เหตุการณ์ใน-นอกโลก VS ภัยธรรมชาติ และupdate พายุสุริยะ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 10 มกราคม 2011.

  1. engineer03

    engineer03 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2012
    โพสต์:
    4,961
    ค่าพลัง:
    +44,308
    Solar Update
    12/30/2012 by Kevin VE3EN at 16:00 UTC


    Solar activity remains at low levels. A new sunspot is forming to the northwest of region 1638, but is not magnetically complex at this time. There will be a chance for C-Class solar flares.

    จากในรูป พบจุดดับเกิดใหม่เพิ่มขึ้นอีก 3 จุด

    Current Visible Sunspots (Sunday) - SDO

    [​IMG]

    ทีมาจาก SolarHam.com
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 ธันวาคม 2012
  2. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ช่วง 31 ธค - 2 มค 56 ก็ยังน่าจะไม่มีแรงกระตุ้นที่จะมีการเหตุการณ์รุนแรงในประเทศไทย นี่ก็ผานมา 9 วันแล้วที่ไมมีแผ่นดินไหวที่รุนแรงกว่า 5.8 ริคเตอร์ ช่วงนี้ถ้าเกิดก็น่าจะเกิดตามรอยเลื่อนใหญ่ หรือ บริเวณที่เปลือกโลกมุดซ้อนกันครับ


    [​IMG]
     
  3. engineer03

    engineer03 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2012
    โพสต์:
    4,961
    ค่าพลัง:
    +44,308
    Planetary K-Index.

    [​IMG]

    X-Ray Flux

    [​IMG]

    Proton Flux

    [​IMG]
     
  4. engineer03

    engineer03 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2012
    โพสต์:
    4,961
    ค่าพลัง:
    +44,308
    [​IMG]

    สุขภาพพลานามัยเเข็งเเรง
    โชคดีมีชัย ตลอดปี 2556 นะครับ
     
  5. engineer03

    engineer03 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2012
    โพสต์:
    4,961
    ค่าพลัง:
    +44,308
    Solar Update
    12/31/2012 by Kevin VE3EN at 17:30 UTC


    Welcome to the final day of 2012. Several small new sunspots have popped up within the past day or so, however all remain stable at this time. There will remain a chance for C-Class flares today.

    21:00 เกิดโพรมิแนนซ์ส่งท้ายปี ด้านตะวันออกเฉียงเหนือของดวงอาทิตย์ ระดับ c-class ไม่มีผลต่อโลกครับ

    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 มกราคม 2013
  6. สัจจะวาจา

    สัจจะวาจา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    53
    ค่าพลัง:
    +206
    เข้ามาขอบคุณ และโมทนา สาธุค่ะ ติดตามอ่านตลอด//\\^_^
    ปีใหม่ วันใหม่ เริ่มชีวิตใหม่ สุข สนุกสดใส สุขสำราญ เบิกบานใจ สวัสดีปีใหม่2556ค่ะ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • ปี2556.jpg
      ปี2556.jpg
      ขนาดไฟล์:
      511.9 KB
      เปิดดู:
      31
  7. มณีจำปา

    มณีจำปา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    1,423
    ค่าพลัง:
    +9,369
    ไม่ว่าเหตุการณ์ ในโลก นอกโลกจะเป็นเช่นไร ทั้งคุณ Falkman และเพื่อนๆ สมาชิก ทุกๆ ท่าน ก็จะมา update เหตุการณ์ให้เราได้ติดตาม ตื่นตัว และเตรียมการณ์ได้อยู่เสมอ จึงขอมาอวยพรปีใหม่ 2556 ให้กับทุกๆ ท่าน ด้วยพรนี้ค่ะ

    [​IMG]
     
