เครียดมากอยากฆ่าตัวตาย ช่วยให้คำปรึกษาแนะนำด้วยครับ

ในห้อง 'ทุกข์และปัญหาชีวิต' ตั้งกระทู้โดย ming 123, 21 กรกฎาคม 2010.

  1. นิมิตา

    นิมิตา สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มกราคม 2012
    โพสต์:
    11
    ค่าพลัง:
    +4
    ตั้งแต่เด็กจนโตชีวิตผมทำอะไรมักถูกรังแกจากคนรอบข้างเสมอเริ่มจากตอนเด็กๆผมเกิดในครอบครัวที่มีฐานะแต่ขาดความอบอุ่นพ่อแม่ มักทะเลาะกันอย่างรุนแรงและสุดท้ายก็มาลงที่ผมทเสมอ<O:p</O:p

    เรื่องมันเริ่มที่ครอบครัวครับ เมื่อ พ่อ แม่ คุณทะเลาะกัน ที่จริงหน้าที่พ่อแม่คือต้องช่วยกันเลี้ยงลูก<O:p</O:p
    สอนแนะวิธีการดำเนินชีวิตให้ลูกแต่เมื่อมีความขัดแย้งกันก็ยากที่จะสอนได้ แถมยังสร้างปัญหาให้ลูกอีก<O:p</O:p
    แต่เมื่อเรารู้ว่าเค้าไม่สามารถสอนเราได้ ทำไมสอนไม่ได้เพราะเค้าไม่รู้วิธีแก้ปัญหาแม้แต่ของตัวเค้าเอง<O:p</O:p
    แล้วจะมาแก้ปัญหาให้ลูกได้อย่างไร<O:p</O:p
    ผมขอชมคุณ ming 123 ว่า คุณ เป็นคนฉลาดที่เมื่อรู้ว่าพ่อแม่ไม่สามารถแก้ปัญหาให้ได้<O:p</O:p
    รวมทั้งจิตแพทย์ คุณก็เลยเลือกเว็บนี้ที่มี ห้องย่อยคือ ทุกข์และปัญหาชีวิต <O:p</O:p
    ผมเชื่อว่าคำแนะนำดีๆจากหลายๆท่าน คงช่วยคุณได้บ้างครับ<O:p</O:p

