"พิษณุโลกตื่น! ธรณีระอุไฟลุกพื้นลวกชาวบ้าน" สัญญาณเตือนอะไร?

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย navycom33, 25 เมษายน 2012.

  1. navycom33

    navycom33 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    676
    ค่าพลัง:
    +6,732
    ขอบคุณทุกข้อมูลที่ให้ความกระจ่าง.... ข่าวลือต่างๆ มีมาก ฟังข้อมูลให้รอบด้าน และจงพิจารณาด้วยปัญญา
     
  2. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649



    พบก๊าซหลายชนิด ทั้ง มีเทน แอมโมเนียที่มีปริมาณน้อย แต่ตัวที่มีปัญหามากมีสองชนิด คือ คาร์บอนไดซัลไฟด์ หรือ CS2 ตรวจพบรอบหลุมไฟอยู่ที่ 23 ppm เกินค่ามาตรฐานทั่วไปที่ 20 ppm และ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ หรือ SO 2 ค่ามาตรฐานอยู่ที่ 0.12 ppm แต่ตรวจพบมากกว่าค่ามาตรฐาน 55 เท่า



    .
     
  3. เอกณัฏฐ์

    เอกณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    154
    ค่าพลัง:
    +367
    ไม่น่าจะเป็นขี้เลื่อยแล้วล่ะ..แปลกๆ
     
  4. ตุ้มโฮม

    ตุ้มโฮม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 เมษายน 2012
    โพสต์:
    168
    ค่าพลัง:
    +497
    เป็นการส่งสัญญาณที่ไม่สู้ดีออกมาแล้ว สัตว์เข้าไปในพื้นที่ยังตาย เอาเท้าเหยียบบนพื้นดินเท้ายังพุพอง
    กระดาษยังใหม้ พื้นพิภพข้างล่างอาจจะเป็นลาวาหรืออะไรที่เป็นหินเหลวๆร้อนๆซึ่งคุระอุอยู่ข้างล่าง
    และไม่ลึกมาก และมีอุณหภูมิสูงมาก จนส่งความร้อนขึ้นมาพื้นผิวข้างบนได้ ไม่ใช่ขี้เลื่อยแน่นอน
    ให้สังเกตุดูถ้าพื้นที่ความเสียหายขยายตัวไปเรื่อยๆ ความร้อนลุกลามไปเรื่อยๆ จะน่ากลัวมากๆ
    ต้องพิจารณากันให้ดีในทางหลักวิชาการ และให้ดูว่ามีความเชื่อมโยงกับแผ่นดินไหวที่ผ่านมาหรือเปล่า

    ต้องเฝ้าระวังกันให้ดีนะครับ...
     
  5. prachas

    prachas เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +1,208
    ลองดูหนังเรื่อง DANTE'S PEAK หรือ Google search ดูซิ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ หรือ SO 2 มันเกิดจากการปะทุของภูเขาไฟนะส่วนใหญ่ หรือผมเข้าใจอะไรผิดไป :cool:
     
  6. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649

    นักกระยาสารทปัจจุบัน...ท่านว่า...ก๊าซนี้มาจากขี้เลื่อย...ครับ


    .
     
  7. ทะเลลึก

    ทะเลลึก Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    126
    ค่าพลัง:
    +80
    ก๊าสมีเทน ก๊าสแอมโมเนีย ก๊าสซัลเฟอร์ไดอ๊อกไซด์(SO2) ล้วนเป็นก๊าสที่เกิดขึ้นได้จากกระบวนการหมักแบบไร้อากาศของสารอินทรีย์จำพวกซากพืช ซากสัตว์ ทั้งที่เกิดเองตามธรรมชาติหรือจากการกระทำของมนุษย์ (ทำปุ๋ยหมัก ทำบ่อขยะ)

    การจะไขข้อสงสัยในเหตุการนี้ คงต้องขุดดูว่ามีอะไรอยู่ข้างล่างนั้น เพราะ ก๊าสทั้งหลายที่กล่าวมา เกิดจากบ่อก๊าสธรรมชาติก็ได้ จากลาวาใต้โลกก็ได้ จากการหมักสารอินทรีย์ก็ได้ ขุดดูก็จะทราบได้เอง ที่งุนงงอย่างมาก เหตุใดทางการไม่รีบขุดพิสูจน์ดู จะได้เตรียมรับสถานการณ์ได้ทันท่วงที
     
