บิดามารดาก็ได้ตั้งชื่อทารกนั้น เกษม ณ ลำปาง เพราะเด็กชายเกษม ณ ลำปาง ได้เกิดมาในเชื้อสายของเจ้าทางเหนือ จึงได้รับการยกย่องของคนทั่วไป ทุกคนต่างเรียกกันว่า เจ้าเกษม ณ ลำปาง หลังจากที่ได้คลอดบุตรมาได้ไม่กี่ปี เจ้าแม่บัวจ้อนได้ให้กำเนิดทารกอีกคน แต่เป็นเพศหญิง ซึ่งมีศักดิ์เป็นน้องของ เจ้าเกษม สืบสายเลือด แต่ทว่าเจ้าแม่น้อยคนนี้วาสนาน้อย ได้เสียชีวิตตั้งแต่ยังเด็ก จึงไม่มีโอกาสได้รู้ว่าพี่ชายของเธอคือ ตนบุญ ที่ชาวลำปางรอคอยเป็นสิบ ๆ ปี
    เมื่อวัยเด็ก เจ้าเกษม ณ ลำปาง เป็นคนมีลักษณะค่อนข้างเล็กบอบบาง ผิวขาวแต่ดูเข้มแข็ง คล่องแคล่ว และมีสติปัญญาเฉลียวฉลาด เป็นเด็กที่ชอบซน คืออยากรู้อยากเห็น เมื่อถึงวัยเรียน เจ้าเกษม ณ ลำปาง ได้รับการศึกษาระดับประถมที่โรงเรียนบุญทวงศ์อนุกูล ซึ่งเป็นโรงเรียนประจำ อ.เมือง จ.ลำปาง สมัยนั้นเปิดเรียนชั้นสูงสุดแค่ชั้นประถมปีที่ 5 เท่านั้น เจ้าเกษม ณ ลำปาง ได้ศึกษาจนจบชั้นสูงของโรงเรียน คือชั้นประถมปีที่ 5 ใน พ.ศ.2466 ขณะนั้นอายุ 11 ปี
    เมื่อออกจากโรงเรียนก็ไม่ได้เรียน อยู่บ้าน 2 ปี ใน พ.ศ.2468 อายุขณะนั้นได้ 13 ปี เจ้าเกษม ณ ลำปาง ก็ได้มีโอกาสเข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร์ โดยบรรพชาเป็นสามเณร เนื่องในโอกาสบรรพชาหน้าศพ (บวชหน้าไฟ) ของเจ้าอาวาสวัดป่าดั๊ว ครั้นบวชได้เพียง 7 วันก็ลาสิกขาออกไป ต่อมาอีก 2 ปี ราว พ.ศ.2470 ขณะนั้นมีอายุ 15 ปี เจ้าเกษม ณ ลำปาง ก็ได้มีโอกาสเข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร์อีกครั้งหนึ่ง โดยบรรพชาเป็นสามเณรอยู่ที่วัดบุญยืน จ.ลำปาง เมื่อบรรพชาแล้วสามเณรเจ้าเกษม ณ ลำปาง ก็ได้จำพรรษาศึกษาพระธรรมวินัยที่วัดบุญยืนนั่นเอง สามเณรเจ้าเกษม ณ ลำปาง เป็นคนที่ทำอะไรจริงจัง เรียนทางด้านปริยัติศึกษาธรรมะจนถึง ปี พ.ศ.2474 สามเณรเจ้าเกษม ก็สามารถสอบนักธรรมชั้นโทได้ ครั้นมีอายุได้ 21 ปี อายุครบที่จะอุปสมบทเป็นพระภิกษุได้แล้ว จึงได้เข้าพิธีอุปสมบทเป็นพระภิกษุในปี พ.ศ.2475 ณ พัทธสีมา วัดบุญยืน โดยมีพระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณพระธรรมจินดานายก (ฝ่าย) เจ้าอากาสวัดบุญวาทย์วิหาร ซึ่งดำรงตำแหน่งเจ้าคณะอำเภอในขณะนั้นเป็นพระอุปัชฌาย์ พระคุณเจ้าท่านพระครูอุตตร วงศ์ธาดา หรือที่ชาวบ้านเหนือรู้จักกันในนาม ครูบาปัญญาลิ้นทอง เจ้าอาวาสวัดหมื่นเทศ และดำรงตำแหน่งเจ้าคณะอำเภอเมือง จังหวัดลำปางในขณะนั้น เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และยังพระเดชพระคุณท่านพระธรรมจินดานายก(อุ่นเรือน) เจ้าอาวาสวัดป่าดั๊วเป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า เขมโก แปลว่า ผู้มีธรรมอันเกษม