    ไปโรงเรียนก็ยังโดนเพื่อนแกล้งด้วยความที่เราเป็นเด็กที่อ่อนโยนก็เลยโดนตลอดจนตอนเด็กๆเครียดมากๆๆมีปัญหาอะไรก็คุยกับใครไม่ได้ทั้งๆที่เราสวดมนต์ไหว้พระตลอด พอเริ่มเข้า ประถมปลายผมเริ่มได้แสดงละคร รรและเป็นตัวแทน รร ได้รับการยอมรับจากเพื่อน จากครูมากในเรื่องกิจกรรมต่างๆแต่ก็ต้องย้าย รรมาเรียนม.ต้นที่ใหม่โดยไม่มีสาเหตุมาที่ใหม่ผมก็ได้แสดงความสามารถต่างๆได้เป็นตัวแทนรรไปในที่ต่างๆช่วงแรกๆได้รับการยอมรับจากเพื่อนและครูในตอนหละงเหมือนมีอะไรมาบังตาทำให้วิถีการใช้ชีวิตของผมเปลี่ยนไปกลายเป็นคนฟุ้งซ่านตลอดเวลาทำอะไรจะเหมือนมีอุปสรรคมาคอยขวางตลอดช่วงนี้ผมเริ่มรู้สึกว่ามีอีกคนในตัวคอยด่าว่าเราและเมื่อเข้าวัดก็ด่าว่าพระโดยที่เราพยายามควบคุมแต่ควบคุมไม่ได้เหมือนเป็นวิญญาณร้ายตลอดเวลาช่วงหลังๆพอผมเริ่มรุ่งมากๆก้เริ่มมีเรื่องชกต่อยเข้ามาในชีวิตและถูกคุกคามจากกลุ่มสังคมที่ไม่ดีจนชีวิตต้องแหลกไปพอผมบ้าบ<O:p></O:p>
    เด็กที่อ่อนโยนมักจะโดนเพื่อนแกล้ง เป็นธรรมดาครับเพราะ ธรรมชาติของสัตว์ทุกชนิดรวมทั้งมนุษย์ด้วยมักจะรุกรานผู้ที่ดูอ่อนแอกว่ารวมทั้งผู้ที่อ่อนโยนทำให้ดูเหมือนอ่อนแอด้วย แต่มนุษย์มีศีลธรรมและมีการสอนกันสืบเนื่องกันมาทำให้<O:p</O:p
    เราพัฒนาขึ้นมาได้เด็กๆที่รังแกคุณ ก็ต้องได้รับการสั่งสอนกันไปแต่คนที่ไม่ปฎิบัติตามกฎเหมายของสังคมต่อไปก็ต้องอยู่ในคุกตาราง<O:p</O:p
    เมื่อคุณโดนรังแก การแก้ปัญหาด้วยการชกต่อยก็เป็นเรื่องธรรมชาติ ยิ่งคุณเป็นตัวแทนนักเรียน ซึ่งเป็นเรื่องที่เด่นก็จะมี<O:p</O:p
    คนอิจฉาเป็นธรรมดา แต่การที่เป็นตัวแทนนักเรียนการเป็นคนเด่นต่างๆก็จะมีเรื่องมากระทบคุณมาก เรียกว่า ผัสสะ<O:p</O:p
    คำพวกนี้ลองศึกษาในพุทธธรรมของท่าน ปอ ปยุตโต ดูนะครับ แนะนำให้ลองโหลดมาฟังด้วยครับ<O:p</O:p
    เมื่อมีเรื่องมากระทบแต่ จิตใจคุณไม่มั่นคงแต่เด็ก เพราะขาดพื้นฐานด้านความอบอุ่นทางครอบครัว<O:p</O:p
    คุณก็เลยฟุ้งซ่านเพราะคุณไม่รู้ว่าจะแก้ปัญหาอย่างไร การแก้ปัญหา ต้องใช้ปัญญาแก้ครับ<O:p</O:p
    คราวนี้ปัญญาเกิดได้อย่างไร ก็มี 3วิธีครับ
    ปัญญา ทำให้เกิดได้ 3 วิธี คือ

    1โดยการสดับตรับฟัง การศึกษาเล่าเรียน (สุตมยปัญญา)
    2โดยการคิดค้น การตรึกตรอง (จินตามยปัญญา)
    3โดยการอบรมจิต การเจริญภาวนา (ภาวนามยปัญญา)<O:p></O:p>
    http://www.tungsong.com/Read/principle/p_khunnatam_5a.htm<O:p></O:p>




    <TABLE class=MsoNormalTable style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 480pt; BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-border-alt: outset #111111 .25pt; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=640 border=1><TBODY><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>(๑) สุตมยปัญญา<O:p></O:p>




    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 1"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>สุตมยปัญญาหมายถึง ความรอบรู้ที่เกิดจากสุตะคือการรับข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ คนที่มีปัญญาประเภทนี้จะต้องเป็นอ่านมากและฟังมาก ใครที่จดจำเรื่องราวที่อ่านและฟังแล้วได้มากมายเรียกว่า พหูสูต<O:p></O:p>




    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 2"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640></TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 3"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>นักบริหารต้องพัฒนาปัญญาขั้นสุตะอยู่เสมอนั่นคือเกาะติดสถานการณ์ ด้วยการขยันอ่านหนังสือ ใช้ข้อมูลจากงานวิจัยและฟังคำแนะนำของวิทยากรหรือผู้เชี่ยวชาญก่อนสั่งการแต่ละครั้ง นักบริหารต้องมีข้อมูลพร้อมเพื่อประกอบการตัดสินใจ<O:p</O:p




