รวบรวมภาพเมฆ, ท้องฟ้า, ดาว, เดือน, พระอาทิตย์ เพือเก็บตัวอย่างไว้ศึกษา

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 19 มิถุนายน 2007.

  1. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
  2. Catt Bewer

    Catt Bewer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,768
    ค่าพลัง:
    +16,673
    <TABLE borderColor=#98deff cellPadding=0 width=725 align=center bgColor=#e2e2e2 border=5><TBODY><TR><TD bgColor=#ecfae0>อย่าสาบานส่งๆ นะเดี๋ยวฟ้าผ่าเอา </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#98deff cellPadding=0 width=725 align=center border=5><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR bgColor=#cccccc><TD vAlign=center> </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=left bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=left bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=left bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=left bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=left bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=left bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=left bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=left bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=left bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=left bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>
    โดย :!ดกไก่ lดืeEคมมาก (สมาชิก) โพสเมื่อ [ วันอาทิตย์ ที่ 30 มีนาคม 2551 เวลา 21:34 น.] [​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://fwmail.teenee.com/cute/6989.html
     
  3. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ค่ำวันที่ 10 พฤษภา....มองฟ้าชม "จันทร์บังดาวอังคาร" <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">7 พฤษภาคม 2551 10:17 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td align="left" height="12" valign="bottom">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="top"> <table cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="160"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="4" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ส่วนหนึ่งของภาพเคลื่อนไหวจำลองปรากฏการณ์ดวงจันทร์เคลื่อนบดบังดาวอังคาร (จุดสีขาวบนด้านมืดของดวงจันทร์) ในวันที่ 10 พ.ค.51 นี้ จัดทำโดย ปณัฐพงศ์ จันทรวัฒนาวณิช เผยแพร่ในเว็บไซด์สมาคมดาราศาสตร์ไทย</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">อาจารย์ประพีร์ วิราพร (ภาพจากสมาคมดาราศาสตร์ไทย)</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">อาจารย์วรวิทย์ ตันวุฒิบัณฑิต </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline"> แผนภาพแสดงปรากฏการณ์ (ภาพจากสมาคมดาราศาสตร์ไทย)</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ตารางเวลาและบอกตำแหน่งที่จะสังเกตเห็นปรากฏการณ์แยกตามจังหวัดสำคัญๆ ของแต่ละภาค (ภาพจากสมาคมดาราศาสตร์ไทย)</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" height="1" valign="middle" width="165">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> <td background="/images/linedot_vert3.gif" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellspacing="7" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> คืนวันเสาร์ที่ 10 พ.ค.นี้ คนไทยทั่วประเทศจะได้มีโอกาสชมปรากฏการณ์ “ดวงจันทร์บังดาวอังคาร” ใกล้ขอบฟ้าทิศตะวันตกเฉียงเหนือ กินเวลาประมาณ 1 ชั่วโมง โดยเป็นปรากฏการณ์ที่หาชมได้ยาก หากพลาดครั้งนี้อาจต้องรอชมอีกครั้งในอีก 13 ปีข้างหน้า

    อาจารย์ประพีร์ วิราพร นายกสมาคมดาราศาสตร์ไทย เปิดเผยว่า ในคืนวันเสาร์ที่ 10 พ.ค.51 นี้ เวลาประมาณ 22.00 น.จะเกิดปรากฏการณ์ “ดวงจันทร์บังดาวอังคาร” (occultation) ขึ้นทางขอบฟ้าด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ เปิดโอกาสให้คนไทยทั่วประเทศมองเห็นปรากฏการณ์ได้ด้วยตาเปล่า

    อย่างไรก็ดี ผู้ชมปรากฏการณ์ในภูมิภาคต่างๆ จะเห็นปรากฏการณ์ในเวลาและตำแหน่งบนท้องฟ้าที่แตกต่างกันไปเล็กน้อย ผู้สังเกตปรากฏการณ์ใน จ.เชียงใหม่ จะได้เห็นปรากฏการณ์เป็นจังหวัดแรกของประเทศในเวลา 21.54 น.

    สำหรับผู้สนใจชมปรากฏการณ์ควรเลือกสถานที่ที่ไร้แสงไฟรบกวนและปลอดจากต้นไม้ ตึกอาคาร หรือเมฆบัดบังทัศนียภาพใกล้ขอบฟ้า

    ผู้ที่อยู่ในกรุงเทพฯ อาจเริ่มสังเกตปรากฏการณ์ตั้งแต่ 21.00 น.เป็นต้นไป โดยจะเห็นดาวอังคารเป็นจุดสีส้มแดงอ่อนๆ และเคลื่อนที่น้อยมากเหนือด้านมืดของดวงจันทร์ในคืนขึ้น 6 ค่ำ ก่อนด้านมืดของดวงจันทร์จะค่อยๆ เคลื่อนขึ้นไปสัมผัสกับขอบนอกของดาวอังคารในเวลา 21.56 น. ที่มุมเงย 23 องศา และจะเคลื่อนบดบังดาวอังคารจนมิดในเวลาเพียง 12-13 วินาที