  8. Heureuse

    Heureuse เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กันยายน 2008
    โพสต์:
    857
    ค่าพลัง:
    +3,446
    เราว่า ในอุตรดิต และ อุบล ก็เป็นเพราะก๊าซด้วย ไอ้ตัวที่ทำให้ถนนระเบิดน่ะ
     
  9. jeedrider151

    jeedrider151 สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    20
    ค่าพลัง:
    +6
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD>1. แหล่งธรรมชาติ อากาศเสียที่เกิดจากธรรมชาติมีดังนี้
    </TD></TR><TR><TD align=right><TABLE border=0 width="95%"><TBODY><TR><TD vAlign=top>1.1 ภูเขาไฟระเบิด ภูเขาไฟระเบิดเป็นปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ ที่ทำให้ เกิดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ เขม่า ขี้เถ้า ฝุ่นละอองฟุ้งกระจายในอากาศ
    </TD><TD width=180>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>1.2 ไฟป่า
    ป่าที่มีความแห้งแล้งติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน มักจะ เกิดไฟไหม้ป่า ทำให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ควัน เขม่า ขี้เถ้า และฝุ่นละอองฟุ้งกระจายในอากาศ
    </TD><TD width=180>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top>1.3 การย่อยสลายของซากพืชซากสัตว์
    ซากพืชซากสัตว์ที่ตายแล้ว จุลินทรีย์จะช่วยย่อยสลาย ทำ ให้เกิดการเน่าเปื่อย ผุพัง เกิดก๊าซคาร์บอนไดซัลไฟด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ จะมีกลิ่นเหม็นรุนแรงฟุ้งกระจายไป ในอากาศ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  10. Ta-Ton

    Ta-Ton สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    18
    ค่าพลัง:
    +24
    อืม...สัตว์มันมีสัญชาติญาณในการเอาตัวรอดไม่ใช่เหรอคะ ทำไมทั้งกลิ่นก๊าซแรงและไอร้อนมันก็ยังเดินเข้าไปใกล้ ๆ อีก สงสัยมาก ๆ
     
  11. porntips

    porntips เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2012
    โพสต์:
    955
    ค่าพลัง:
    +2,410
    อย่ามาสร้างภาพนะครับผู้หลักผู้ใหญ่ทั้งหลาย อันตรายมากน้อยแค่ไหนก็ออกมาเตือนชาวบ้านเขาซะ จะได้ระวังตัวกันถูก การหมักขี้เลื่อย ซากพืช ซากสัตว์ ไม่เป็นแบบนี้หรอกครับ ยอมรับความจริงดีกว่า ว่ามีอะไรอยู่ใต้ดิน เป็นทรัพยากรอะไร แร่ธาตุอะไร อย่าหมกเม็ดเพื่อผลประโยชน์ของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง พูดความจริงดีกว่า ถ้าลาวาไหลผ่านก็เตือนชาวบ้าน ไฟใต้ดิน ก็ต้องยอมรับ แต่ประเภทปุ๋ยหมักชีวภาพ มันสตอเกินไปครับผม 30 ปีแล้วถ้าเป็นปุ๋ยจริง บริเวณนั้นจะเย็นครับผม
     
  12. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649


    แสดงว่าไม่ใช่หลุมก๊าซชีวภาพแน่นอน


    ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ หรือ SO 2

    ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ เป็น<wbr>ก๊าซ<wbr>ไม่<wbr>มี<wbr>สี<wbr>ไม่<wbr>ไว<wbr>ไฟ<wbr>ที่<wbr>ระดับ<wbr>ความ<wbr>เข้ม<wbr>ข้น<wbr>สูง <wbr>จะ<wbr>มี<wbr>กลิ่น<wbr>ฉุน<wbr>แสบ<wbr>จมูก<wbr>เมื่อ<wbr>ทำปฎิกริ<wbr>ยาก<wbr>ับก๊าซ<wbr>ออกซิเจน<wbr> ใน<wbr>อากาศจะ<wbr>เป็นซัลเฟอร์ไดออกไซด์<wbr>และ<wbr>จะ<wbr>รวม<wbr>ตัว<wbr>เป็น<wbr>กรด<wbr>กำมะถัน<wbr>

