เศรษฐกิจพอเพียง sufficiency-Econony

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 9 มกราคม 2007.

  1. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791

    วันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2552 เวลา 15:14:05 น. มติชนออนไลน์ <!--อ่านล่าสุด คน-->
    <center></center>
    องคมนตรีชี้นักเศรษฐศาสตร์ทั่วโลกแห่ศึกษาศก.พอเพียง แปลเป็นภาษาต่างประเทศ เผยแพร่กว่า 166 ปท.

    เผยนักเศรษฐศาสตร์ทั่วโลก แห่ศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง – แปลเป็นภาษาต่างประเทศ เผยแพร่กว่า 166 ปท.

    <style> P { margin: 0px; } </style> เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ที่หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย องคมนตรี กล่าวปาฐกถาพิเศษ เรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในการสัมมนาการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาทบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใน วิถีชีวิตประชาธิปไตย ตอนหนึ่งว่า ทราบว่าขณะนี้สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Program) หรือ UNDP องค์การสหประชาชาติ ได้นำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และตัวอย่างของชุมชนที่นำปรัชญาดังกล่าวไปใช้แล้วเกิดผล นำไปพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ และเผยแพร่ กว่า 166 ประเทศทั่วโลก ส่งผลให้นักเศรษฐศาสตร์ทั่วโลกยอมรับในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและได้เดินทาง มาศึกษาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในประเทศไทย เพื่อนำไปใช้ในประเทศของตนเองจำนวนมาก "ในหลวงทรงเตือนเรื่องการเปลี่ยนแปลง เพราะปัจจุบันนี้ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงตามกระแสโลกาภิวัฒน์ ขอให้คนไทยจงระวัง และรับมือต่อการเปลี่ยนแปลง เราต้องรู้จักธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง หากเรารู้จักกินรู้จักใช้อย่างพอเพียง จะสามารถรับมือภาวะปัจจุบันก็จะอยู่ได้อย่างยั่งยืน นอกจากนี้ ผมยังอยากฝากให้กระทรวงวัฒนธรรม นำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยเฉพาะเรื่องความกตัญญูกตเวที ไปถ่ายทอดให้เด็กและเยาวชนด้วย ถ้าคนไทยไม่กตัญญูแล้ว สังคมก็จะแตกหัก เด็กจะถูกทอดทิ้ง ผู้สูงอายุก็จะไม่มีใครดูแล" องคมนตรี กล่าว ด้านนายธีระ สลักเพชร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม (วธ.) กล่าวว่า ในส่วนของ วธ.จะเร่งส่งเสริมพื้นฐานทางจิตใจของคนในชาติ ให้มีสำนึกในหลักธรรม 10 ประการของพระองค์ท่าน ได้แก่ กตัญญู พึ่งตนเอง ส่งเสริมคนดี ทำงานอย่างผู้รู้ มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ อดทน ยึดธรรมะและความถูกต้อง มุ่งประโยชน์ส่วนรวม รับฟังความคิดเห็น และเคารพความคิดที่แตกต่าง ดังนั้นจึงขอเชิญประชาชนน้อมนำหลักธรรมดังกล่าวไปปฏิบัติและประยุกต์เข้ากับ การทำงาน

    ˹ѧ
     
  2. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ข้อความเก่าๆ หายไป เดี๋ยวจะไปหามาเติม
     
  3. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=ecxheadline vAlign=baseline align=left>สนช. ส่งต่อ "ถุงเพาะชำย่อยได้" ให้กรมป่าไม้นำร่องทดลองใช้ปลูกป่า</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left></TD><TD class=ecxdate vAlign=center align=left></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=http:///images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=http:///images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=http:///images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=http:///images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>ผู้บริหาร สนช., กรมป่าไม้ และ สมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพไทย ร่วมแถลงข่าวพร้อมส่งมอบ “ถุงพลาสติกชีวภาพสำหรับการเพาะชำกล้าไม้” ที่กรมป่าไม้ เมื่อต้นเดือน ส.ค.53 (ภาพจาก สนช.)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ถุงพลาสติกชีวภาพสำหรับการเพาะชำกล้าไม้นี้สามารถอยู่ในโรงเรือนเพาะชำได้ไม่ต่ำกว่า 1 ปี แต่ย่อยสลายได้ในธรรมชาติเมื่อปลูกลงดิน (ภาพจาก สนช.)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ถุงพลาสติกชีวภาพสำหรับเพาะชำกล้าไม้จะช่วยลดการใช้ถุงพลาสติกสีดำสำหรับเพาะชำกล้าไม้ที่ใช้กันเป็นจำนวนมากถึงปีละ 33 ล้านใบ (ภาพจาก สนช.)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=http:///images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>สนช. - ถุงดำเพาะกล้าไม้หลบไป ถุงเพาะชำย่อยได้มาแล้ว สนช. ร่วมกับ 8 บริษัท พัฒนาสูตรผลิตถุงพลาสติกเพาะชำ อยู่ได้ในโรงเรือนมากกว่า 1 ปี แต่ย่อยสลายได้เมื่อปลูกลงดิน กรมป่าไม้นำร่องทดลองใช้ 60,000 ใบ หวังลดปัญหาขยะพลาสติกจากถุงเพาะชำที่ใช้กันไม่ต่ำกว่า 30 ล้านใบในแต่ละปี

    สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) [สนช.] แถลงข่าวพร้อมส่งมอบ “ถุงพลาสติกชีวภาพสำหรับการเพาะชำกล้าไม้” ซึ่งเป็นโครงการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ได้แก่ กรมป่าไม้ สมาชิกสมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพไทย 8 บริษัท

    เพื่อผลิตถุงเพาะชำกล้าไม้จากพลาสติกชีวภาพที่มีสมบัติสลายตัวได้ทางชีวภาพ (Compostable plastics) แต่สามารถอยู่ในภายในโรงเรือนเพาะชำกล้าไม้อย่างต่ำ 1 ปี รวมถึงเพื่อทดสอบประสิทธิภาพการใช้งานถุงพลาสติกชีวภาพโดยเพาะชำกล้าไม้ของกรมป่าไม้

    ดร. ศุภชัย หล่อโลหการ ผู้อำนวยการ สนช. กล่าวว่า การผลิตถุงพลาสติกชีวภาพสำหรับการเพาะชำกล้าไม้นี้ นับว่าเป็นสิ่งที่ท้าทายสำหรับผู้พัฒนาสูตรคอมพาวนด์พลาสติกชีวภาพอย่างสูง


    เนื่องจากต้องปรับสัดส่วนผสมของพลาสติกชีวภาพและสารเติมแต่งให้มีมีประสิทธิภาพการใช้งานภายในโรงเรือนอย่างต่ำ 1 ปี และเมื่อปลูกลงดินจะสลายตัวได้ทางชีวภาพพร้อมกับการเจริญเติบโตของกล้าไม้

    ความร่วมมือในโครงการนี้ สนช. ริเริ่มและสนับสนุนร่วมกับสมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพไทย ในการพัฒนาถุงพลาสติกชีวภาพสำหรับการเพาะกล้าไม้กับบริษัทในสมาชิกของสมาคมฯ


    โดยได้รวบรวมสูตรคอมพาวนด์ และนักวิจัยที่มีศักยภาพตรงกับความต้องการของกรมป่าไม้ในการทดสอบประสิทธิภาพการใช้งานจริง

    โดยตั้งเป้าจำนวน 10 สูตร รวมทั้งสิ้น 60,000 ใบ ซึ่งขณะนี้ได้ดำเนินการพัฒนาจนสำเร็จแล้วจำนวน 3 สูตร

    หนึ่งในสูตรคอมพาวนด์ดังกล่าว สนช. ได้ประสานความร่วมมือต่อยอดผลงานวิจัยของ ดร. ธาริณี นามพิชญ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ รศ.ดร. รัตนวรรณ มกรพันธ์ วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภายใต้โครงการสานเกลียวคู่วิจัยนวัตกรรมพลาสติกชีวภาพของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)


    ด้วยการพัฒนาสูตรคอมพาวนด์พลาสติกชีวภาพที่มีส่วนผสมของ “พอลิแล็กติกแอซิด หรือ พีแอลเอ (PLA)” ได้สูงถึงร้อยละ 50 และมีการใช้ยางธรรมชาติ “อิพ๊อกซิไดซ์ หรือ อีเอ็นอาร์ (ENR)” เป็นสารช่วยผสมเพื่อปรับปรุงคุณสมบัติ

    ทำให้ถุงเพาะกล้าที่ได้จะมีความสามารถทนต่อสภาพการใช้งานได้ยาวนานขึ้น ตามสมบัติของถุงเพาะกล้าพลาสติกชีวภาพที่กรมป่าไม้ต้องการ

    โครงการดังกล่าวนี้ สนช. ได้ให้การสนับสนุนในโครงการ แปลงเทคโนโลยีเป็นทุน ให้กับบริษัท สาลี่ คัลเลอร์ จำกัด (มหาชน) จำนวน 678,750 บาท เพื่อใช้ในการพัฒนาโครงการ “คอมพาวนด์พลาสติกชีวภาพผสมยางธรรมชาติสำหรับการผลิตถุงเพาะชำกล้าไม้”


    ทั้งนี้ สนช. มุ่งหวังที่จะส่งเสริมและกระตุ้นให้เกิดการใช้ผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อสามารถนำไปสู่การขยายผลให้เกิดนโยบายระดับประเทศ ประกาศเป็นนโยบาย และมาตรการในการส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการผลิตและการใช้พลาสติกชีวภาพขึ้นภายในระยะเวลาอันใกล้นี้

    ด้านนายชลธิศ สุรัสวดี รองอธิบดีกรมป่าไม้
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) กล่าวว่า กรมป่าไม้เป็นหน่วยงานที่มีกิจกรรมด้านการเพาะชำกล้าไม้เพื่อแจกจ่ายแก่ประชาชนทั่วไป หน่วยงานทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน รวมถึงกิจกรรมการฟื้นฟูป่าไม้ในโครงการต่างๆ

    ซึ่งในแต่ละปีมีการใช้ถุงพลาสติกสีดำสำหรับเพาะชำกล้าไม้เป็นจำนวนมาก ประมาณปีละ 33 ล้านใบ และเมื่อแจกจ่ายกล้าไม้ไปแล้วทำให้ถุงพลาสติกสีดำที่ไม่สามารถสลายตัวได้ทางชีวภาพตกค้างอยู่ในสภาพแวดล้อม ซึ่งต้องใช้เวลามากกว่า 450 ปีในการย่อยสลาย จึงก่อให้เกิดเป็นขยะพลาสติกขึ้นในพื้นที่การปลูกป่าจำนวนมาก