    จากนั้นดวงจันทร์จะใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมงค่อยๆ เคลื่อนผ่านดาวอังคาร และเผยให้เห็นดาวอังคารอีกครั้ง แต่เนื่องจากดาวอังคารจะไปปรากฏในด้านสว่างของดวงจันทร์ในตำแหน่งใกล้ขอบฟ้ามากขึ้นจึงอาจไม่เห็นปรากฏการณ์ด้วยตาเปล่า โดยดวงจันทร์จะเคลื่อนผ่านดาวอังคารทั้งดวงและกลับเข้าสู่ภาวะปกติอีกครั้งในเวลา 22.42 น.ถือเป็นอันสิ้นสุดปรากฏการณ์

    ทั้งนี้ ในเว็บไซต์ของสมาคมดาราศาสตร์ไทย นายวรเชษฐ์ บุญปลอด กรรมการสมาคมฯ ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า นอกจากประเทศไทยแล้ว หลายประเทศในเอเชียก็มีโอกาสสังเกตปรากฏการณ์ดังกล่าวได้เช่นกัน ได้แก่ ปากีสถาน อินเดีย ศรีลังกา บังกลาเทศ เนปาล พม่า กัมพูชา ดินแดนทิเบต เกาะน้อยใหญ่ทางตอนเหนือของมหาสมุทรอินเดีย พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศลาวและเวียดนาม รวมไปถึงซีกตะวันตกของมาเลเซียและอินโดนีเซีย

    นายวรเชษฐ์ เผยอีกว่า ตั้งแต่ปี 2501 เป็นต้นมา ได้เกิดปรากฏการณ์ดวงจันทร์บังดาวอังคารมาแล้วครั้งหนึ่งเมื่อวันที่ 16 ส.ค.29 คนไทยสามารถเห็นปรากฏการณ์ได้จากทุกจุดทั่วประเทศ โดยปรากฏการณ์ดวงจันทร์บังดาวอังคารวันที่ 10 พ.ค.นี้จะเป็นปรากฏการณ์ดวงจันทร์บังดาวเคราะห์ครั้งล่าสุดหลังจากวันที่ 24 ม.ค.45 ที่เกิดปรากฏการณ์ดวงจันทร์บังดาวเสาร์มาแล้ว

    ด้านอาจารย์วรวิทย์ ตันวุฒิบัณฑิต นักดูดาวเจ้าของหอดูดาวบัณฑิต ต.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา ซึ่งหมายมั่นปั้นมือว่าจะร่วมสังเกตปรากฏการณ์ครั้งนี้ พร้อมบันทึกภาพและจัดทำเป็นคลิปวีดิโอปรากฏการณ์เผยแพร่ ได้อธิบายที่มาที่ไปของปรากฏการณ์ครั้งนี้ว่า เกิดจากการที่ตำแหน่งของผู้สังเกตการณ์บนโลก (ไม่ใช่ "ตำแหน่งของโลก" เพราะไม่ใช่ทุกตำแหน่งบนโลกที่เห็นปรากฏการณ์ได้) ตำแหน่งดวงจันทร์ และตำแหน่งของดาวอังคารมาอยู่ในแนวเดียวกันพอดี คล้ายกับการเกิดปรากฏการณ์สุริยุปราคา แต่สลับกันระหว่างดาวอังคารและดวงอาทิตย์

    เขาอธิบายเพิ่มเติมว่าปรากฏการณ์ประเภทนี้จะเกิดขึ้นเป็นวงรอบ ซึ่งนักดาราศาสตร์สามารถคำนวณการเกิดปรากฏการณ์ได้ว่า จะเกิดขึ้นเมื่อใดด้วยโปรแกรมเฉพาะ เนื่องจากดวงดาวแต่ละดวงในระบบสุริยจักรวาลต่างมีวงโคจรที่แตกต่างกัน การคำนวณการเกิดปรากฏการณ์จึงต้องอาศัยโปรแกรมที่จัดทำเฉพาะปรากฏการณ์นั้นๆ

    อย่างไรก็ดี อาจารย์ประพีร์ นายกสมาคมดาราศาสตร์ไทย ได้กล่าวถึงปรากฏการณ์นี้ว่า เป็นปรากฏการณ์ที่หาชมได้ยากและสามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่า แม้จะไม่มีความหมายในเชิงการค้นคว้าวิจัยด้านดาราศาสตร์ แต่ก็เปิดโอกาสให้เยาวชนที่สนใจดาราศาสตร์ใช้เป็นแบบฝึกหัดภาคสนามในการวัดระยะเชิงมุมระหว่างดวงจันทร์และดาวอังคารที่ระยะต่างๆ ได้