    เมื่อ<wbr>มี<wbr>ความ<wbr>ชื้น<wbr>เพียง<wbr>พอ<wbr>หาก<wbr>อยู่ร่<wbr>วมกับอนุภาค<wbr>มวล<wbr>สาร<wbr>ที่<wbr> มี<wbr>ตัว<wbr>เร่ง<wbr>ปฏิกิริยา เช่น มังกานีส เหล็ก และ<wbr>วา<wbr>นาเดี<wbr>ยม จะ<wbr>เกิด<wbr>มี<wbr>ปฏิกิริยา<wbr>เติม<wbr>ออกซิเจน<wbr>เกิด<wbr>เป็นซัลเฟอร์ไตร<wbr>ออกไซด์ และ<wbr>เป็น<wbr>กรด<wbr>กำมะถัน<wbr>เช่น<wbr>กัน การ<wbr>สันดาป<wbr>เชื้อ<wbr>เพลิง<wbr>เพื่อ<wbr>ใช้<wbr>พลัง<wbr>งาน<wbr>ใน<wbr>การ<wbr>ดำรง<wbr>ชีพ<wbr>ของ<wbr>มวล<wbr>มนุษย์ ซึ่ง<wbr>รวม<wbr>ถึง<wbr>อุตสาหกรรม<wbr>ทำ<wbr>ให้<wbr>เกิด<wbr>ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และ<wbr>อนุภาค<wbr>มล<wbr>สาร กระบวน<wbr>การ<wbr>ผลิต<wbr>ใน<wbr>อุตสาหกรรม<wbr>ต่างๆ ก็<wbr>เป็น<wbr>แหล่ง<wbr>กำเนิด<wbr>ของ<wbr>มล<wbr>พิษ<wbr>ทั้ง<wbr>สอง<wbr>เช่น<wbr>กัน

    ก๊าซซัลเฟอร์ไตร<wbr>ออกไซด์ และ<wbr>ละออง<wbr>กรด กำมะถัน ก่อ<wbr>ให้<wbr>เกิด<wbr>อันตราย<wbr>ต่อ<wbr>ระบบ<wbr>ทางเดิน<wbr>หาย<wbr>ใจ เช่น<wbr>โรค<wbr>หลอด<wbr>ลม<wbr>อักเสบ<wbr>เรื้อ<wbr>รัง นอก<wbr>จาก<wbr>นี้<wbr>ก๊าซ<wbr>นี้<wbr>ยัง<wbr>ทำ<wbr>ให้<wbr>น้ำ<wbr>ฝน<wbr>ที่<wbr>ตก<wbr>ลง<wbr>มา<wbr>มี<wbr>สภาพ ความ<wbr>เป็น<wbr>กรด<wbr>มาก<wbr>ขึ้น ซึ่ง<wbr>จะ<wbr>ทำลาย<wbr>ระบบ<wbr>นิเวศน์ ป่า<wbr>ไม้ แหล่ง<wbr>น้ำ สิ่ง<wbr>มี<wbr>ชีวิต<wbr>ต่างๆ รวม<wbr>ถึง<wbr>การ<wbr>กัด<wbr>กร่อน<wbr>อาคาร<wbr>และ<wbr>โบราณ<wbr>สถาน<wbr>อีก<wbr>ด้วย



    +++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

    การสร้างบ่อหมักก๊าซชีวภาพแบบถุงหมักพีวีซี

    วัตถุดิบสำหรับผลิตก๊าซชีวภาพได้แก่มูลสัตว์ทุกชนิด รวมทั้งของเสีย น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมทางการเกษตรเช่นโรงงานแป้งมันสัมปะหลังโรงงาน สกัดน้ำมันปาล์มดิบ โรงงานผลไม้กระป๋อง โรงงานน้ำตาล โรงงานผลิตแอลกอฮอล์ โรงฆ่าสัตว์ และจากขยะชุมชุน หรือร้านค้า ภัตตาคาร เป็นต้น