    หลังจากได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุแล้ว พระภิกษุเกษม เขมโกก็ได้ศึกษาทางด้านภาษาบาลี ซึ่งเป็นการศึกษาปริยัติอีกแขนงหนึ่ง ที่สำนักวัดศรีล้อม สมัยนั้นก็มีอาจารย์หลายรูป เช่น มหาตาคำ พระมหามงคลเป็นครูผู้สอน และยังได้ไปศึกษาที่สำนักวัดบุญวาทย์วิหาร ซึ่งมีพระมหามั่ว พรหมวงศ์ และพระมหาโกวิทย์ โกวิทญาโน เป็นครูสอน
    ในเวลาเดียวกันนั้น พระภิกษุเจ้าเกษม เขมโก ก็ได้ไปศึกษาทางด้านปริยัติในแผนกนักธรรมต่อที่สำนักวัดเชียงราย ครูผู้สอนคือ พระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณพระเทพวิสุทธิโสภณ เจ้าคณะจังหวัดลำปางสมัยนั้น ปรากฎว่าพระภิกษุเจ้เกษม เขมโก ก็สามารถสอบนักธรรมชั้นเอกได้ในปี พ.ศ.2479 ส่วนทางด้านการศึกษาบาลีนั้น ท่านเรียนรู้จนสามารถเขียนและแปลได้เป็น (มคธ) เป็นอย่างดี แต่ก็ไม่ยอมสอบเอาวุฒิ จนครูบาอาจารย์ทุกองค์ต่างเข้าใจว่า พระภิกษุเกษม เขมโก ไม่ต้องการมีสมณศักดิ์สูง ๆ เรียนเพื่อจะนำเอาวิชาความรู้มาใช้ในการศึกษาค้นคว้าพระธรรมคำสอนของพระบรมศาสดาเท่านั้น
    เมื่อสำเร็จทางด้านปริยัติพอควรแล้ว สามารถนำไปปฏิบัติได้โดยไม่หลงทาง ท่านจึงหันมาปฏิบัติต่อไปจนแตกฉาน แค่นั้นยังไม่พอ พระภิกษุเกษม เขมโก ได้เสาะแสวงหาครูบาอาจารย์ที่มีความรู้และมีความเชี่ยวชาญในด้านนี้ จนกระทั่งได้ทราบข่าวภิกษุรูปหนึ่งมีชื่อเสียงในด้านวิปัสสนา ภิกษุรูปนี้ คือครูบาแก่น สุมโน อดีตเจ้าอาวาสวัดประตูป่อง
    ครูบาแก่น สุมโน เป็นพระภิกษุสายวิปัสสนา ถือธุดงค์เป็นวัตร หรือที่เรียกกันว่า พระป่า หรือภาษาทางการเรียกว่า พระภิกษุฝ่ายอรัญญวาสี ตอนนั้นครูบาแก่นท่านได้ธุดงค์แสวงหาความวิเวกทั่วไป ยึดถือป่าเป็นที่บำเพ็ญเพียร นอกจากมีชื่อเสียงในด้านวิปัสสนาแล้ว ท่านยังเก่งรอบรู้ในด้านพระธรรมวินัยอย่างแตกฉานอีกด้วย
    พระภิกษุเกษม เขมโก จึงเดินทางไปขอฝากตัวเป็นศิษย์และได้อธิบายความต้องการที่จะศึกษาในด้านวิปัสสนาให้ครูบาแก่นฟัง ครูบาแก่น สุมโน เห็นความตั้งใจจริงของภิกษุเกษม เขมโก ท่านจึงรับไว้เป็นศิษย์ และได้นำภิกษุเกษม เขมโก ออกท่องธุดงค์ไปแสวงหาความวิเวกและบำเพ็ญเพียรตามป่าลึกตามที่ภิกษุเกษม เขมโก ต้องการ จึงถือได้ว่า ครูบาแก่น สุมโน รูปนี้เป็นอาจารย์ทางวิปัสสนากรรมฐานรูปแรกของ พระภิกษุเจ้าเกษม เขมโก