    นอกจากนี้อาจารย์ประพีร์ แนะนำด้วยว่า ผู้ที่มีกล้องสองตา กล้องสองตาจะช่วยให้เห็นดาวอังคารได้ชัดขึ้นเล็กน้อย ส่วนผู้ที่ต้องการบันทึกภาพเหตุการณ์ไว้ด้วยควรใช้กล้องโทรทรรศน์ขนาด 14 นิ้วขึ้นไป โดยควรไปชมกันเป็นหมู่คณะและไม่ควรไปชมในสถานที่เปลี่ยวเพื่อให้ชมปรากฏการณ์ได้อย่างปลอดภัยที่สุด
    ส่วนปรากฏการณ์ “ดวงจันทร์บังดาวอังคาร” ที่สังเกตเห็นได้ในประเทศไทยครั้งต่อไปจะเกิดขึ้นในอีก 13 ปีข้างหน้าในวันที่ 17 เม.ย.64 ซึ่งสามารถสังเกตเห็นปรากฏการณ์ได้ทั่วประเทศเช่นกัน และจะเกิดปรากฏการณ์อีกครั้งในอีกประมาณ 19 ปีถัดไปในวันที่ 21 มี.ค.83 ที่สามารถเห็นปรากฏการณ์ได้จากทั่วประเทศ ยกเว้นภาคใต้ตอนล่าง

    *** ลองชมภาพแอนิเมชันจำลองปรากฎการณ์ "ดวงจันทร์บังดาวอังคาร" ที่จะเกิดขึ้นในวันที่ 10 พ.ค.51 นี้จากเว็บไซต์สมาคมดาราศาสตร์ไทย



    <table class="BODY" align="center" bgcolor="#000000" border="0" cellpadding="2" cellspacing="1" width="400"><tbody><tr><td bgcolor="#eeeeee" width="400">*** การผ่านกัน หรือการบดบังกันระหว่างเทห์วัตถุบนท้องฟ้าที่เราสามารถสังเกตได้มี 3 แบบคือ


    occultation : การบัง
    คือการที่ดาวดวงใหญ่เคลื่อนที่มาบังดวงดวงอื่นที่มีขนาดเล็กกว่า ทำให้เทห์ฟ้าที่อยู่เบื้องหลังหายไปบางส่วนหรือทั้งหมด อย่างปรากฏการณ์ ดวงจันทร์บังดาวเคราะห์ต่างๆ


    eclipse : อุปราคา คือ การที่แสงจากดาวหนึ่ง ถูกบดบังโดยอีกดาวหนึ่ง หรือที่เรารู้จักว่า "คราส" อย่าง "จันทรคราส" หรือ "จันทรุปราคา" และ "สุริยคราส" หรือ "สุริยุปราคา"


    transit : การผ่าน คือ การที่วัตถุขนาดเล็กเคลื่อนที่ผ่านหน้าวัตถุที่ใหญ่กว่า เช่น ดาวพุธหรือดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ เราจะเห็นเป็นจุดสีดำขนาดเล็กเคลื่อนที่ผ่านดวงอาทิตย์ไป

    </td></tr></tbody></table>
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  4. ปาฏิหาริย์

    ปาฏิหาริย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2006
    โพสต์:
    1,282
    ค่าพลัง:
    +3,516
    วันนี้ กรุงเทพ ฝนตก ฟ้าปิด ครับ
     
  5. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    k.kwan <script type="text/javascript"> vbmenu_register("postmenu_1238578", true); </script>
    สมาชิก