    "กรมป่าไม้จึงมีแนวทางในการลดการใช้ถุงพลาสติกในการเพาะกล้า ด้วยการใช้ถุงพลาสติกชีวภาพที่มีสมบัติการสลายตัวได้ทางชีวภาพเมื่ออยู่ในสภาวะที่เหมาะสม เพื่อเป็นกิจกรรมในการรณรงค์และส่งเสริมทางด้านสิ่งแวดล้อม


    แต่อย่างไรก็ตามเนื่อง จากกระบวนการเพาะต้นกล้าไม้เป็นต้นไม้ป่าขนาดใหญ่ ซึ่งต้องใช้เวลาในการเพาะต้นกล้าอย่างต่ำ 1-2 ปี เพื่อให้รากสามารถเจริญเติบโตได้ในระดับหนึ่ง

    ดังนั้น ถุงเพาะกล้าจะต้องทนต่อสภาวะภายในโรงเรือนเพาะชำกล้าไม้โดยไม่เกิดการเสียสภาพและสามารถอุ้มดินได้ จนเคลื่อนย้ายไปสู่การปลูกป่าได้ เมื่อปลูกต้นกล้าลงดิน จะต้องเกิดการสลายตัวได้ทางชีวภาพ เพื่อให้รากแทงออกมาได้และเจริญเติบโตได้” นายชลทิศ เผย


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=ecxheadline vAlign=baseline align=left>"บ้านพอเพียง" นวัตกรรมยุคประหยัดพลังงาน</TD><TD vAlign=baseline align=right width=85></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left></TD><TD class=ecxdate vAlign=center align=left></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=http:///images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=http:///images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=http:///images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=http:///images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>"บ้านพอเพียง" หลังต้นแบบจากการต่อยอดงานวิจัยของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสู่ที่อยู่อาศัยประหยัดพลังงาน</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>รศ.ดร.วรสัณฑ์ บูรณากาญจน์</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>บ้านพอเพียงหลังนี้มีพื้นที่ใช้สอย 140 ตารางเมตร สร้างเสร็จได้ภายใน 90 วัน</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>พื้นที่ใช้สอยกว้างขวาง เพราะไม่มีเสา ไม่มีคาน ผนังบ้านกันความร้อนได้ดี</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>พื้นที่ใช้สอยในบ้านพอเพียงจัดเป็นสัดส่วนน่าอยู่</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ห้องนั่งเล่นริมสวน ติดประตูกระจกลามิเนทกันรังสียูวี</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>หน้าต่างกระจกบริเวณที่พักบันไดช่วยลดใช้ไฟฟ้าในเวลากลางวัน</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ห้องนอนชั้นบนกว้างโล่งภายใต้หลังคาที่ไร้ขื่อและแป</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ระเบียงชั้นบนมีหลังคากันฝนแต่ติดกระจกไว้รับแดด</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>กรอบประตูและหน้าต่างยูพีวีซี ทนทาน แข็งแรง ระบบล็อคหลายชั้น</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ไม้ทรงสูงให้ร่มเงา ไม้พุ่มเตี้ยช่วยลดความร้อน</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>การปรับภูมิทัศน์ภายนอกอาคารช่วยให้ภายในบ้านเย็นสบายกว่า</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=http:///images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>"บ้าน" คือที่ที่เราอยู่แล้วมีความสุขทั้งทางกายและทางใจ แต่ถ้าจะให้ดียิ่งกว่าและทันสมัยยิ่งขึ้น บ้านในยุคนี้ต้องช่วยเจ้าของบ้านประหยัดพลังงานได้ และทำให้ผู้อยู่อาศัยมีคุณภาพชีวิตที่ดีมีอายุยืนยาวขึ้นด้วย

    ต่อยอดความรู้ 40 ปี สู่ต้นแบบ "บ้านพอเพียง"

    หลายปีที่ผ่านมามีการพูดถึงภาวะโลกร้อนและวิกฤตพลังงานกันอย่างหนาหู มีการศึกษาวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีรวมถึงการออกแบบอาคารบ้านเรือนที่ช่วยลดการใช้พลังงานกันไม่น้อย แต่ก็มีอยู่ไม่มากที่องค์ความรู้จะถูกหยิบเอามาปั้นแต่งให้เป็นรูปเป็นร่างขึ้น หนึ่งในนั้นคือ "บ้านพอเพียง" ที่อยู่อาศัยที่เข้ากับยุคประหยัดพลังงาน

    รศ.ดร.วรสัณฑ์ บูรณากาญจน์ อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และหัวหน้าโครงการวิจัยแบบบูรณาการต่อยอดองค์ความรู้ประหยัดพลังงานสู่บ้านพอเพียง

    เปิดเผยว่า บ้านพอเพียงเกิดขึ้นจากการต่อยอดองค์ความรู้งานวิจัยสาขาต่างๆ ของจุฬาฯ ที่สะสมมานานกว่า 40 ปี ให้เกิดเป็นรูปธรรมและทำให้ทุกคนสามารถเป็นเจ้าของได้ โดยเฉพาะผู้ที่มีรายได้ปานกลาง

    "เราคำนึงถึงความยั่งยืนเป็นหลัก โดยนำหลักการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ผสมผสานกับการออกแบบ วัสดุ ระบบอาคาร และการแปลงทรัพยากรธรรมชาติให้สมดุลกับสภาพแวดล้อม เพื่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน เป็นผลดีต่อสิ่งแวดล้อม และทำให้ผู้อยู่อาศัยต้องมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นด้วย" อาจารย์สถาปนิกกล่าว

    ปรับภูมิทัศน์เพื่อประหยัดพลังงาน

    รศ.ดร.วรสัณฑ์ ให้ข้อมูลว่า ภูมิอากาศของประเทศไทยในปัจจุบันร้อนขึ้นเฉลี่ย 2-3 องศาเซลเซียส ทุกฤดูกาลเมื่อเทียบกับในสมัยรัชกาลที่ 5 และเดือนที่ร้อนที่สุดเปลี่ยนจากเดือน พ.ค. มาเป็นเดือน เม.ย.