    ดั้งนั้น พระภิกษุเกษม เขมโก จึงได้เริ่มก้าวไปสัมผัสชีวิตของภิกษุฝ่ายอรัญญวาสี ประกอบกับจิตของท่าน โน้มเอียงมาทางสายนี้อยู่แล้ว จึงไม่ใช่เป็นเรื่องลำบากสำหรับในการไปธุดงค์ กลับเป็นการได้พบความสงบสุขโดยแท้จริง กับความเงียบสงบซ้ำยังได้ดื่มด่ำกับรสพระธรรมอันบังเกิดท่ามกลางความวิเวก พระภิกษุเกษม เขมโก จึงมุ่งมั่นปฏิบัติธรรมอย่างจริงจัง โดยมีครูบาแก่นแนะอุบายธรรมอย่างใกล้ชิด ระหว่างท่องธุดงค์แสวงหาความวิเวกในที่สงัดตามป่าเขาและป่าช้าต่าง ๆ การฉันอาหารในบาตร คือ อาหารหวานคาวรวมกัน เรียกว่า ฉันเอกา ไม่รวมอาสนะกับสงฆ์อื่น ฉันมื้อเดียว ช่วงบ่ายก็จะเดินจงกรม เพื่อเปลี่ยนอิริยาบถ พร้อมกำหนดจิตจนกระทั่งถึงเย็น เมื่อเสร็จจากการเดินจงกรม ก็กลับมานั่งบำเพ็ญภาวนาต่อไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งถึงประมาณ 5 ทุ่ม เสร็จจากการบำเพ็ญภาวนาก็สวดมนต์ทำวัตรเย็น ในตอนดึกก่อนจำวัดท่านก็ไม่นอนเหมือนคนธรรมดาทั่วไป ท่านจะหมอบเท่านั้น และท่านจะทำเป็นกิจวัตร คือการกรวดน้ำอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลแผ่เมตตาไปให้กับสรรพสัตว์ทั้งหลาย
    จนกระทั่งถึงช่วงเข้าพรรษาที่พระภิกษุจำเป็นต้องยุติการท่องธุดงค์ชั่วคราว ต้องอยู่กับที่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง จะเป็นวัดอาราม หรือถือเอาป่าช้าเป็นวัด โดยกำหนดเขตเอาตามพุทธบัญญัติ ดังนั้นภิกษุเจ้าเกษม เขมโก จึงต้องแยกทางกับอาจารย์คือครูบาแก่น ตั้งแต่นั้นมาภิกษุเจ้าเกษม เขมโก กลับมาจำพรรษาที่วัดบุญยืนตามเดิม พอครบกำหนดออกพรรษาภิกษุเกษม เขมโก ก็ติดตามอาจารย์ของท่าน คือครูบาแก่นออกธุดงค์บำเพ็ญภาวนา ท่านถือปฏิบัติเช่นนี้เรื่อยมา
    ต่อมาเจ้าอธิการคำเหมย เจ้าอาวาสวัดบุญยืนถึงแก่มรณภาพลง ทำให้ตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบุญยืนว่าง ทางคณะสงฆ์จึงต้องเลือกภิกษุที่มีคุณสมบัติมาปกครองดูแลวัด เพื่อเป็นเจ้าอาวาสสืบต่อไป คณะสงฆ์จึงได้ประชุมกัน และต่างลงความเห็นพ้องต้องกันว่าควรจะเป็นภิกษุเกษม เขมโก เพราะเป็นพระที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับตำแหน่งเจ้าอาวาสองค์ เมื่อท่านได้รับเลือกเป็นเจ้าอาวาสวัดบุญยืน ท่าก็ไม่ยินดียินร้ายแต่ท่านก็ห่วงทางวัด เพราะท่านเคยจำวัดนี้ ท่านก็เห็นว่า บัดนี้ทางวัดบุญยืนมีภารกิจต้องดูแล ก็ถือว่าเป็นภารกิจทางศาสนาเพราะท่านเองต้องการให้พระศาสนานี้ดำรงอยู่ จึงไม่อาจจะดูดายภารกิจนี้ได้ จึงยอมรับตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบุญยืน