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 10:02 AM
    วันที่สมัคร: Nov 2007
    ข้อความ: 894 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 15,392 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 1,963 ครั้ง ใน 775 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 135 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    <!-- icon and title --> สัญญาณที่อ่านได้จาก.."เมฆ"
    <hr style="color: rgb(255, 255, 255);" size="1"> <!-- / icon and title --> <!-- message --> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td>โปรดใช้วิจารณญานในการอ่าน อย.ไม่รับรอง ไม่มีนักวิทยาศาสตร์ยืนยันความถูกต้อง
    จาก จขกท.
    <b>สัญญาณที่อ่านได้จาก..<blink>"เมฆ"</blink><blink></blink></b>
    </td></tr><tr><td>
    </td></tr><tr><td>
    เมฆ เป็นไอน้ำและเกล็ดน้ำแข็งที่เกิดการควบแน่นรวมกันเป็นกลุ่มก้อน และลอยอยู่บนท้องฟ้า ปกคลุกอยู่ในชั้นบรรยากาศของโลกอยที่ระยะไม่เกิน 5 กิโลเมตร นอกเหนือจากเมฆจะแสดงปรากฏการณ์ให้เห็นถึง การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ เช่น เกิดพายุฝน แล้ว เมื่อใดก็ตามที่เกิดการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก เช่น แผ่นดินไหว การเกิดความร้อนผุดจากใต้พิภพ ฯลฯ การเกิดและการเปลี่ยนแปลงของเมฆ ก็สามารถสื่อสารให้เห็นถึงปรากฏการณ์เหล่านั้นได้เช่นกัน ต่อไปนี้คือตัวอย่างเมฆที่ได้รับอิทธิพลจากปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ​
    </td></tr><tr><td>
    </td></tr></tbody></table><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td>[​IMG] [​IMG] [​IMG] [​IMG]
    </td></tr><tr><td>
    การเกิดพายุหมุน ที่ จ.นครปฐม ​
    </td></tr></tbody></table><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="2">
    [​IMG] [​IMG]
    </td></tr><tr><td width="91%">
    ปรากฏการณ์เกิดฝนที่มีลักษณะไม่ปกติ​
    </td><td width="9%">
    </td></tr></tbody></table><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td>[​IMG] [​IMG] [​IMG]
    </td></tr><tr><td>
    เมฆเกิดการกจะจายจากอิทธิพลความร้อนที่ผุดขึ้น ​
    </td></tr></tbody></table><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td width="34%">
    </td><td width="36%">
    </td><td width="30%">
    </td></tr><tr><td colspan="3">[​IMG] [​IMG] [​IMG]
    </td></tr><tr><td colspan="3">
    เมฆที่เกิดความร้อนผุดขึ้นจากใต้พิภพ (1) ​
    </td></tr></tbody></table><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td>[​IMG] [​IMG]
    [​IMG] [​IMG]
    </td></tr><tr><td>
    เมฆที่เกิดความร้อนผุดขึ้นจากใต้พิภพ (2)​
    </td></tr></tbody></table><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td>[​IMG] [​IMG] [​IMG]
    </td></tr><tr><td>
    เมฆที่เกิดความร้อนผุดขึ้นจากใต้พิภพ (3)​
    </td></tr></tbody></table><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td>[​IMG] [​IMG]
    </td></tr><tr><td>
    เมฆที่เกิดความร้อนผุดขึ้นจากใต้พิภพ (4)

    http://www.universal-signal.com/html/cloud.html
    </td></tr></tbody></table>
     
  6. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ุ6-6-2008 เวลาประมาณ 6 โมงเย็น ที่ชลบุรี

    [​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_9002.JPG
      IMG_9002.JPG
      ขนาดไฟล์:
      724.3 KB
      เปิดดู:
      70
    • IMG_9004.JPG
      IMG_9004.JPG
      ขนาดไฟล์:
      717.5 KB
      เปิดดู:
      86
    • IMG_9007.JPG
      IMG_9007.JPG
      ขนาดไฟล์:
      693.9 KB
      เปิดดู:
      73
    • IMG_8974.JPG
      IMG_8974.JPG
      ขนาดไฟล์:
      624.3 KB
      เปิดดู:
      75
    • IMG_8976.JPG
      IMG_8976.JPG
      ขนาดไฟล์:
      596.6 KB
      เปิดดู:
      75
    • IMG_8978.JPG
      IMG_8978.JPG
      ขนาดไฟล์:
      761.4 KB
      เปิดดู:
      80
    • IMG_8980.JPG
      IMG_8980.JPG
      ขนาดไฟล์:
      707.6 KB
      เปิดดู:
      73
    • IMG_8982.JPG
      IMG_8982.JPG
      ขนาดไฟล์:
      743.4 KB
      เปิดดู:
      82
    • IMG_8983.JPG
      IMG_8983.JPG
      ขนาดไฟล์:
      684.8 KB
      เปิดดู:
      76
    • IMG_8984.JPG
      IMG_8984.JPG
      ขนาดไฟล์:
      643.9 KB
      เปิดดู:
      72
    • IMG_8985.JPG
      IMG_8985.JPG
      ขนาดไฟล์:
      640.9 KB
      เปิดดู:
      71
    • IMG_8986.JPG
      IMG_8986.JPG
      ขนาดไฟล์:
      653.3 KB
      เปิดดู:
      73
    • IMG_8990.JPG
      IMG_8990.JPG
      ขนาดไฟล์:
      676.7 KB
      เปิดดู:
      70
    • IMG_8991.JPG
      IMG_8991.JPG
      ขนาดไฟล์:
      575.5 KB
      เปิดดู:
      70
    • IMG_8992.JPG
      IMG_8992.JPG
      ขนาดไฟล์:
      584.7 KB
      เปิดดู:
      74
    • IMG_8995.JPG
      IMG_8995.JPG
      ขนาดไฟล์:
      652.6 KB
      เปิดดู:
      82
    • IMG_8997.JPG
      IMG_8997.JPG
      ขนาดไฟล์:
      730.7 KB
      เปิดดู:
      76
    • IMG_8999.JPG
      IMG_8999.JPG
      ขนาดไฟล์:
      719.6 KB
      เปิดดู:
      3,011
    • IMG_9000.JPG
      IMG_9000.JPG
      ขนาดไฟล์:
      653.2 KB
      เปิดดู:
      74
  7. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    5 มิุุถุนายน 2008 ประมาณหกโมงเย็น ที่บางแสน