    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 4"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640></TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 5"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>นักบริหารควรมีใจกว้าง รับฟังความคิดเห็นที่เสนอแนะ จากทุกฝ่าย เขาไม่ควรปิดใจตัวเองไม่รับข้อมูลใหม่ เพราะหลงผิดคิดว่าตัวเองรู้ดีอยู่แล้ว เขาควรยึดแนวปฏิบัติของโสคราตีสผู้กล่าวว่า "หนึ่งเดียวที่ข้าพเจ้ารู้ คือรู้ว่า ข้าพเจ้าไม่รู้อะไร" เมื่อรู้ตัวว่าขาดความรู้ในเรื่องใด โสคราตีสก็ศึกษาหาความรู้ในเรื่องนั้น<O:p</O:p



    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 6"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640></TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 7"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>พระพุทธเจ้าเสนอคำสอนในทำนองเดียวกัน เมื่อพระองค์ตรัสว่า "คนโง่(พาล) ที่รู้ตัวเองว่าเป็นคนโง่ยังพอเป็นคนฉลาด(บัณฑิต) ได้บ้าง แต่คนโง่ที่สำคัญผิดคิดว่าตัวเป็นคนฉลาด จัดเป็นคนโง่แท้ ๆ"<O:p></O:p>




    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 8"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>ดังนั้น นักบริหารต้องรู้จักแกล้งทำโง่เพื่อศึกษาหาความรู้จากผู้เชี่ยวชาญดังภาษิตที่ว่า<O:p></O:p>



    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 9"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>"หัดนิ่งเป็นบ้าง หัดโง่เป็นบ้าง หัดแพ้เป็นบ้าง นั่นแหละท่านกำลังชนะและกำลังฉลาดขึ้น"<O:p></O:p>


    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 10"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>เวลาศึกษาความรู้เรื่องใหม่ นักบริหารต้องเก็บความรู้เก่าใส่ลิ้นชักสมองไว้ชั่วคราว อย่าให้เรื่องเก่าครอบงำความคิด กลายเป็นอคติบังตาเสียจนไม่ยอมรับข้อมูลใหม่ หรือไม่ยอมปรับเปลี่ยนความคิดให้ทันเกตุการณ์ นั่นคือ ต้องมียถาภูตญาณทัสสนะ หมายถึงความรู้เห็นตามความเป็นจริง นักบริหารต้องรู้จักคนตามที่เขาเป็น ไม่ใช่ว่าชอบใครหลงใครก็ปกป้องคนนั้นทั้งๆ ที่เขาทำผิดมหันต์ หรือเกลียดใครก็ตำหนิคนนั้นทั้งๆ ที่เขาไม่ได้ทำผิดอะไรเลย นักบริหารต้องมองคนตามที่เป็นจริงด้วยการถอดแว่นสีออกจากปัญญาจักษุ อคติหรือความลำเอียงเปรียบเหมือนแว่นสีที่เราสวมใส่ซึ่งกำหนดให้เรามองโลกไปตามสีของแว่นเราไม่สามารถมองเห็นสิ่งต่างๆ ตามที่เป็นจริง คนที่สวมแว่นสีเขียวจะมองเห็นทุกสิ่งเป็นสีเขียว คนที่สวมแว่นสีแดงจะมองเห็นทุกสิ่งที่เป็นสีแดง สีที่แท้จริง คืออะไรเขาไม่มีทางทราบ อคติที่ว่านั้นมี ๔ ประการ คือ<SUP>๘</SUP><SUP> </SUP><O:p</O:p


    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 11"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640></TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 12"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>ฉันทาคติ (ลำเอียงเพราะชอบ) ถ้าเราชังใคร ไม่ว่าเขาจะพูดหรือทำอะไร เราเห็นด้วยกับเขาไปทุกอย่าง<O:p</O:p