    ส่วนพื้นที่ที่จัดอยู่ในเขตเย็นสบาย (อุณหภูมิประมาณ 21.1-27.8 องศาเซลเซียส) ที่พบได้ทั่วไปในสมัยนั้นไม่มีเหลืออยู่แล้วในปัจจุบัน ดังนั้นเมื่อสภาพแวดล้อมเปลี่ยนไป เราจึงต้องเปลี่ยนแปลงการออกแบบที่อยู่อาศัยให้เข้ากับสภาพแวดล้อม

    สิ่งแรกที่ต้องคำนึงถึงในการออกแบบบ้านพอเพียงคือ การปรับสภาพแวดล้อมภายนอกอาคาร โดยการปลูกต้นไม้ทรงสูงเพื่อให้ร่มเงาและป้องกันแสงแดดจากดวงอาทิตย์ ปลูกไม้พุ่มเตี้ยและพืชคลุมดินเพื่อลดการสะสมความร้อนและลดอุณหภูมิพื้นผิวจากการระเหยของน้ำ


    เพิ่มบ่อน้ำทางด้านทิศใต้เพื่อช่วยลดอุณหภูมิอากาศจากกระแสลม รวมถึงการปรับกระแสและทิศทางลม

    ส่วนตัวบ้านนั้นออกแบบให้ลดพื้นที่ผิวอาคาร เพื่อลดพื้นที่การถ่ายเทความร้อน และออกแบบระบบผนังให้เป็นโครงสร้างของบ้านด้วยเพื่อให้รองรับน้ำหนักบ้านได้โดยไม่จำเป็นต้องมีเสาและคานรองรับ ทำให้พื้นที่ใช้สอยในบ้านโล่งกว้าง สามารถใช้ประโยชน์ได้เต็มที่

    ใช้วัสดุผสมผสาน กันชื้น กันร้อน กันยูวี

    ประเทศไทยอยู่ในเขตร้อนชื้น การเลือกใช้วัสดุก่อสร้างที่มีคุณสมบัติป้องกันความร้อนและความชื้นเข้าสู่ตัวอาคารจึงเป็นหัวใจสำคัญอีกอย่างหนึ่งของบ้านพอเพียง


    ผนังบ้านทั้งหมดจึงใช้วัสดุเม็ดโฟมคอนกรีตที่ทำจากโฟมรีไซเคิล มีน้ำหนักเบาแต่แข็งแรง ต้านทานแรงลมได้ 160 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เป็นฉนวนกันความร้อนและความชื้นได้ดีกว่าผนังอิฐมวลเบาหรือก่ออิฐฉาบปูน 10-12 เท่า

    ประตูและหน้าต่างทุกบานเป็นกระจกให้แสงธรรมชาติส่องผ่านเข้าสู่ตัวบ้านและลดการใช้ไฟฟ้าในเวลากลางวัน โดยใช้กระจกลามิเนตติดฟิล์มป้องกันรังสีอัลตราไวโอเล็ต (ยูวี)


    และมีคุณสมบัติเดียวกับกระจกรถยนต์ คือ ไม่แตกง่าย เมื่อแตกแล้วเศษกระจกจะไม่กระจายออกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย กรอบประตูและหน้าต่างทำจากพลาสติกยูพีวีซีที่แข็งแรง ทนทานต่อรังสียูวีมากกว่าพีวีซีธรรมดา และมีระบบล็อคหลายจุดที่มีความปลอดภัยต่อการงัดแงะสูงกว่า

    หลังคาเป็นระบบผสมผสานโครงสร้าง ฝ้าเพดาน และคุณสมบัติฉนวนกันความร้อนที่กันความร้อนได้ดีกว่าหลังคากระเบื้องคอนกรีตถึง 24 เท่า โดยไม่ต้องมีโครงสร้างขื่อและแป จึงสร้างได้รวดเร็ว น้ำหนักเบากว่า 10 เท่า ไม่มีปัญหาน้ำรั่วซึม และสามารถใช้พื้นที่ภายในใต้หลังคาได้ทั้งหมด


    โดยใช้เวลาเพียง 90 วัน ก็สามารถสร้างบ้านพอเพียงได้ 1 หลังที่มีขนาด 3 ห้องนอน 4 ห้องน้ำ 1 ห้องพระ 1 ห้องรับแขก และ 1 ห้องรับประทานอาหาร บนพื้นที่ใช้สอยราว 140 ตารางเมตร และมีน้ำหนักอาคารลดลงถึง 50% เมื่อเทียบกับบ้านทั่วไปขนาดเดียวกันที่ต้องใช้เวลาก่อสร้างนาน 240-360 วัน