    ครูบาเจ้าเกษม เขมโก อยู่ในตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบุญยืนเรื่อยมาจนถึงปี พ.ศ.2492 ท่านก็ตัดสินใจลาออกจากตำแหน่งเจ้าอาวาส ทำหนังสือลาออกกับพระเดชพระคุณท่านเจ้าพระอินทรวิชาจารย์ (ท่านเจ้าคุณอิน อดีตเจ้าคณะจังหวัดลำปาง) แต่ก็ถูกท่านเจ้าคุณยับยั้งไว้ ครูบาเจ้าเกษม เขมโก จึงจำใจกลับไปเป็นเจ้าอาวาสวัดบุญยืนอีกระยะหนึ่งนานถึง 6 ปี ท่านคิดว่าควรจะหาภิกษุที่มีคุณสมบัติมาแทนท่าน เพราะท่านอยากจะออกธุดงค์ ดังนั้นท่านจึงตัดสินใจสละตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบุญยืน โดยยื่นใบลากับคณะสงฆ์ในเขตปกครอง ก็ไม่เป็นผลสำเร็จ จึงเดินทางไปลาออกกับเจ้าคณะจังหวัด ซึ่งอยู่ที่วัดเชียงราย แต่ท่านเจ้าคณะจังหวัดก็ไม่อนุญาต
    เรื่องการลาออกจากการเป็นเจ้าอาวาสของครูบาเจ้าเกษม เขมโก นี้ดูค่อนข้างจะเป็นเรื่องแปลกพิศดาร แม้แต่การสละตำแหน่งลาภยศท่านยังต้องประสบกับอุปสรรคต่าง ๆ นานา ไม่เหมือนกับพระองค์อื่น ๆ ที่ฟันฝ่าเพื่อแสวงหาลาภยศ เมื่อท่านลาออกไม่สำเร็จประมาณปี พ.ศ.2492 ก่อนเข้าพรรษาในปีนั้น หลวงพ่อก็หนีออกจากวัดบุญยืนก่อนเข้าพรรษา เพียงวันเดียวโดยไม่มีใครรู้ พอเช้าวันรุ่งขึ้นเข้าพรรษา หมู่ศรัทธาก็นำอาหารมาเตรียมถวายในวิหาร ทุกคนรอแล้วรอเล่าก็ไม่เห็นหลวงพ่อเกษม จึงเกิดความวุ่นวายเที่ยวตามหาตามกุฏิก็ไม่พบหลวงพ่อเกษม พอมาที่ศาลาทุกคนเห็นกระดาษวางบนธรรมาสน์เป็นข้อความที่หลวงพ่อเกษมเขียน ลาศรัทธาชาวบ้านยาวถึง 2 หน้ากระดาษ
    ข้อความบางตอนที่จำได้มีอยู่ว่า ทุกอย่างเราสอนดีแล้ว อย่าได้คิดไปตามเรา เพราะเราสละแล้วการเป็นเจ้าอาวาส เปรียบเหมือนหัวหน้าครอบครัว ต้องรับผิดชอบภาระหลายอย่าง ไม่เหมาะสมกับเรา เราต้องการความวิเวกจะไม่ขอกลับมาอีก แต่พวกชาวบ้านก็ไม่ละความพยายาม เพราะชาวบ้านเหล่านี้ศรัทธาในตัวหลวงพ่อพอ รู้ว่าหลวงพ่ออยู่ที่ไหนเมื่อรวมกันได้ 40-50 คน ก็ออกเดินทางไปตามหาหลวงพ่อเกษม และไปพบหลวงพ่อที่ศาลาวังทาน หลวงพ่อเกษมได้ปฏิบัติธรรมที่นั่น พวกชาวบ้านได้อ้อนวอนหลวงพ่อ ขอให้กลับวัด บางคนร้องไห้เพราะศรัทธาในตัวหลวงพ่อมาก แต่หลวงพ่อเกษมท่านก็นิ่งไม่พูดไม่ตอบ จนพวกชาวบ้านต้องยอมแพ้ ตลอดพรรษาปี 2492 หลวงพ่อเกษมท่านก็อยู่ที่ศาลาวังทานโดยไม่ยอมกลับวัดบุญยืน