    ขบวนการเกิดก๊าซชีวภาพ
    • ก๊าซชีวภาพ หรือไบโอก๊าซคือก๊าซที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติจากการย่อยสลายสารอินทรีย์ โดยจุลินทรีย์ภายใต้สภาวะที่ปราศจากออกซิเจน ในขณะที่เกิดการย่อยสลายนั้นจะเกิดก๊าซขึ้นกลุ่มหนึ่ง ส่วนใหญ่เป็นก๊าซมีเทน (Methane, CH4)รองลงมาเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์(CO2) แอมโมเนีย (NH3) ไฮโดรเจนซัลไฟด์(H2S) และก๊าซอื่นๆ ก๊าซมีเทนเป็นก๊าซที่มีมากที่สุด มีคุณสมบัติไม่มีสี ไม่มีกลิ่น และติดไฟได้ เบากว่าอากาศ แตมีกลิ่นเหม็น นั้นเกิดจากก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ หรือก๊าซไข่เน่า ซึ่งเมื่อจุดไฟแล้วกลิ่นเหม็นจะหมดไป
    องค์ประกอบของก๊าซชีวภาพ
    <hr id="null">ชนิด ปริมาณ(%) <hr id="null"><table style="width: 347px; height: 100px" border="0"><tbody><tr><td> มีเทน</td><td>50-70 </td></tr><tr><td> คาร์บอนไดออกไซต์</td><td>30-50 </td></tr><tr><td> อื่นๆแอมโมเนียม,ไฮโดรเจนซัลไฟด์และไอน้ำ</td><td>เล็กน้อย </td></tr></tbody></table><hr id="null">วัตถุดิบสำหรับผลิตก๊าซชีวภาพ

    • ได้แก่ มูลสัตว์ทุกชนิด รวมทั้งของเสีย น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมทางการเกษตรเช่นโรงงานแป้งมันสัมปะหลังโรงงาน สกัดน้ำมันปาล์มดิบ โรงงานผลไม้กระป๋อง โรงงานน้ำตาล โรงงานผลิตแอลกอฮอล์ โรงฆ่าสัตว์ และจากขยะชุมชุน หรือร้านค้า ภัตตาคาร เป็นต้น

    <hr id="null"> คุณสมบัติของก๊าชชีวภาพ <hr id="null"><table style="width: 427px; height: 145px" border="2" cellpadding="2" cellspacing="2"><tbody><tr><td>ค่าความร้อนประมาณ</td><td>21 </td><td>เมกกะจูล/ลบ.ม.(ที่ปริมาณมีเทน 60 %) </td></tr><tr><td>ความเร็วเปลวไฟ</td><td>25 </td><td>ซ.ม./วินาที่ </td></tr><tr><td>อุณภูมิเผาไหม้ในอากาศ</td><td>650</td><td>องศาเซนเซียส </td></tr><tr><td>อุณภูมิจุดติดไฟ(CH4)</td><td>600 </td><td>องศาเซนเซียส </td></tr><tr><td>ค่าความจุความร้อน</td><td>1.6 </td><td>กิโลจูล/ลบ.ม.*ซ </td></tr><tr><td>ความหนาแน่น(Pressure,P</td><td>1.15 </td><td>กิโลจูล/ลบ.ม.</td></tr></tbody></table>
    <hr id="null">ขั้นตอนการย่อยสลายสารอินทรีย์ ขั้น ตอนการย่อยสลายสารอินทรีย์เพื่อให้เกิดก๊าซชีวภาพ เป็นการย่อยสลายสารอินทรีย์โดยแบคทีเรียในสภาวะไร้ออกซิเจน ขั้นตอนการย่อยสลายสารอินทรีย์โดยย่อ ดังนี้.-

    • สาร อินทรีย์โมเลกุลใหญ๋ เช่นคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน ถูกย่อยสลายเป็นสารอินทรีย์โมเลกุลเล็ก โดยจุลินทรีย์ชนิดสร้างกรด เช่นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว กรดอะมิโน และกรดไขมัน เป็นต้นหลังจากนั้น สารอินทรีย์โมเลกุลเล็กจะถูกจุลินทรีย์อีกชนิดหนึ่ง ย่อยสลายสารอินทรีย์ให้กลายเป็นกรดอะซิติก และก๊าซไฮโดรเจน จากนั้น จุลินทรีย์ชนิดสร้างมีเทน(Methane Producing) bacteria)จะย่อยสลายและเปลี่ยนกรดอซิติกและไฮโดรเจนให้เป็นก๊าซมีเทน และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซชีวภาพที่เกิดขึ้นนี้ จะลอยตัวขึ้นเหนือผิวน้ำ และกระจายสู่บรรยากาศหรือถูกรวบรวมนำปใช้ผลิตพลังงานทดแทนต่อไป
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 เมษายน 2012
  13. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649