    "แม้ว่าค่าวัสดุก่อสร้างบ้านพอเพียงจะสูงกว่าวัสดุก่อสร้างทั่วไป แต่ข้อดีของการออกแบบและเลือกใช้วัสดุที่ทำให้ก่อสร้างได้รวดเร็วกว่าบ้านทั่วไปมาก จึงช่วยประหยัดค่าแรงได้ ทำให้ต้นทุนต่างกันไม่มากเท่าไร" รศ.ดร.วรสัณฑ์ เผยข้อดี และจุดเด่นอีกประการของบ้านพอเพียงคือใช้วัสดุที่ผลิตได้ภายในประเทศทั้งหมด

    ลดใช้พลังงาน ลดค่ารักษาพยาบาล

    บ้านพอเพียงติดตั้งเครื่องปรับอากาศขนาด 18,000 บีทียู แค่เครื่องเดียวก็เพียงพอที่จะทำให้บ้านทั้งหลังเย็นสบาย เพราะใช้ระบบท่อกระจายความเย็นถึงทุกห้องภายในบ้าน สามารถเปิดได้ตลอด 24 ชั่วโมงโดยไม่เปลืองไฟ และทำให้ในบ้านมีอุณหภูมิเฉลี่ย 25 องศาเซลเซียสตลอดปี


    เพราะผนังและหลังคาบ้านที่มีคุณสมบัติกันความร้อนได้ดี และการปรับสภาพแวดล้อมภายนอกบ้านให้มีอุณหภูมิต่ำลงกว่าปกติ ทำให้เครื่องปรับอากาศไม่ต้องทำงานหนัก สามารถช่วยประหยัดพลังงานได้มากกว่า 60%

    นอกจากช่วยประหยัดพลังงานแล้ว อุณหภูมิภายในบ้านพอเพียงยังค่อนข้างคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงบ่อย มีอากาศบริสุทธิ์ไหลเวียนอยู่ตลอดเวลา และไม่มีรังสียูวีเล็ดลอดเข้าสู่ในบ้าน ทำให้ผู้อยู่อาศัยมีโอกาสเจ็บไข้ได้ป่วยน้อยลง สุขภาพร่างกายแข็งแรงขึ้น และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นด้วย

    "ปัจจุบันประเทศไทยต้องใช้งบประมาณไปกับการรักษาพยาบาลผู้ป่วยปีละไม่ต่ำกว่า 20,000 ล้านบาท และส่วนใหญ่ต้องนำเข้ายาจากต่างประเทศ หากเราสามารถลดอัตราการเจ็บป่วยของประชากรได้ จะช่วยให้ประเทศลดค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ลงได้อย่างมหาศาล" รศ.ดร.วรสัณฑ์ กล่าว

    โครงการนี้ได้รับทุนสนับสนุนจาก
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ วิทยาเขตบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา อนุเคราะห์พื้นที่ในการสร้างบ้านต้นแบบ

    และจะมีการแสดงแบบจำลองบ้านพอเพียงให้ผู้สนใจชมกันในงานการนำเสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ ประจำปี 2553 ระหว่างวันที่ 26-30 ส.ค. ที่จะถึงนี้ ณ ศูนย์ประชุมบางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ ราชประสงค์

    <CENTER>******************</CENTER>

    <CENTER>เปรียบเทียบบ้านพอเพียงและบ้านทั่วไป</CENTER>



    <CENTER>[​IMG]</CENTER></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. Heureuse

    Heureuse เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กันยายน 2008
    โพสต์:
    857
    ค่าพลัง:
    +3,446
    <blockquote>
    <hr color="#0000ff">
    <h1>เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาพลังงาน</h1>​
    <hr color="#0000ff">
    [​IMG]

    เมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ.2549 กระทรวงพลังงานร่วมมือกับสถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย จัดเสวนาเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในวโรกาสทรงครอง สิริราชสมบัติครบ 60 ปี ในหัวข้อ "เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาพลังงาน" ณ ห้องประชุมใหญ่ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) โดยมี ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล กรรมการและเลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนาเป็นวิทยากร ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้

    "พลังงานเป็นเรื่องใหญ่ เรื่องใกล้ตัว เพราะเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตของเรา ลองสังเกตดูสิครับ ทุกวันนี้เราเข้านอนด้วยสภาพจิตใจไม่ค่อยปกติ เพราะไม่รู้ว่าเมื่อตื่นขึ้นมาค่าน้ำมันจะขึ้นไปอีกหรือเปล่า พรุ่งนี้ลิตรละเท่าไหร่ก็ยังไม่รู้ เมื่อเริ่มเข้าทำงานราชการนั้น น้ำมันลิตรละ 3-4 บาทเท่านั้น ไม่น่าเชื่อว่าหลังเกษียณมาหกเจ็ดปี ราคาน้ำมันจะขึ้นมา 4 ลิตร 100 บาทแล้ว.....

    แต่เดิมหลักชาวพุทธเราเคยกล่าวว่าสิ่งสำคัญที่สุดของชีวิตคือปัจจัยสี่ แต่พอมาเหลียวดูทุกวันนี้ ไม่ว่าการก่อสร้างบ้านอยู่อาศัย อาหารการกิน เสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค ล้วนแต่ใช้พลังงานเป็นส่วนประกอบที่สำคัญทั้งสิ้น เพราะฉะนั้นทุกสิ่งทุกอย่างที่เราบริโภคก็ต้องอาศัยพลังงานในการปรุงแต่ง ทำให้เราได้สิ่งที่เป็นความสะดวกสบายต่างๆ....