    พวกชาวบ้านจึงพากันเข้าไปพบโยมแม่ของหลวงพ่อโยมแม่รักหลวงพ่อเกษมมาก เพราะท่านมีลูกชายคนเดียว จึงให้คนพาไปหาหลวงพ่อที่ศาลาวังทาน โดยมี (เจ้าประเวทย์ ณ ลำปาง) ตอนนั้นยังบวชเป็นสามเณรอยู่ โยมแม่ได้ขอร้องให้หลวงพ่อเกษมกลับวัด แต่หลวงพ่อกลับบอกโยมแม่ว่า
    แม่เฮาบ่เอาแล้วเฮาบ่เหมาะสมกับวัด เฮาชอบความวิเวก เฮาขออยู่อย่างวิเวกต่อไป เฮาจะไปอยู่ที่ป่าเหี้ยว แม่อาง จนทำให้โยมแม่หมดปัญญา ไม่รู้จะขอร้องยังไง ผลที่สุดก็ต้องตามใจหลวงพ่อ วันรุ่งขึ้น หลวงพ่อเกษมก็ออกจากศาลาวังทาน เดินทางไปบ้านแม่อางด้วยเท้าเปล่า เช้ามืดไปถึงป่าเหี้ยวแม่อางก็ค่ำพอดี ฝ่ายโยมมารดาพอกลับมาบ้านก็เกิดคิดถึงพระลูกชาย เพราะเกรงว่าพระลูกชายจะลำบาก จึงออกจากบ้านไปตามหาพระลูกชาย โดยมีคนติดตามไปด้วยชื่อ โกเกตุ โยมแม่สั่งให้โกเกตุ ขนของสัมภาระเพื่อจะไปอยู่บนดอย ของที่เหลือในร้านเพชรพลอยแจกให้ชาวบ้านจนหมดเกลี้ยง ไม่เอาอะไรเลย นอกจากของใช้ที่จำเป็นบางอย่างเท่านั้น
    เกตุ พงษ์พันธุ์ ซึ่งเป็นญาติใกล้ชิดก็พาโยมแม่ไปส่งที่แม่อาง และพวกชาวบ้านเห็นโยมแม่ของหลวงพ่อมา ก็สร้างตูบกระท่อมอยู่ข้างวัดแม่อาง ส่วนหลวงพ่อเข้าบำเพ็ญภาวนาในป่าช้าบนดอยแม่อาง บำเพ็ญภาวนาบารมีวิปัสสนาปฏิบัติธรรมได้หนึ่งพรรษา ทิ้งให้โยมแม่ซึ่งอยู่กระท่อมตีนดอยก็คิดถึงพระลูกชาย โดยแม่ก็ตามไปหาที่ป่าช้าข้างเนินดอย ก็มีชาวบ้านแถวนั้นอาสาสร้างตูบกระท่อมให้โยมแม่พักใกล้ ๆ ที่หลวงพ่อปฏิบัติธรรม โดยโยมแม่บัวจ้อนได้พำนักที่ข้างเนินดอยได้พักหนึ่งก็ล้มป่วยลงด้วยโรคไข้ป่า ชาวบ้านก็ไปตามหมอทหารมาฉีดยารักษาให้ แต่โยมแม่ท่านมีสติที่เข้มแข็ง และยังได้สั่งเสียเณรเวทย์ว่ามีเงินซาวเอ็ดบาท ให้เก็บไว้ถ้าโยมแม่ตายให้เณรไปบอกลุงมา เมื่อสั่งเสร็จโยมแม่ก็หลับตา เณรเวทย์ก็ไปบอกหลวงพ่อเกษม หลวงพ่อก็มา ท่านได้นั่งดูอาการของโยมแม่ท่านนั่งสวดมนต์ เป็นที่น่าแปลกใจขณะที่หลวงพ่อสวดมนต์ มีผึ้งบินมาวนเวียนตอมไปตอมมาสักครู่ใหญ่ ๆ โยมแม่ก็ถอดจิตอย่างสงบ นัยน์ตาหลวงพ่อเกษมมีน้ำตาค่อย ๆ ไหลขณะที่ท่านแผ่บุญกุศลให้กับโยมแม่ ท่านยังเอ่ยว่า
     
  20. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    <TABLE width=600 align=center border=0><TBODY><TR><TD align=middle>หลักการสร้างอธิปไตย