    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 13"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>โทสาคติ (ลำเอียงเพราะชัง) ถ้าเราชังใคร ไม่ว่าเขาจะพูดหรือทำอะไร เรารู้สึกขวางหูขวางตาไปหมด<O:p</O:p



    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 14"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>โมหาคติ (ลำเอียงเพราะหลง) ถ้าเราขาดข้อมูลในเรื่องใด พอมีคนให้ข้อมูลเท็จในเรื่องนั้น เรามักเชื่อเขาและตัดสินใจผิดพลาดได้ง่าย<O:p></O:p>




    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 15"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640> ภยาคติ (ลำเอียงเพราะกลัว) ถ้าผู้มีอำนาจให้เราพูดหรือทำสิ่งที่ขัดกับความรู้สึกของเราบางครั้งเราจำเป็นต้องทำตามเพราะความกลัวภัย<O:p></O:p>





    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 16"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640></TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 17"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>นักบริหารที่ดีต้องมีความยุติธรรมในหัวใจ เขาตัดสินคนตามที่เป็นจริงเพราะเขาไม่ยอมให้อคติทั้ง ๔ ประการมาเป็นม่านบังตา เขาจะทำอย่างนั้นได้ก็ต่อเมื่อรู้จักวิเคราะห์วิจารณ์เรื่องที่เห็นหรือได้ยินด้วยจินตามยปัญญา<O:p</O:p



    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 18"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>(๒) จินตามยปัญญา<O:p></O:p>



    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 19"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>จินตามยปัญญา หมายถึง ความรอบรู้ที่เกิดจากการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่เรารับมาจากการฟังหรือการอ่านสุตมยปัญญา เปรียบเสมือนการรับประทานอาหารในขั้นต่ำตักใส่ปาก จินตามยปัญญา เปรียบเสมือนการเคี้ยวอาหารให้ละเอียด แล้วกลืนลงไป คนบางฟังเรื่องอะไรแล้วเชื่อทันทีโดยไม่ทันพิจารณา เหมือนกับคนที่กลืนอาหารโดยไม่ทันได้เคี้ยว การพินิจพิจารณาไตร่ตรองเรื่องที่ฟังหรืออ่านรวมถึงการตรวจสอบแหล่งข่าวแหล่งข้อมูลหรือหนังสืออ้างอิง เหล่านี้เป็นกระบวนการของ จินตามยปัญญา<O:p</O:p


    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 20"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640></TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 21"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>คนบางคนจดจำเรื่องราวต่าง ๆ ได้มากแต่วิเคราะห์ไม่เป็น บางคนท่องกฎหมายได้ทุกมาตรา แต่ไม่สามารถตีความกฎหมายเหล่านั้น คนเหล่านี้ขาดจินตามยปัญญา</TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 22"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640></TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 23"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>คนที่มีจินตามยปัญญาได้แก่ คนที่คิดเป็นตามแบบโยนิโสมนสิการ<O:p</O:p


    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 24"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>โยนิโส แปลว่า ถูกต้อง แยบคาย<O:p</O:p


    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 25"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>มนสิการ แปลว่า ทำไว้ในใจหรือการคิด<O:p</O:p


    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 26"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640></TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 27"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>ดังนั้น โยนิโสมนสิการจึงหมายถึง การทำไว้ในใจโดยแยบคาย หรือการคิดเป็นถูกต้องตรงตามความเป็นจริง<O:p></O:p>



    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 28"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640></TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 29"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>


    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 30"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 31"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 32"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>
    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 33"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>คำว่า "ทำไว้ในใจ" คือโยนิโสมนสิการ<O:p</O:p




    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 34"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>การคิดแบบโยนิโสมนสิการสรุปได้ ๑ วิธี คือ<O:p></O:p>