    ธรรมชาติให้เราอยู่ตลอดเวลา แต่เราก็มาสร้างบ้านหลบเสีย ปิดม่าน เปิดไฟฟ้า เปิดแอร์ ตั้งสติสักนิดเถอะครับ ผมคิดว่าเราใช้ชีวิตอย่างสิ้นเปลืองมากๆ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงทรงเสนอเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงขึ้นมาให้เลือก ใช้ปัญญาในการดำเนินชีวิตบ้าง ไม่ใช่ให้ไปปลูกถั่ว ปลูกงาอย่างที่หลายคนเข้าใจ ไม่ใช่รัดเข็มขัดจนกลับไปเป็นคนยากจน พระองค์ท่านเพียงอยากให้เรามีชีวิตโดยใช้ปัญญา อย่าให้กิเลสตัณหาเป็นตัวนำอยู่ตลอดเวลาเพระกิเลสตัณหานั้นผลักดันให้เรามี ความต้องการมากเกินเหตุที่ควรจะเป็นในชีวิตจริงๆ เสียด้วยซ้ำ"

    <hr color="#0000ff">
    <h1>แนวพระราชดำริในด้านการพัฒนาพลังงาน</h1>​
    <hr color="#0000ff">
    [​IMG]

    ด้วยสายพระเนตรอันยาวไกล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริเกี่ยวกับการพัฒนาพลังงานมา ตั้งแต่คนทั่วไปยังไม่ตระหนักถึงความสำคัญของเรื่องนี้ ยิ่งไปกว่านั้นยังเป็นแนวพระราชดำริที่ทรงมองอย่างรอบด้าน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนทุกคน

    "พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระทัยเรื่อง 'น้ำ' มาแต่แรกเริ่ม แม้กระทั่งเมื่อตอนไปเข้าเฝ้าๆ เมื่อไม่นานมานี้ พระองค์ก็ทรงรับสั่งถึงเขื่อนภูมิพล ซึ่งได้ประโยชน์หลากหลาย น้ำก็ได้ใช้ในการเกษตร ระหว่างน้ำผ่านเขื่อนลงไปก็นำไปผลิตกระแสไฟฟ้าได้ด้วย น่ามหัศจรรย์ใจอย่างยิ่งที่มีกระแสต่อต้านไม่ให้มีการใช้เขื่อนเพื่อผลิต ไฟฟ้า นักอนุรักษ์นี่ขอให้เป็นนักอนุรักษ์จริงๆ อย่าเป็นนัก 'อ' เฉยๆ ใครทำอะไรก็จะค้านหมด อย่างที่เคยคุยกับท่านผู้อำนวยการเขื่อนป่าสักฯว่า...

    กว่าจะสร้างได้เลือดตาแทบกระเด็น สามารถเก็บกักน้ำได้ 100 ล้านลูกบาศก์เมตร แต่ไม่ยอมให้ผลิตกระแสไฟฟ้า จะให้ใช้เพื่อการเกษตรอย่างเดียว แล้วน้ำที่ผ่านออกมาทุกวัน มันเป็นพลังงานที่ปล่อยให้สูญเปล่า จะติดตั้งเครื่องไฟฟ้าจะเสียเงินเพิ่มไปอีกสักเท่าไหร่ น้ำก็ต้องผ่านออกมามาอยู่ดี จะไปทางไหนก็ทำได้ทั้งนั้น มีเขื่อนอีกหลายเขื่อนที่สามารถทำไฟฟ้าได้ ไฟฟ้าเล็กไฟฟ้าน้อยก็สร้างเถอะครับ เพราะมันใช้อยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน หลายฝ่ายก็ออกมาบอกว่าไม่ยอมให้สร้าง...

    [​IMG]

    <table width="90%" border="1"><tbody><tr><td><p><br>สายพระเนตรของพระองค์ท่านคือ สายตาที่เต็มไปด้วยปัญญา พยายามเชื่อมโยงสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัว พระองค์ท่านรับสั่งว่า ดูรอบๆ สิ เหลียวไปดูภูมิประเทศสิ เขาออกแบบไว้เรียบร้อยหมดแล้ว บริเวณลุ่มนั้น ฝนตกลงมาน้ำก็จะขังน้ำอยู่พอน้ำลดก็จะไหลลงไปที่ต่างๆ แตกซ่านเซ็นเป็นลำธารเล็กลำธารน้อย รวมกันเป็นแม่น้ำใหญ่ ไหลลงมหาสมุทร ออกทะเลไป พอน้ำเอ่อขึ้นมาอีก ก็ไปรดน้ำต้นไม้ที่อยู่ในป่าในดง ต้นไม้แตกใบออกมา ร่วงหล่นย่อยสลายเป็นปุ๋ย พอฝนตกลงมาชะล้างเอาหน้าดิน ปุ๋ยต่างๆ ก็ส่งมาตามลำธาร ส่งมาตามแม่น้ำ ไหลมากองที่ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ให้เราปลูกข้าวเพื่อเลี้ยงดูประเทศทั้งประเทศ ระบบธรรมชาติออกแบบไว้เรียบร้อยหมดเลย แต่มาโดนมนุษย์ทำลายหมด แย่งชิงที่กันปล่อยให้ตื้นเขิน นำไปใช้ประโยชน์อย่างอื่นที่ไม่สอดคล้องกับธรรมชาติ ลองสังเกตให้ดีๆ วงจรชีวิตถูกออกแบบเอาไว้เรียบร้อยแล้ว...<br>
    </p></td></tr></tbody></table>