    แร่กำมะถัน (Sulfur)

    ชื่อแร่ ไม่ทราบแน่นอน คำนี้เขียน sulphur ก็ได้

    คุณสมบัติทางฟิสิกส์ รูปผลึกระบบออร์โธรอมบิก หรืออาจเกิดในลักษณะที่เป็นคราบ หรือเป็นก้อนเนื้อเนียน แต่ร่วนมาก แข็ง 1.5 - 2.5 ค่าความถ่วงจำเพาะ 2.07 สีเหลือง แต่อาจมีสีส้ม น้ำตาล เหลือง หรือเขียวสด มีความวาวเหมือนขี้ผึ้ง รอยแตกเว้าโค้ง หรือขรุขระ

    <center><table border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" width="20%"> <tbody><tr> <td width="100%">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </center>​

    คุณสมบัติทางเคมี สูตรเคมี S ไม่ละลายในกรด แต่ละลายใน คาร์บอนไดซัลไฟด์ และ methylene iodide

    ลักษณะเด่น และวิธีตรวจ สีเหลือง เนื้อเหมือนขี้ผึ้ง เผาไฟละลาย และไหม้หมด เปลวไฟเป็นสีน้ำเงิน มีกลิ่น SO<sub>2</sub> คลุ้ง หลอมตัวขั้นที่ 1 (112.8 องศาเซลเซียส) เกิดคราบเมื่อเผาในหลอดปิด


    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="50%">
    <center> <table border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" width="40%"> <tbody><tr> <td width="100%"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="50%">[​IMG]</td> <td width="50%">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="50%">[​IMG]</td> <td width="50%">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table> </center> ​
    </td> <td width="50%">
    <center> <table border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" width="40%"> <tbody><tr> <td width="100%"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="50%">[​IMG]</td> <td width="50%">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="50%">[​IMG]</td> <td width="50%">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table> </center> ​
    </td> </tr> </tbody></table>
    การกำเนิด เกิดในบริเวณที่มีภูเขาไฟ หรือตามพุกาซ พุน้ำร้อน และในแหล่งน้ำมันดิน แบบโดมหินเกลือ (Salt dome) และตามแหล่งแร่พวกซัลไฟด์ต่างๆ
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="32%">
    <table border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" width="40%"> <tbody><tr> <td width="100%">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> ​
    </td> <td width="68%">
    แหล่ง

    ในประเทศไทย พบบริเวณบ่อน้ำร้อนที่ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน เชียงราย ลำปาง สุโขทัย ตาก กาญจนบุรี ราชบุรี ระนอง (หาดส้มแป้น) สุราษฎร์ธานี พังงา กระบี่ ยะลา ชลบุรี
    ต่างประเทศ ซิซิลี สเปน ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย ฯลฯ

    ประโยชน์ ใช้ทำดินปืน (gun powder) ไม้ขีดไฟ ใช้ทำปุ๋ย ยาฆ่าแมลง ใช้ทำให้ยางอ่อน และทน ทำ SO<sub>2</sub> ส่วนใหญ่ใช้ทำกรดกำมะถัน แต่ปัจจุบันกรดกำมะถันส่วนใหญ่ทำจากแร่ไพไรท์ เพราะผลิตได้ถูกกว่า เป็นกรดแรกที่ใช้ผลิตกรดอื่นๆ และเครื่องยาเคมีอีกมากมาย ผลผลิตกำมะถันประมาณครึ่งหนึ่งของโลกได้จากชนิดที่เกิดเป็นธาตุธรรมชาติ นอกนั้นก็ได้จากผลพลอยได้ในการถลุงแร่ซัลไฟด์ต่างๆ และจากการแยกกาซธรรมชาติ และน้ำมันดิบ
    </td> </tr> </tbody></table>

    <hr width="80%">
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 เมษายน 2012
  14. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    ชาวบ้านลพบุรีแตกตื่นพบควันไฟพวยพุ่งจากใต้ดิน!!