    [​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_8955.JPG
      IMG_8955.JPG
      ขนาดไฟล์:
      599.7 KB
      เปิดดู:
      937
    • IMG_8956.JPG
      IMG_8956.JPG
      ขนาดไฟล์:
      576 KB
      เปิดดู:
      893
  8. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    แสงเหนือ - แสงใต้ [​IMG] ปรากฏการณ์ aurora dynamics เป็นปรากฏการณ์สวยงามบนท้องฟ้า...อันเกิดจาก aurora (แปลว่าแสงเหนือแสงใต้นั่นล่ะ)

    ปรากฏเป็นครั้งคราวบริเวณท้องฟ้าขั้วโลก เป็นลักษณะแถบแสงเคลือนที่วูบวาบรวดเร็วเห็นได้ในเวลากลางคืน ในประเทศที่อยู่ใกล้ขั้วโลกเหนือ
    แสงเหนือ เรียกว่า aurora borealis
    ส่วนแสงใต้เรียกว่า aurora australis
    สาเหตุ
    เกิดจากอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าที่มาจากอวกาศ ส่วนใหญ่ก็มาจากดาวฤกษ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งดวงอาทิตย์ ชนเข้ากับบรรยากาศของโลกแล้วปล่อยประจุไฟฟ้าออกมาปรากฏเป็นแถบแสงสีต่างๆ แต่จะมีแสงสีแดงและสีเขียวเด่นเป็นพิเศษ เกิดมากช่วงที่มีการแปรปรวนบนดวงอาทิตย์ เช่น จุดดับของดวงอาทิตย์
    แสงเหนือแสงใต้ เห็นในประเทศที่อยู่ใกล้ กับขั้วโลกใต้ บริเวณที่เกิดแสงเหนือ หรือแสงใต้ อยู่ในระดับสูงตั้งแต่ 100 กิโลเมตร ถึง 1,000 กิโลเมตร เหนือพื้นดิน ในระดับนี้ บรรยากาศของโลกเบาบาง และมีความกดดัน น้อยมาก เกือบจะเรียกได้ว่าเป็น สุญญากาศ พลังงานจาก ดวงอาทิตย์ เช่น รังสีอุลตราไวโอเลต และอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ที่พุ่งออกจากดวงอาทิตย์ บริเวณใกล้ ๆ จุดดบน ดวงอาทิตย์ ไปกระตุ้นให้ก๊าซเฉื่อย ที่อยู่อย่างเบาบางนั้น เรืองแสงขึ้นมา เราจึงเห็นแสงเหนือหรือแสงใต้ คล้าย ๆ กับการเรืองแสงของหลอดไฟเรืองแสงทั้งหลาย แสงเหนือ แสงใต้ เกิดได้นานนับ เป็นชั่วโมง ๆ อาจเห็นได้ตลอดทั้งคืน และมีหลากสี
     
  9. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    "แสงเหนือ" มหัศจรรย์แห่งธรรมชาติ
    dailynews
    [​IMG]แสงสีเขียว แดง ที่ปรากฏบนท้องฟ้าอันมืดมิดของช่วงฤดูหนาว หากเป็นผู้คนที่ไม่เคยพบเจอกับปรากฏการณ์ธรรมชาติแบบที่ว่ามาก่อนอย่างคนในแถบเอเชียอย่างบ้านเรา ก็อาจจะคิดว่านั่นเป็นเหตุการณ์ประหลาดที่อาจถูกนำไปตีเป็นเลขเอามาแทงหวยงวดต่อไป



    แต่สำหรับผู้คนที่อยู่แถบขั้วโลกเหนือ นี่คือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี จะต่างกันก็เพียงแต่ว่าแสงที่จะเกิดขึ้นบนท้องฟ้านั้นจะเปลี่ยนเป็นสีอะไรเท่านั้น

    แสงที่ว่าถูกเรียกเป็นภาษาไทยแบบตรงตัวว่า แสงเหนือ ที่มาจากภาษาอังกฤษว่า Northern Light ซึ่งเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่ารังสีออโรร่า (Aurora) แสงสีแบบเดียวกับการตรวจวัดความร้อนร่างกายด้วยรังสีออร่าที่จะแสดงผลออกเป็นสีเขียวหรือแดงตามค่าความร้อนที่เกิดขึ้น ณ ขณะนั้น