    พระองค์ท่านเสด็จไปทางเหนือ ซึ่งแห้งแล้ง มีการตัดไม้ทำลายป่า ฝนตกทีก็ไหลลงมาหมด พระองค์ท่านทรงคิดว่าตรงนั้นทำไฟฟ้าได้ไหม ไหลลงไปช่องเล็กๆ ทำโรงไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็ก พยายามบังคับน้ำให้ผ่านท่อเล็กๆ แล้วผลิตป้อนใช้ในบริเวณนั้น พยายามปรับตามสภาพแวดล้อมให้เอื้อประโยชน์ พอเสด็จพระราชดำเนินไปอีก ก็เจอตะบันน้ำซึ่งชาวบ้านใช้กันมานานแล้ว ใช้พลังน้ำในตัวเอง ไม่มีพลังงานไปสร้างพลังงาน คนสมัยใหม่นำพลังงานไปใช้เพื่อให้เกิดพลังงาน แต่ที่นั่นใช้พลังน้ำในตัวเอง ตะบันน้ำนั้น พลังน้ำจะกระแทกเครื่องมือให้หมุน ปรากฏว่าสามารถยกน้ำขึ้นไปได้ 5-10 เมตร แล้วไหลผ่านท่อชลประทานไป กังหันน้ำชัยพัฒนาก็ได้ความคิดจาก 'หลุก' นี่เอง ชาวบ้านสร้างเป็นหลุมไว้กลางลำธาร พอน้ำในลำธารไหลผ่าน หลุกมันก็ตักขึ้นมาเทใส่ท่อ ส่งน้ำไปถึงหมู่บ้าน แล้วมันก็หมุนโดยใช้พลังงานในกระแสน้ำที่มีอยู่แล้วนั่นเอง นำของเรียบง่ายที่อยู่รอบตัวมาใช้ กระแสน้ำอยู่รอบตัว แต่เอาปัญญาเข้าไปใส่ ก็สามารถสนองตอบความต้องการของชีวิตได้"



    <hr color="#0000ff">
    <h1>โครงการพระราชดำริอันเกี่ยวเนื่องกับกิจการพลังงาน</h1>​
    <hr color="#0000ff">
    [​IMG]

    ไม่พียงการพระราชทานแนวพระราชดำริเท่านั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงพระราชทานโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดได้ กลายเป็นรากฐานที่สำคัญอย่างยิ่งของการพัฒนาพลังงานในปัจจุบัน

    "พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวของเรานั้นทรงสนพระทัยเรื่องนี้อย่างมาก ถ้าใครเคยได้เข้าไปที่โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา พระองค์ท่านทรงทำให้สิ่งของเหลือนำมาใช้ได้ มีโรงสี มีแกลบ ก็นำมาทำเป็นถ่าน มีตัวประสานอัดเป็นแท่งกลับไปใช้เป็นพลังงานได้ ทรงเลี้ยงวัว มีมูลวัวออกมาก็ทำเป็นก๊าซชีวภาพ เข้าไปเดินเครื่องในโรงงานผลิตภัณฑ์ต่างๆ เกือบจะเรียกได้ว่าช่วยเหลือตัวเองพร้อมกันไปหมด ทำอย่างนี้เรียกว่า ใช้ปัญญานำเพราะไม่มีของเหลือออกไปเลย


    ครั้งหนึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ สกลนคร พระท่านเก่ง ใช้ปัญญานำ ตอนนั้นเสด็จพระราชดำเนินผ่านถานพระเด็กรุ่นใหม่คงไม่รู้จักถานพระ ไม่ใช่ฐานรองรับพระพุทธรูป แต่หมายถึงห้องน้ำ ส้วม ศัพท์โบราณเรียกว่าถาน ถานพระเรียงกันเป็นแถวพระท่านก็ให้ไปเก็บรวบรวมมาใส่เพื่อต่อท่อมาลงในหลุม ก๊าซชีวภาพ แล้วก็ต่อท่อเข้าโรงครัว พระองค์ท่านเสด็จฯ มาถึงก็รับสั่งถามเจ้าอาวาสว่า.. "พระคุณเจ้า...ถานพระที่ใช้ถ่ายของเสียที่ถ่ายออกมาเป็นธรรมะหรือเป็นอธรรม" เจ้าอาวาสก็ตอบว่าเป็นอธรรม พระองค์ท่าก็เสด็จพระราชดำเนินไปตามท่อ ไปถึงบ่อชีวภาพที่กำลังเดือดปุดๆ ตรัสถาม "พระคุณเจ้า ตรงนี้เป็นธรรมะหรืออธรรม" พระคุณเจ้าก็กราบทูลว่า ยังเป็นอธรรมอยู่เพราะเป็นของบูด ของเสีย ของเน่า เมื่อพระองค์ท่านเสร็จพระราชดำเนินต่อไปตามท่อนั้น เข้าไปในครัว ปรากฏว่ากำลังต้มน้ำอยู่ เพื่อจะชงชาถวายพระองค์ท่านก็ตรัสถามอีก... "พระคุณเจ้าตอนนี้เป็นอธรรมหรือธรรมะ" พระคุณเจ้ากราบทูลว่าเป็นธรรมะแล้ว เพราะว่าเกิดประโยชน์ขึ้นแล้ว...