    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 35"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>๑) อุปายมนสิการ (คิดถูกวิธี) หมายถึง การคิดที่อาศัยวิธีการ (Methodology) อันสอดคล้องกับเรื่องที่ศึกษา เช่นเดียวกับการทำวิจัยต้องมีระเบียบวิธีวิจัยที่เหมาะสม หากใช้วิธีวิจัยผิดก็จะไม่ได้ความจริงในเรื่องนั้น การตรวจสอบความจริงบางเรื่องต้องใช้วิธีอุปนัย (Induction) บางเรื่องต้องใช้วิธีนิรนัย (Deduction) แต่บางเรื่องต้องใช้ประสบการณ์ตรงเป็นเครื่องตรวจสอบยืนยันความจริง เช่น พระพุทธเจ้าทรงค้นพบว่าการทรมานตนหรือทุกกรกริยาไม่ใช่วิธีบำเพ็ญเพียรที่ถูกต้อง เมื่อพระองค์ทรงหันมาใช้วิธีบำเพ็ญเพียรทางจิตจึงตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า<O:p></O:p>




    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 36"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>๒) ปถมนสิการ (คิดมีระเบียบ)หมายถึงการคิดที่ดำเนินตามขั้นตอนของวิธีการนั้น ๆ ไม่มีการลัดขั้นตอนหรือด่วนสรุปเกินข้อมูลที่ได้มา การด่วนสรุปจัดเป็นเหตุผลวิบัติ (Fallacy) ประการหนึ่ง ดังกรณีที่เราหยิบส้มผลหนึ่งมาชิม เมื่อส้มผลนั้นเปรี้ยว เราก็ด่วนสรุปว่า ส้มที่เหลือในลังทั้งหมดเปรี้ยว นอกจากนั้น การคิดต้องดำเนินตรงทางไปสู่เป้าหมายโดยไม่มีการฟุ้งซ่านออกนอกทาง นั่นคือนักบริหารต้องมีสมาธิในการคิด บางคนกังค้นคว้าข้อมูล เพื่อทำวิจัยเรื่องน้ำท่วมอยู่ดี ๆ เมื่อพบข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวกับเรื่องภัยแล้ง ก็ลืมจุดมุ่งหมายเดิม เขาไปเสียเวลาอ่านข้อมูลเรื่องภัยแล้ง ซึ่งออกนอกทางไปเลย คนนี้ไม่มีปถมนสิการ<O:p></O:p>



    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 37"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>๓) การณมนสิการ(คิดมีเหตุผล) หมายถึง การคิดจากเหตุโยงไปหาผล (ธัมมัญญุตา) และการคิดจากผลสาวกลับไปหาเหตุ (อัตถัญญุตา) การคิดแบบนี้จะทำให้นักบริหารเป็นคนรู้เท่าทันเหตุการณ์ เมื่อจะสั่งการแต่ละครั้ง ต้องคาดได้ว่าผลอะไรจะตามมา หรือเมื่อเห็นความผิดปกติเกิดขึ้นในองค์การ ต้องสามารถบอกได้ว่ามาจากสาเหตุอะไร นอกจากนั้น นักบริหารไม่กลัวความล้มเหลว อันที่จริงความล้มเหลวไม่มี สิ่งที่เรียกว่าความล้มเหลวนั้นแท้ที่จริง คือวิบากหรือผลของกรรมที่ไม่ดี ถ้าเราอยากประสบความสำเร็จ ครั้งต่อไปเราต้องทำกรรมคือเหตุที่ดี แล้ววิบากหรือผลที่ดีก็จะตามมา<O:p></O:p>






    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 38"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>๔) อุปปาทากมนสิการ (คิดเป็นกุศล)หมายถึง การคิดแง่สร้างสรรค์ Creative thinking คือคิดให้มีความหวังและได้กำลังใจในการทำงาน เมื่อเห็นหรือได้ยินอะไรก็เก็บมาปรับใช้ประโยชน์ในหน่วยงานของตนดังที่ ขงจื๊อ กล่าวว่า<O:p></O:p>