    พระราชสังวรญาณ (พุธ ฐานิโย)
    วัดป่าสาลวัน อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา


    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width=600 align=center border=0><TBODY><TR><TD align=middle>[​IMG]
    อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ตั้งอยู่บริเวณถนนราชดำเนิน
    ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของประเทศไทยที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตย

    </TD></TR><TR><TD><CENTER>อธิปไตย ตามหลักธรรม</CENTER><DD>อธิปไตยในทางศาสนาพุทธ มีอยู่ ๓ ประการ <DD>๑. อัตตาธิปไตย การปรารภตนเป็นใหญ่ <DD>๒. โลกาธิปไตย ปรารภโลกเป็นใหญ่ <DD>๓. ธรรมาธิปไตย ปรารภธรรมเป็นใหญ่ <DD>ลักษณะของ อัตตาธิปไตย ถ้าเป็นตัวบุคคลก็เป็นบุคคลที่เชื่อมั่นในตนเองมากเกินไป โดยไม่ยอมฟังความคิดเห็นของคนอื่น เอาแต่ใจตัวเองเป็นเรื่องสำคัญ สิ่งใดที่เราได้ทำตามใจตัวเอง เรามีความสบายใจเพราะการกระทำของเรา แต่สิ่งนั้นอาจกระทบกระเทือนถึงประโยชน์และชีวิตของผู้อื่น คนที่เป็นอัตตาธิปไตยไม่ได้คำนึงถึงข้อนี้ตนคิดว่าจะทำอะไรก็ทำลงไป ไม่ได้พิจารณาว่า มันจะกระทบกระเทือนคนอื่นไหม จะทำให้คนอื่นเดือดร้อนไหม จะทำให้เราเดือดร้อนไหม <DD>ถ้าจะว่าโดยกฎหมายปกครองบ้านเมือง คนพวกนี้เป็นหัวเผด็จการ อันนี้คือลักษณะของอัตตาธิปไตย <DD>ลักษณะของคนที่เป็น โลกาธิปไตย ถือโลกเป็นใหญ่ อะไรที่ชาวโลกเขานิยมชมชอบ แม้จะเป็นสิ่งที่ผิดกฎหมายหรือศีลธรรมก็ตาม ก็ทำไปตามความคิดเห็นของโลก หรือความคิดเห็นของชาวบ้าน ซึ่งบางทีก็ทำให้ตัวเองต้องกลายเป็นคนอ่อนแอ หรือในบางครั้งเราอาจจะเห็นว่า เมื่อมติของคนส่วนมากมีความคิดเห็นอย่างนี้ แม้ว่าสิ่งนั้นมันอาจเป็นการทำลายผลประโยชน์ของคนอื่น หรือเป็นการลบหลู่เกียรติและชื่อเสียงของคนใดคนหนึ่งก็ตาม เรารวมหัวกันทำ ทำแบบชาวโลกที่เขานิยมชมชอบกัน อันนี้เป็นลักษณะของบุคคลที่ไม่เป็นตัวของตัวเอง หนัก ๆ เข้ากลายเป็นคนอ่อนแอ <DD>ส่วนคนที่เป็น ธรรมาธิปไตย อาศัยธรรมเป็นใหญ่ ธรรมที่ทำให้คนเป็นธรรมาธิปไตย ก็คือ รัฐธรรมนูญ ในเมื่อสมาชิกรัฐสภาร่วมใจกันตรากฎหมายอันใดออกมา เป็นกฎหมายปกครองบ้านเมือง เราเคารพต่อมติของเขาเหล่านั้น เพราะเขาปรึกษาหารือกันแล้วเห็นสมควรจะออกกฎหมายมาตรานั้น ๆ ออกมาบังคับ เพื่อให้สังคมของเรามีความประพฤติปฏิบัติสม่ำเสมอกัน ซึ่งเราเรียกว่า รัฐธรรมนูญปกครองบ้านเมือง <CENTER>"หลักธรรมาธิปไตยของชาวบ้านก็คือ รัฐธรรมนูญ