    ทว่าการเกิดของแสงออร่าในธรรมชาติที่จะให้สีต่างกันนั้น กลับมีที่มาที่แตกต่างกัน เพราะแสงสีที่ว่าเกิดจากปฏิกิริยาระหว่างสนามแม่เหล็กของโลกสัมผัสกับลมสุริยะจากดวงอาทิตย์

    และปรากฏการณ์ที่ว่านี้ก็เกิดขึ้นกับขั้วโลกใต้ด้วยเช่นกัน โดยเรียกตามชื่อของสถานที่เกิดว่า แสงใต้ หรือ Southern Light

    แกนกลางของโลกที่เกิดขึ้นจากธาตุโลหะต่าง ๆ เสมือนเป็น แม่เหล็กยักษ์ตั้งอยู่กลางโลก และโลกกับดวงอาทิตย์มีแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน จึงทำให้เกิดชั้นบรรยากาศสนามแม่เหล็ก ขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้เป็นบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กแรงมากกว่าส่วนอื่น ๆ ของโลก จึงเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์นี้ขึ้น

    อีกองค์ประกอบหนึ่งที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์ที่ว่านี้ก็คือ ลมพายุสุริยะ ที่ประกอบด้วยอนุภาคสสารมากมาย เมื่อมันถูกพัดผ่านมายังสนามแม่เหล็กของโลก อนุภาคต่าง ๆ ที่ถูกดูดเข้ามาในสนามแม่เหล็กของโลกนี้เองที่ทำให้เกิดแสงสีขึ้น จะเกิดมากในช่วงที่มีการแปรปรวนบนดวงอาทิตย์อย่างในช่วงจุดดับ (Sunspots) แต่จะเกิดสีอะไรนั้นขึ้นอยู่กับพลังงานของ อนุภาคที่ถูกพัดมากับลมสุริยะ

    [​IMG]ที่จริงแล้วแสงสีที่เกิดขึ้นนั้นมีมากมายแต่สีเขียวกับสีแดงจะโดดเด่นเป็นพิเศษ โดยเฉพาะสีเขียวที่สามารถพบเห็นได้บ่อยครั้งเพราะเป็นสีที่สว่างที่สุด ส่วนสีแดงจะพบเห็นได้ค่อนข้างยาก ความแตกต่างของแสงสียังมีเหตุมาจากอุณหภูมิในชั้นบรรยากาศที่ระดับความสูงต่างกัน ซึ่งทำให้ภาวะการกระตุ้นของอะตอมจะแตกต่างกันด้วย

    รังสีออโรร่าที่เกิดขึ้นนี้มักจะพบเห็นได้ในบริเวณที่อยู่ระดับตั้งแต่ 100-1,000 กิโลเมตร เหนือพื้นดิน ซึ่งมีบรรยากาศเบาบาง ความกดดัน น้อยมากจนเกือบจะถึงขั้นสุญญา กาศ พลังงานจากดวงอาทิตย์ทั้งรังสีอุลตราไวโอเลตและอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าที่พุ่งออกจากดวงอาทิตย์จะไปกระตุ้นให้ก๊าซเฉื่อยที่มีอยู่เบาบางในบริเวณนั้นเรืองแสงขึ้นมา ซึ่งบางครั้งอาจเกิดนานเป็นชั่วโมงหรืออาจจะยาวนานถึงตลอดทั้งคืน

    ในอดีตวันที่วิทยาศาสตร์ยังไม่ก้าวหน้า แสงประหลาดที่ปรากฏอยู่บนท้องฟ้านี้ถูกเข้าใจว่าเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากพลังทางไสยศาสตร์ บ้างก็ว่าเป็นวิญญาณของภูตผีที่พากันออกมาร่ายรำยามค่ำคืน บ้างก็ว่ากลุ่มวิญญาณจำนวนมากที่ออกมาต่อสู้กันบนท้องฟ้า สำหรับคนพื้นถิ่นนอร์เวย์เข้าใจว่าแสงนี้เป็นแสงที่เกิดจากสาวพรหม จารี การเต้นรำและการเคลื่อนไหวของระลอกคลื่น


    แต่ชาวไวกิ้งที่เป็นชนพื้นเมืองในแถบขั้วโลกเหนือในยุคแรก ๆ เชื่อว่าแสงเหนือเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดจากวิญญาณของสาวพรหมจารี

    ขณะที่ชาวเอสกิโมในกรีนแลนด์และชาวพื้นเมืองทางตอนเหนือของแคนาดาเชื่อว่า รังสีออโรร่าดินแดนแห่งความตาย และเมื่อใดที่แสงสีนั้นเปลี่ยนไปก็หมายความว่าเพื่อนของคุณที่เสียชีวิตไปแล้วกำลังพยายามติดต่อกับญาติที่ยังมีชีวิตอยู่