    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 39"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>" เมื่อข้าพเจ้าเห็นคนสองคนเดินสวนทางมา คนหนึ่งเป็นคนดี อีกคนหนึ่งเป็นคนเลว คนทั้งสองเป็นครูของข้าพเจ้าได้เท่ากัน เมื่อเห็นคนดี ข้าพเจ้าพยายามเอาอย่างเขา เมื่อเห็นคนเลวข้าพเจ้าพยายามไม่เอาอย่างเขา"<O:p></O:p>


    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 40"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640></TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 41"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>คนที่คิดสร้างสรรค์จะรู้จักแสวงหาประโยชน์แม้จากสิ่งที่เหมือนไม่มีประโยชน์ เขาหาสาระแม้จากเรื่องที่ดูไร้สาระเขาเห็นความงามในความน่าชังดังคำประพันธ์ที่ว่า "ศิลปินอย่าดูหมิ่นศิลปะ กองขยะดูให้ดียังมีศิลป์"<O:p></O:p>





    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 42"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>(๓) ภาวนามยปัญญา<O:p></O:p>





    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 43"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>ภาวนามยปัญญา หมายถึงความรอบรู้ที่เกิดโดยประสบการณ์จากภาคปฏิบัติหรือการลงมือทำจริงๆ สุตมยปัญญาทำให้นักบริหารได้ข้อมูลใหม่ จินตามยปัญญาทำให้ได้ความคิดที่ดี ส่วนภาวนามยปัญญาทำให้มีผลงานเป็นรูปธรรม นักบริหารบางคนมีความรู้และความคิดดีแต่ไม่มีผลงานเพราะไม่ยอมลงมือทำตามความคิด วนบางคนมีความรู้ดีแต่ไม่สามารถนำความรู้ออกมาใช้ทันท่วงที คนเหล่านี้ขาดความชำนาญในการปฏิบัติดัง กล่าวที่ว่า "มีเงินให้เขากู้ มีความรู้อยู่ในตำรา" เมื่อเกิดความจำเป็นก็เรียกความรู้นั้นมาใช้ไม่ได้ ดังนั้นภาวนามยปัญญาจึงมีความสำคัญในการบริหาร เพราะเป็นความรอบรู้ที่แปรทฤษฏีสู่ภาคปฏิบัติ ดังกรณี ต่อไปนี้<O:p></O:p>



    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 44"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640></TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 45"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>เมื่อพระเจ้าจันทรคุปต์ผู้ก่อตั้งราชวงศ์เมารยะของอินเดียยกทัพเข้าตีเมืองหลวงของกษัตริย์เชื้อสาย
    กรีกผู้ปกครองภาคเหนือของอินเดียนั้น ปรากฏว่ากองทัพของพระเจ้าจันทรคุปค์ประสบความปราชัย พระเจ้าจันทรคุปต์หนีเอาชีวิตรอดไปซ่อมพระองค์ด้านหลังกระท่อมชาวนาในหมู่บ้านแห่งหนึ่ง ขณะที่หลบซ่อนอยู่นั้นพระองค์ได้ยินเสียงเด็กร้องและแม่ของเด็กได้กล่าวกับเด็กด้วยเสียงอันดังว่า "เจ้าโง่ขนมเบื้องยังร้อนอยู่ เจ้ากัดกินมันที่ตรงกลางได้อย่างไร ปากเจ้าก็พองหมดหรอก เจ้าควรกัดกินขนมเบื้องที่ร้อนโดยเริ่มจากมุมรอบๆ ก่อนมิใช่หรือ"<O:p></O:p>