    [​IMG]

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 เมษายน 2012
  15. navycom33

    navycom33 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    676
    ค่าพลัง:
    +6,732
    ข่าวจาก Manager online
    พบใต้ดินนครไทยมีก๊าซฯ 215 พันล้านลูกบาศก์ฟุต วิศวกรฝรั่งยันไม่เกี่ยวหลุมไฟ


    โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์ 26 เมษายน 2555 16:56 น. Share9




    คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น






    พิษณุโลก - พบใต้ดินนครไทยมีก๊าซธรรมชาติ (NGV) 215 พันล้านลูกบาศก์ฟุต กลุ่ม “ทวินซ่า ออยล์ ลิมิเต็ดฯ” เร่งทำประชาพิจารณ์ รอ EIA ผ่านเดินหน้าขุดเจาะทันที แต่ยันไม่เกี่ยวหลุมไฟนครไทยแน่

    วันนี้ (26 เม.ย.) ที่ อบต.หนองกะท้าว อ.นครไทย จ.พิษณุโลก บริษัท ทวินซ่า ออยล์ ลิมิเต็ด บริษัท โปรเอ็น เท็คโนโลยี่ และกระทรวงพลังงาน ได้เดินทางมาเปิดประชาพิจารณ์รับฟังความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่ หลังได้รับสัมปทานปิโตรเลียม เลขที่ 13/2550/89 โดยมีประชาชนในพื้นที่มารับฟังจำนวนหนึ่ง และมีกำหนดไปเปิดเวทีประชาพิจารณ์ที่บ้านน้ำตาก หมู่ 17 ในช่วงเย็นวันเดียวกันนี้

    Mr.John Booth Exploration Manager บริษัท ทวินซ่า ออยล์ ลิมิเต็ด เปิดเผยว่า ตนและทีมงานทวินซ่า ออยล์ ลิมิเต็ด มาวันนี้เพื่อทำประชาพิจารณ์รับฟังความคิดเห็นของคนในพื้นที่ ต.หนองกะท้าว อ.นครไทย จ.พิษณุโลก ครั้งที่ 2 ก็ประเมินว่าคนในพื้นที่ตอบรับ ประชาชนมีความเห็นด้วย จากนั้นรอ EIA ผ่าน คาดว่าสิ้นฤดูฝนไปก่อนจึงค่อยดำเนินการขุดน้ำมัน และก๊าซฯ

    โดยวิธีการนั้นจะต้องเจาะลงไปใต้พื้นที่ระดับ 1,700 เมตร ผ่านลงไปใต้ชั้นหิน 3 ชั้น คือ หินทราย โคลน และหินปูน ซึ่งจะต้องเจอน้ำมันดิบในขั้นแรก แต่เราจะไม่เอา เนื่องจากปริมาณมีน้อย แต่เป้าหมายหลักของทวินซ่าคือ การขุดเจาะก๊าซฯ จำนวน 215 พันล้านลูกบาศก์ฟุต โดยเป็นก๊าซธรรมชาติ หรือ NGV จากนั้นค่อยมาประเมินความคุ้มค่าอีกครั้งว่าจะดำเนินการขนส่งด้วยรถยนต์ หรือต่อท่อไปยังแหล่งน้ำมันสิริกิติ์ อ.ลานกระบือ จ.กำแพงเพชร

    “คาดว่าจะมีปริมาณก๊าซฯ สามารถให้ขุดได้ในระยะ 20 ปี โดยใน 5 ปีแรกจะมีการประเมินคุณภาพด้วย”

    ด้านนายธงชัย จันทร์เครื่อง นักธรณีวิทยา กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน กล่าวว่าเบื้องต้นคาดว่าหากมีการเจาะสำรวจจะพบก๊าซธรรมชาติในปริมาณ 215 พันล้านลูกบาศก์ฟุต ส่วนน้ำมันคาดว่าไม่น่ามีในบริเวณนี้ แต่ก็ต้องรอรายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมผ่านก่อน จึงจะลงมือเจาะพิสูจน์ ซึ่งการขุดเจาะบางครั้งก็ไม่พบ แต่ที่ จ.พิษณุโลกเป็นหลุมสำรวจปิโตรเลียมที่มีโอกาสพบ 50:50