    ส่วนคนอเมริกันเชื่อว่าหากพวกเขาทำพิธีเรียกผี แสงสีที่เกิดขึ้นก็คือการตอบสนองของดวงวิญญาณที่พวกเขาพยายามจะปลุกขึ้นมานั่นเอง


    แต่ไม่ว่าแสงเหนือหรือแสงใต้ที่ปรากฏบนท้องฟ้าในช่วงฤดูหนาวของขั้วโลกเหนือและใต้ จะเคยถูกเข้าใจว่าอะไร สำหรับวันนี้ปรากฏการณ์ธรรมชาติที่ได้รับการพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์แล้ว กลายเป็นหนึ่งในสินค้าทางการท่องเที่ยวของประเทศในแถบขั้วโลกเหนือ โดยเฉพาะนอร์เวย์ประเทศที่ตั้งอยู่บริเวณอาร์คติกเซอร์เคิลที่ว่ากันว่าสามารถชื่นชมกับความมหัศจรรย์ของแสงเหนือได้ในทุกค่ำคืน

    ซึ่งหนึ่งในเมืองที่ชมความมหัศจรรย์ได้ดีที่สุดก็คือ ทรูมโซ ซึ่งให้ความสำคัญกับปรากฏการณ์นี้ถึงขนาดให้มีการบรรยายให้นักท่องเที่ยวได้รับรู้ถึงที่มาที่ไปที่พิพิธภัณฑ์ของมหาวิทยาลัยทรูมโซ


    และอีกแห่งก็คือ เกาะสวาลบาร์ด ที่ว่ากันว่าเป็นสถานที่ที่สามารถศึกษารังสีออโรร่าทั้งกลางวันและกลางคืน โดยคนไทยที่ต้องการจะไปที่เกาะแห่งนี้ไม่ต้องขอวีซ่าก็สามารถข้ามไปได้หากมีจุดหมายอยู่แห่งเดียว แม้จะเป็นเกาะที่อยู่ในนอร์เวย์ก็ตาม ซึ่งเป็นกฎระเบียบที่เกิดขึ้นหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 และไม่น่าเชื่อด้วยว่าที่นี่หนาวติดลบเกือบตลอดทั้งปีแห่งนี้จะมีคนไทยไปใช้ชีวิตอยู่ด้วย.

     
  10. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    รูปแสงเหนือ

    posted on 31 Oct 2007 11:15 by benlove
    รูปแสงเหนือหรือแสง Aurora สวยค่ะ หยิบเอามาจากเวป http://www.space.com อีกเช่นเคย
    เมื่อเช้านี่ดูข่าวช่องสามตอนสักตี 5 มีรูปแสงเหนือมาให้ชม ฉันเห็นแล้วติดใจก็เลยไปหามาชมบ้าง
    [​IMG]
    แสงออกสีแดง เค้าว่าเกิดจากแม่เหล็กในโลก ก็ไม่รู้ว่า แถวบ้านเราจะได้เห็นบ้างหรือเปล่า
    [​IMG]
    ส่วนตัวฉันชอบรูปที่ออกสีเขียวโทนนี้ค่ะ

    [​IMG]

    สลับสี ดูตื่นตาตื่นใจดีจังนะค่ะ
    [​IMG]

    รูปนี้สวยมากในความรู้สึกของฉันค่ะ
    [​IMG]
    หลากหลายจริงๆ

    [​IMG]

    เขียวเหมือนมรกตเลยนะนี่

    [​IMG]

    ปรากฏการณ์ธรรมชาติ ที่ดูแปลกตาคนไทย ถ้ามาเกิดเมืองไทยนะเป็นงัยน้า
    ฉันเคยเห็นแต่อุกาฟ้าเหลือง ท้องฟ้าเป็นสีแดงสด แดงจนน่ากลัว
    เค้าเล่าว่า ถ้าแดงเมื่อไหร่ พายุก็จะมา ไม่รู้ว่าจริงหรือเปล่านะค่ะ
     