    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 46"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640></TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 47"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>เมื่อได้ยินคำพูดประโยคนี้ พระเจ้าจันทรคุปต์ได้ความคิดว่าพระองค์เองก็ไม่ต่างจากเด็กคนนั้น การยกทัพเข้าตีเมืองหลวงในขณะที่ข้าศึกยังเข้มแข็ง ก็มีลักษณะการเหมือนกับการกัดกินขนมเบื้องร้อน ๆ ที่ตรงกลาง พระองค์จึงประสบความพ่ายแพ้ ดังนั้น พระเจ้าจันทรคุปต์จึงคิดเปลี่ยนยุทธวิธีใหม่โดยใช้ยุทธการ "ป่าล้อมเมือง" คือ นำทัพยึดเมืองเล็กรอบนอกให้ได้ก่อนที่จะบุกตีเมืองหลวง เช่นเดียวกับการเริ่มกินขนมเบื้องจากมุมโดยรอบมาก่อน ในที่สุดพระเจ้าจันทรคุปต์ได้ประสบชัยชนะเพราะใช้ยุทธวิธีนี้ ซึ่งเกิดจากการได้ยินคำด่าเด็กของหญิงชาวนาคนหนึ่ง ในกรณีนี้ พระเจ้าจันทร์คุปต์ได้ปัญญาทั้งสามประการ คือพระองค์ได้สุตมยปัญญาจากการฟังคำพูดของหญิงชาวนา<O:p></O:p>


    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 48"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640></TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 49"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>ได้จินตามยปัญญาจากการนำคำพูดนั้นมาไตร่ตรองจนค้นพบยุทธวิธีใหม่<O:p></O:p>



    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 50"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>และได้ภาวนามยปัญญาจากการแปรยุทธวิธีเป็นยุทธการในสนามรบ<O:p></O:p>


    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 51"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640></TD></TR><TR style="HEIGHT: 11.25pt; mso-yfti-irow: 52; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 480pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 11.25pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=640>นักบริหารบางคนมีความคิดแปลใหม่ดีแต่ไม่ยอมนำความคิดนั้นไปปฏิบัติ เขาจึงไม่มีภาวนามยปัญญา ที่เป็นเช่นนั้น เพราะเขาขาดกำลังใจในการปฏิบัติคือ วิริยพละ<O:p></O:p>




    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    <O:p></O:p>
    สรุปคือผมแนะนำให้คุณ ming 123 ศึกษาจากพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า แล้วจะช่วยแก้ปัญหาชีวิตให้คุณได้ เป็นกำลังใจให้นะครับ่ชื่อว่าคุณทำได้แน่ๆครับ<O:p></O:p>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 มกราคม 2012
  2. sad boy

    sad boy เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กันยายน 2010
    โพสต์:
    230
    ค่าพลัง:
    +454
    อดีตที่ไม่น่าจดจําคิดไปมันก็เเค่นั้นนะครับ ตัดไปเหอะ อย่าไปฟุ้งซ่าน คนอื่นที่มากกว่านี้ก็มี

    เริ่มทําวันนี้ ให้ดีที่สุด สะสมความภาคภูมิใจในตัวเอง เเล้วจะมีความสุข

    ฆ่าตัวตายครัยก็ทํา ได้ ก็เเค่หนีปัญหา ตายไปก็เเค่คนขี้เเพ้คนนึง ชีวิตยังไม่ได้ทํารัยอีกเยอะเลยครับ

    ลองดูน่ะ ตั้งสติ ลองทําสิ่งดีดีเผื่อคนอื่นบ้างครับ สร้างความภาคภูมิใจในตัวเองเเล้วจะไม่อยากตายอีกต่อไป
     
  3. แสนสวาท

    แสนสวาท ชมรมสุวรรณภูมิธรรม

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2007
    โพสต์:
    2,399
    ค่าพลัง:
    +2,488
    ดีใจด้วยค่ะที่ดีขึ้นแล้ว อย่าคิดว่าเราไม่มีใคร ที่จริงเรามีคนพร้อมจะช่วยเหลือ


    ดิฉันมีคำถามให้ตอบเล่นคำถามหนึง
    เกิดเปนมนุษย์แล้วขาด้วนนี่ เปนเรืองดีไหม????
    ลองตอบดูนะคะ
     

แชร์หน้านี้

Loading...