    ธรรมะสอนอะไร เรื่องนี้สอนให้คนเราใช้ชีวิตครบวงจร ต้องใช้ให้ครบประโยชน์จึงเกิดขึ้นได้ บริโภคเข้าไป ถ่ายออกมา มีกระบวนการแปรสภาพออกมาเป็นก๊าซนำมาใช้ได้อีก มูลยังอยู่ในบ่อนั้น เมื่อล้างบ่อชีวภาพ มันอาจย่อยสลายไปหมด ก็นำไปใส่เป็นปุ๋ยที่ต้นไม้ ต้นไม้นั้นก็เกิดงอกงาม เป็นพลังงานให้ต้นไม้ ต้นไม้แตกกิ่งก้านสาขา แตกใบออกมาร่วงหล่น ไม้บางอันก็ถูกนำไปเผาเป็นถ่านต่อกันไปไม่รู้จบ เราเรียกกันอย่างง่ายๆ ว่า การพัฒนาอย่างยั่งยืนนั้นเอง...

    การทำอะไรให้ยั่งยืนคือการทำให้ครบวงจร ทำอะไรที่เมื่อบริโภคแล้วได้ชดเชยกลับมา เราก็จะมีใช้ไม่รู้จบ นี่คือความหมายสั้นๆ ของคำว่าพัฒนาอย่างยั่งยืน...


    [​IMG]

    พระองค์ท่านรับสั่งว่า "น้ำมันดินหมดแล้ว" คำว่าปิโตรเลียมทรงใช้คำโบราณว่าน้ำมันดิน หมายความว่าขุดลงไปถึงดิน นำมากลั่นใช้ พอน้ำมันดินจะหมดแล้ว จริงๆ แล้วยังมีแหล่งพลังงานอื่นอีกมากมาย แสงแดด สายลม จากธรรมชาติทั้งหมด...

    ตอนนี้มาบอกให้ปลูกป่าทั่วประเทศเพื่อทำไบโอดีเซล คิดวันนี้ทำวันนี้ อีก 5 ปีเป็นอย่างเร็วถึงจะได้ใช้น้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ใช้แทนน้ำมันดีเซล มีสิทธิบัตรเตรียมการไว้ก่อนแล้ว เอทานอล พระองค์ท่านก็ทรงผลักดันมาก่อน จำได้ว่าวันหนึ่งเมื่อหลายปีก่อน รับสั่งเรียกผมไปสั่งว่า "ไปดูซิ น้ำมันปาล์มนี่ทำดีเซลได้ไหม" จนกระทั้งเวลานี้มีปั๊มแล้ว ถึงจะเป็นโครงการทดลองแต่ก็เติมได้ มีปั๊มขึ้นมาถึง 2 ปั๊มในศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองที่จังหวัดนราธิวาส และที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์...

    ถ้าใครติดตามข่าวจะเห็นว่าเมื่อ 2-3 วันมานี้ สมเด็จพระเทพฯ ทรงไปเติมให้เอง รถเมล์วิ่งอยู่ที่หาดใหญ่มาเติมพระองค์ท่านทรงเติมให้เองเลย ได้ข่าวว่ากลับบ้าน สูบน้ำมันออกแล้วตั้งบนโต๊ะบูชา ไม่กล้าใช้ สงสัยใส่เป็นขวดเล็กขวดน้อยแจกเป็นเครื่องรางของขลังไปแล้ว ตอนที่เริ่มวิจัยผมก็ไม่เข้าใจเหมือนกัน เพราะตอนนั้นดีเซลลิตรละไม่กี่บาทพระองค์ท่านรับสั่งว่าทำไปเถอะ แล้วไม่ต้องประกาศให้คนค้านว่าทำแล้วไม่คุ้ม พระองค์ท่านว่าทำไปเถิด แล้วเดี๋ยววันหนึ่งจะรู้เอง แล้ววันนี้ก็มาถึงอย่างรวดเร็ว

    น้ำมันแพงทุกวันนี้ แม้กระทั้งน้ำมันพืชก็แพง ต้องยอมรับว่ามีระบบภาษีเข้ามา โครงการพระราชดำริก็เลยมุ่งไปแก้ปัญหาที่คนก่อน ให้เกษตรกรเล็กๆ รวมกลุ่มกัน พื้นที่ไหนเหมาะปลูกปาล์มได้ก็ปลูกปาล์ม พื้นที่ไหนปลูกสบู่ดำได้ก็ปลูกสบู่ดำ มีปลูกพืชเยอะแยะไปหมด แถวชุมพรใช้น้ำมันมะพร้าวกันมาตั้งนานแล้ว แต่เนื่องจากไม่มีเทคโนโลยีเข้าไปช่วยนานๆ ทีก็ต้องเอาเครื่องมาล้างที เพราะมันมีอะไรเข้าไปเกาะเครื่อง แต่อย่างไรก็ตาม ต้องเข้าไป เพื่อให้แต่ละกลุ่มเกษตรกรช่วยตัวเองให้ได้ก่อน สุดท้ายจะช่วยลดการนำเข้าได้ดี"

    ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล สรุปทิ้งท้ายถึงวิกฤติพลังงานในปัจจุบัน ซึ่งหากดำเนินชีวิตตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงก็จะช่วยแก้ปัญหาดัง กล่าวได้ และไม่ใช่แต่เฉพาะสังคมไทยเท่านั้น ยังหมายรวมไปถึงสังคมโลกอีกด้วย


    </blockquote>
     

แชร์หน้านี้

Loading...