  11. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
    การทดลองเสมือนจริง

    [​IMG]
    ในห้องทดลองนี้แสดงการเคลื่อนที่ของประจุลบ ในสนามแม่เหล็กที่มีทิศทางอยู่บนแกน + Z และ -Z เริ่มต้นให้อนุภาคเคลื่อนที่ออกจากจุดกำเนิดด้วยความเร็ว v<sub>x </sub> และ v<sub>z </sub> ​
    กำหนดให้ B = + 2.0 mT บนแกน +Z ให้ v<sub>Z</sub> = 0 และ v<sub>x </sub> มีค่าสูงสุด = 8.0 x 10<sup>7</sup> m/s กดปุ่ม RUN สังเกตว่าเกิดอะไรขึ้น​
    ไม่ว่าประจุทดสอบที่ใช้ในห้องทดลองจะเป็นประจุบวกหรือลบ เวกเตอร์ v x B จะมีทิศทางเข้าหาจุดศูนย์กลางเสมอ แต่ในห้องทดลองกำหนดให้เป็นประจุลบ อนุภาคจะเคลื่อนที่เป็นวงกลมทวนเข็มนาฬิกาบนแกน +y สังเกตดูที่จุดกำเนิด x =0 , y =0 ความเร็วจะวิ่งอยู่ในทิศทางบวก x เพราะว่า เวกเตอร์ B มีทิศพุ่งออก ทำให้เวกเตอร์ v X B ชี้ไปในทิศทางแกน - y แต่เนื่องจากเป็นประจุลบ ทิศทางการครอสของเวกเตอร์จึงมีทิศทางไปทางแกน +y นั่นคือทิศทางของแรงเข้าสู่ศูนย์กลางที่จุดกำเนิด พุ่งไปบนแกนบวก y เช่นเดียวกันเมื่อประจุหมุนขึ้นไปบนสุด ( x=0 , y = y<sub>max</sub> ) ความเร็วจะวิ่งอยู่ในทิศทาง -x ทิศทางการครอสของเวกเตอร์จึงมีทิศทางไปทางแกน -y นั่นคือทิศทางของแรงเข้าสู่ศูนย์กลางที่จุดกำเนิด พุ่งไปบนแกนลบ y กดที่รูปภาพหรือที่นี่เพื่อเข้าสู่การทดลอง




    http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/spectial/pic/magnetic.htm
     
  12. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    เมื่อเช้านี้ตื่นมาแต่เช้า (ตีสี่) มามองดูท้องฟ้า เห็นพระจันทร์สว่างมาก แถมยังทรงกรดอีกต่างหาก แล้วมีดาวอยู่ข้างๆ เจ้ากล้องถ่ายรูปดันอยู่ในรถ ขี้เกียจไปหยิบ เลยใช้มือถือถ่ายภาพไว้ ตอนมองด้วยตาเปล่าก็ไม่เห็นดาวอีกดวง (แดงๆ) แต่พอถ่ายภาพออกมาเห็น (อาจเป็นการสะท้อนของแสงก็ได้) ภาพมองไม่เห็นแสงรุ้งรอบๆ ดวงจันทร์

    [​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSC00008.JPG
      DSC00008.JPG
      ขนาดไฟล์:
      278.3 KB
      เปิดดู:
      1,073
    • DSC00010.JPG
      DSC00010.JPG
      ขนาดไฟล์:
      265.1 KB
      เปิดดู:
      782
  13. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ท้องฟ้าที่จีน ก่อนเกิดแผ่นดินไหวที่เสฉวน

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  14. ปาฏิหาริย์

    ปาฏิหาริย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2006
    โพสต์:
    1,282
    ค่าพลัง:
    +3,516
    [​IMG]

    ตื่นเช้าจังครับ
    วันนี้ลองดูอีกที ว่า ดาวแดง หรือ ยูโฟ



     
  15. sutatip_b

    sutatip_b เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    3,197
    ค่าพลัง:
    +26,189
    รูปของคุณปาฏิหาริย์คือรูปอะไรคะ
     
  16. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    พระอาทิตย์ทรงกรด เวลาประมาณเที่ยวกว่าๆ อาทิตย์ 29 มิถุนายน 2008 เห็นได้เป็นวงกว้าง

    [​IMG]

    [​IMG]


    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_9197.JPG
      IMG_9197.JPG
      ขนาดไฟล์:
      83.3 KB
      เปิดดู:
      1,396
    • IMG_9198.JPG
      IMG_9198.JPG
      ขนาดไฟล์:
      92.6 KB
      เปิดดู:
      1,395
    • IMG_9207.JPG
      IMG_9207.JPG
      ขนาดไฟล์:
      108.4 KB
      เปิดดู:
      2,117
  17. chou

    chou เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    136
    ค่าพลัง:
    +1,440
    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    อีกมุมจากหอประชุมกองทัพอากาศ
     
  18. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    [​IMG]
    <EMBED src=http://www.ijigg.com/jiggPlayer.swf width=315 height=80 type=application/x-shockwave-flash scale="noscale" FlashVars="Autoplay=1&songID=V2BFA4EP0" wmode="transparent">​
     
  19. ณ.

    ณ. เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 มกราคม 2006
    โพสต์:
    3,387
    ค่าพลัง:
    +9,080
    อีกมุม...ภาพนี้ใกล้แม่น้ำเจ้าพระยา พระสมุทรเจดีย์


    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  20. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    ที่มาของพระอาทิตย์ทรงลดครับ (||)(||)(||)

    [​IMG]


    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    ลองไปดูเพิ่มเติมที่

    http://www.watthummuangna.com/board/showthread.php?t=5481

    บังเอิญจริงๆ
    ขออนุโมทนาสาธุครับ (good)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 กรกฎาคม 2008

แชร์หน้านี้

Loading...