    นายธงชัยบอกว่า หลุมสำรวจในเมืองไทยยังมีความเสี่ยงมาก ยกตัวอย่างที่เพิ่งเจาะสำรวจพื้นที่ภาคอีสาน 5 หลุมขุดเจอเพียง 1 หลุมเท่านั้น ขณะที่ค่าใช้จ่ายขุดเจาะ 5 หลุมสูงถึง 100 ล้านเหรียญสหรัฐ เป็นเงินไทยก็ตกประมาณ 3,000 ล้านบาท เช่นเดียวกัน เวลานี้โอกาสเสี่ยงที่จะได้เจอก๊าซฯ หรือน้ำมันก็ยังมีอยู่ เพราะไม่มีการเจาะสำรวจปิโตรเลียมที่ อ.นครไทยมาก่อน

    “หลุมนี้เป็นหลุมแรกจึงยังไม่สามารถบอกมูลค่าทางพาณิชย์ได้ แตกต่างจาก อ.ลานกระบือ จ.กำแพงเพชร ที่มีการเจาะสำรวจเป็น 1,000 หลุมจนได้ทั้งก๊าซฯ และน้ำมัน”

    Mr.John Booth Exploration Manager ยังเปิดเผยอีกว่า กรณีหลุมไฟใต้ดิน หมู่ 9 ต.หนองกะท้าว อ.นครไทย ที่ปรากฏเป็นข่าวนั้นก็อยากรู้และจะไปดู แต่ตนไม่สามารถตอบได้ ต้องรอกรมทรัพยากรธรณีวิทยา แต่บอกเบื้องต้นเพียงว่าถ้าเป็นก๊าซฯ จะต้องขุดเจาะผ่านชั้นหินที่หนาจำนวน 3 ชั้นดินโดยให้แรงดันอัดลงไปเพื่อเอาก๊าซฯ ขึ้นมา และจุดหลุมไฟนั้นไม่มีก๊าซและไม่น่าเกี่ยวกัน เพราะห่างจากจุดเกิดไฟลุก 20 กิโลเมตร จึงไม่เชื่อว่าบริเวณหลุมไฟจะมีก๊าซอะไร แต่สงสัยเป็นการสะสมของเศษขี้เลื่อยเท่านั้น

    “ลักษณะดังกล่าวนี้ ประเทศอินโดนีเซียก็เคยเกิดขึ้นเหมือนกัน เดี๋ยวก็ดับไปเอง”

    อนึ่ง ก่อนที่จะขุดสำรวจปิโตรเลียม บริษัท ทวินซ่า ออยล์ ลิมิเต็ด จะต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติด้วย

    สำหรับบริษัท ทวินซ่า ออยล์ ลิมิเต็ด ได้รับอนุมัติสัมปทานปิโตรเลียมเลขที่ 13/2559/89 ครอบคลุมแปลงสำรวจบนบกหมายเลข L7/50 จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2550 หลังได้รับสัมปทาน บริษัททวินซ่าฯ ได้ดำเนินการสำรวจวัดคลื่นไหวสะเทือนแบบสองมิติ เพื่อตรวจสอบและยืนยันลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาและลำดับชั้นหินในแหล่งกักเก็บ ครอบคลุมพื้นที่อำเภอชาติตระการ อำเภอนครไทย อำเภอวังทอง และอำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก ผลการศึกษาโครงสร้างทางธรณีวิทยาดังกล่าว ได้ข้อมูลสนับสนุนที่ชัดเจนเพียงพอต่อการวางแผนเจาะสำรวจปิโตรเลียม จึงกำหนดการเจาะสำรวจผ่านฐานเจาะ 1 แห่ง ตำแหน่งที่ตั้งฐานเจาะตั้งอยู่บนพื้นที่ ม.17 บ้านน้ำตาก ต.หนองกะท้าว อ.นครไทย จ.พิษณุโลก ตั้งอยู่บนเนินเขาปานกลาง อยู่ห่างจากจุดที่เกิดไฟลุกใต้ดิน ม.9 บ้านเนินตะโพน ต.หนองกะท้าว มาทางทิศตะวันตกประมาณ 20 กิโลเมตร
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 เมษายน 2012

แชร์หน้านี้

Loading...