    หลักธรรมาธิปไตยของศาสนา ก็คือ ศีล ๕"</CENTER>

    <DD>ศีล ๕ ข้อนี่ พระพุทธเจ้าท่านสอนให้มนุษย์มีความรัก ความเมตตาปรานี เพราะขึ้นต้นท่านก็บอกว่า อย่าฆ่ากัน อย่าเบียดเบียนกัน อย่าข่มเหงกัน อย่ารังแกกัน อย่าอิจฉาตาร้อนกัน ผู้ใดมาเคารพศีล ๕ เป็นหลักยึดในจิตในใจของตน บุคคลผู้นั้นได้ชื่อว่าถือธรรมเป็นใหญ่ เมื่อถือธรรมเป็นใหญ่ เราก็จะมีแต่ความรัก ความเคารพ ความเมตตาปรานี </DD></TD></TR><TR><TD height=10></TD></TR><TR><TD align=middle>[​IMG]
    สภาผู้แทนราษฎร ตั้งอยู่บริเวณเขตดุสิต ด้านหลังสวนสัตว์เขาดินวนา เป็นสถานที่สำหรับการประชุม
    ของบรรดาผู้แทนราษฎรในการปรึกษาหารือในสิ่งอันเป็นประโยชน์ของประเทศ

    </TD></TR><TR><TD><CENTER>ศีล ๕ เป็นมูลฐานให้เกิดการปกครองระบอบประชาธิปไตย</CENTER></TD></TR><TR><TD><DD>หัวใจของประชาธิปไตย อยู่ที่การเคารพสิทธิมนุษยชน เมื่อใครมีศีล ๕ ก็ได้ชื่อว่าเคารพทุกสิทธิ สิทธิในการดำรงชีพอยู่โดยเสรี สิทธิในการครอบครองสมบัติโดยเสรี สิทธิในการใช้ผลประโยชน์ในคู่ครองของตนโดยเสรี และสิทธิอื่น ๆ บรรดามีในสังคม ถูกต้องตามกฎหมายบ้านเมืองและศีลธรรม เราก็ได้ยึดเอาธรรมอันเป็นหัวใจของเสรีภาพ เสรีชน โดยมีเหตุผล มีกติกา เราจะทำอะไรทุกอย่างต้องมีกติกา ศีล ๕ จึงเป็นธรรมะที่เป็นมูลฐานให้เกิดการปกครองระบอบประชาธิปไตย <DD>ถ้าหากเราพิจารณาเรื่องศีล ๕ กับกฎหมายรัฐธรรมนูญปกครองบ้านเมืองให้ประยุกต์กัน ให้มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด เราจะได้ความเด่นชัดว่า ศีล ๕ คือ กฎหมายปกครองบ้านเมืองที่เป็นธรรมนูญอันสูงสุด <DD>ในฐานะที่เราเป็นพุทธบริษัท เราเป็นลูกศิษย์ของพระพุทธเจ้า เราก็ได้ปฏิญาณตนถึงพระองค์ว่าเป็นที่พึ่งที่ระลึก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเราต้องการให้บ้านเมืองของเรา ปกครองโดยระบอบประชาธิปไตย นักปกครองบ้านเมือง ถ้าไม่มีศีล ๕ ข้อเป็นหลักแล้ว ไม่มีทางปกครองบ้านเมืองให้เป็นประชาธิปไตยได้</DD></TD></TR><TR><TD height=10></TD></TR><TR><TD align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD><CENTER>อธิปไตย คือ ความเป็นใหญ่ อิสระ และพึ่งตนเอง</CENTER><DD>หลักประชาธิปไตยของหลวงพ่อไม่เหมือนใคร ประชาธิปไตยของนักการเมืองคือการรวมหัวกัน ฉันไม่ชอบขี้หน้าผู้ว่าราชการจังหวัด ฉันรวมหัวกันขับไล่ ร้องเรียนให้เจ้านายเบื้องบนโยกย้าย ลักษณะอย่างนี้ไม่ใช่ประชาธิปไตย แต่เป็น เผด็จการหมู่


    <DD>แต่ประชาธิปไตยพระอย่างหลวงพ่อนี่ หลวงพ่อมีความห่วงใยในพระพุทธศาสนา กลัวพระพุทธศาสนาจะเสื่อม หลวงพ่อศึกษาธรรมวินัย ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ จนมีคุณธรรมบ้างพอสมควร แล้วเอาคุณธรรมแจกจ่ายให้ประชาชน ได้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ แล้วก็ไม่เคยกังวลว่าใครจะทำบาปทำกรรมอะไร ไม่เคยกลัวใครจะตกนรก กลัวแต่ตัวเองจะตกนรก เพราะฉะนั้นจึงพยายามสร้างความดี สร้างความดีจนกระทั่งความดีมันเต็มพร้อมแล้ว มันจะล้นออกเหมือนน้ำเต็มตุ่ม เวลานี้มีคนไปศึกษาธรรมะ ไปถามปัญหา แต่เช้ายันเย็น แต่เย็นยันหกทุ่ม ไม่เว้นแต่ละวัน อันนี้เพราะอะไร เพราะเราสร้างเนื้อสร้างตัวของเรา ให้มีคุณธรรมพร้อม ดังนั้นชาวบ้านทั้งหลายคิดจะสร้างบ้านเมือง ให้เป็นประชาธิปไตย มันอยู่ที่ตรงนี้ <DD>ใครที่มีลูกมีหลานกำลังเรียน เร่งให้แกเรียนให้จบ เมื่อเรียนจบแล้วให้หางานทำ บางทีพ่อแม่อาจมีหนี้มีสินส่งลูกเรียน ให้เขาหาเงินใช้หนี้ใช้สินแทนพ่อแม่ เสร็จแล้วให้เขาเก็บหอมรอมริบ เพื่อสร้างเนื้อสร้างตัวให้เป็นหลักเป็นฐาน เมื่อเขาสร้างเนื้อสร้างตัวมีที่ดินเป็นของของตน มีบ้านเป็นของของตน มีงานมีการทำ มีรายได้เลี้ยงตนและครอบครัวให้สบาย ไม่มีหนี้มีสิน เมื่อเป็นเช่นนั้นเขาก็เป็น อิสระ ไม่ต้องตกเป็นทาสของเจ้าหนี้ แล้วก็ไม่ต้องไปหลบหน้าหลบตาว่าเจ้าหนี้เขาจะตามทวง เมื่อเป็นเช่นนั้น เขาก็เป็นใหญ่ <DD>อธิปไตย แปลว่า ผู้เป็นใหญ่ ไม่ได้หมายความว่าเป็นใหญ่เหนือเทวดาอินทร์พรหมที่ไหน มันเป็นใหญ่ เป็นอิสระ เพราะตัวเองช่วยตัวเองได้ ยังแถมรัฐบาลได้เก็บภาษีรายได้จากผลประโยชน์ที่เราแสวงหามาด้วย เมื่อเป็นเช่นนั้นเราก็เป็นใหญ่ คนทั้งหลายมารวมกลุ่มกันเข้า เรียกว่า ประชา เมื่อประชาพวกนี้มีแต่ผู้เป็นใหญ่ จึงรวมความว่าเป็น ประชาธิปไตย อันนี้เป็นแผนการสร้างประชาธิปไตยให้มีในบ้านเมือง </DD></TD></TR><TR><TD><CENTER>พัฒนาชนบทอย่างมีอธิปไตย</CENTER><DD>เวลานี้รัฐบาลมีหน่วยเร่งรัดพัฒนาชนบท และมีทุกหน่วยที่จะพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญรุ่งเรือง แต่เมื่อมาพิจารณาดูแบบหัววัด ๆ อย่างหลวงพ่อ มันคล้าย ๆ กับว่าเขาสอนให้ราษฎรรู้จักใช้แต่เงิน แต่ไม่สอนให้รู้จักหาเงิน
     

แชร์หน้านี้

Loading...