  8. ภิศรณ์

    ภิศรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 เมษายน 2012
    โพสต์:
    278
    ค่าพลัง:
    +1,495
    มะกันฮือฮา! นก 300 ตัวหล่นลงมาตายจากฟ้า ไม่ทราบสาเหตุ
    เมื่อวัน 31 ธันวาคม เว็บไซต์เมาเท่นเพรส รายงานว่า ผู้อยู่อาศัยและผู้คนที่ผ่านไปมาในเมืองซีมัวร์ รัฐเทนเนสซี สหรัฐอเมริกา ต่างตกใจกับปรากฏการณ์ที่นกกิ้งโครง ประมาณ 300 ตัว ตกลงมาตายจากท้องฟ้า ในช่วงสุดสัปดาห์ที่ผ่านมา และประชาชน ก็ได้แจ้งความเรื่องนี้ให้ตำรวจทราบเรียบร้อยแล้ว
    ทั้งนี้ จ่าสิบเอกโรเบิร์ต สต๊อฟเฟิล กล่าวว่า มีคนแจ้งความเรื่องนกตายเมื่อเวลาประมาณ 13.15 น. ของวันที่ 31 ธันวาคม โดยผู้เห็นเหตุการณ์เล่าว่า เห็นนกบินตรงไปยังทิศหนึ่ง ก่อนที่จะบินกลับมาและตกลงมาตายในที่สุด ศพของนกมีมากจนยึดถนนไปประมาณ 1 เลน และมีการคาดการณ์ว่า อาจมีนกกิ้งโครง ตายกว่า 300 ตัวเลยทีเดียว
    [​IMG]
    [​IMG]
    อย่างไรก็ตาม ตอนที่ช่างภาพไปถึงที่เกิดเหตุนั้น ยังมีนกบางตัวที่ยังคงมีชีวิตรอด ในขณะที่นกส่วนมากตายแล้ว โดยนกที่ยังรอดชีวิตนั้น ต่างตัวสั่นและกระพือปีกอย่างรุนแรง
    ด้านผู้อยู่อาศัยคนนึงในแถบนั้น กล่าวว่า ในขณะที่เขาขับรถกลับบ้านนั้น เขาเห็นเด็ก 2-3 คนยืนอยู่ตรงถนน และเขาก็สงสัยว่า เด็ก ๆ พวกนี้กำลังทำอะไรอยู่ พอเข้าไปใกล้ สิ่งที่เขาเห็นคือ มีนกตายเกลื่อนกลาดเต็มไปหมด มันดูน่ากลัวเป็นอย่างมาก ตอนที่เขาไปถึงตอนแรก เด็ก ๆ ต่างพากันเก็บกวาดนกออกไปจากถนน ตอนนั้นน่าจะมีนกตายประมาณ 300 ตัวได้ และยังมีนกบางส่วน ที่ตายในทุ่งหญ้าและหนองน้ำด้วย คล้ายกับวันโลกแตกยังไงอย่างงั้น
    ด้านเจ้าหน้าที่จาก ศูนย์รักษาพันธ์สัตว์ป่าเทนเนสซี่ ได้นำนก 2-3 ตัวจากที่เกิดเหตุ กลับไปชันสูตร และทางหลวงของรัฐเทนเนสซี ก็จะนำรถกวาดหิมะ มาจัดการกวาดนกเหล่านี้ไปไว้ตามไหล่ทางต่อไป
    [​IMG]
    ข้อมูลจากกระปุกดอทคอม
     
  9. engineer03

    engineer03 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2012
    โพสต์:
    4,961
    ค่าพลัง:
    +44,308
    ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ ในปี 2556

    วันที่ 3-4 มกราคม 2556 ฝนดาวตกควอตแรนท์นิดส์ Quadrantids อัตราการตก 4 ดวง/ชั่วโมงในไทย มองเห็นหลัง 02:00 อาจถูกแสงจันทร์รบกวน

    วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556 ดาวเคราะห์น้อย 2012DA14 จะโคจรเข้าใกล้โลกที่ระยะ 0.012AU ซึ่งใกล้กว่าระยะโคจรของดาวเทียมบางชนิด

    วันที่ 20 มีนาคม 2556 วันวสันต์วิษุวัต โลกตั้งฉากดวงอาทิตย์ครั้งที่ 1 ของปี กลางวันกลางคืนที่เส้นศูนย์สูตรยาวเท่ากัน

    วันที่ 22-23 เมษายน 2556 ฝนดาวตกในหมู่ดาวพิณ Lyrids อัตราการตก 10-15 ดวง/ชั่วโมงในไทย มองเห็นหลัง 22:00 อาจถูกแสงจันทร์รบกวนหลังตี 4

    วันที่ 25 เมษายน 2556 จันทรุปราคาบางส่วน เอกสารจากนาซา

    วันที่ 5-7พฤษภาคม 2556 ฝนดาวตกในหมู่ดาวอีต้า คนแบกหม้อน้ำ อัตราการตก 35 ดวง/ชั่วโมงในไทย มองเห็นหลัง 02:00 เกิดจากดาวหางแฮลลีย์ (1P/Halley)

    วันที่ 10 พฤษภาคม 2556 สุริยุปราคาแบบวงแหวน ไม่เห็นในประเทศไทย

    [​IMG]

    วันที่ 25 พฤษภาคม 2556 เกิดจันทรุปราคาเงามัว

    วันที่ 28 พฤษภาคม 2556 ดาวศุกร์เคียงดาวพฤหัส

    วันที่ 21 มิถุนายน 2556 วันวสันตวิษุวัต เวลากลางวันยาวที่สุดในประเทศทางซีกโลกเหนือ

    วันที่ 29-30 กรกฏาคม 2556 ฝนดาวตกในหมู่ดาวเดลต้า คนแบกหม้อน้ำ อัตราการตก 10 ดวง/ชั่วโมงในไทย มองเห็นหลัง 21:00 เกิดจากดาวหางมัคโฮลซ์ (96P/Machholz)

    วันที่ 12-13 สิงหาคม 2556 ฝนดาวตกวันแม่ เพอซิอัส อัตราการตก 60 ดวง/ชั่วโมงในไทย มองเห็นหลัง 22:30 เกิดจากดาวหางสวิฟต์-ทัตเทิล (109P/Swift-Tuttle)

    วันที่ 28 สิงหาคม 2556 ดาวเนปจูนใกล้โลก

    วันที่ 22 กันยายน 2556 วันสารทวิษุวัต โลกตั้งฉากดวงอาทิตย์ครั้งที่ 2 ของปี กลางวันกลางคืนที่เส้นศูนย์สูตรยาวเท่ากัน

    วันที่ 3 ตุลาคม 2556 ดาวยูเรนัสใกล้โลก

    วันที่ 18 ตุลาคม 2556 จันทรุปราคาเงามัว

    วันที่ 21-22 ตุลาคม 2556 ฝนดาวตกในหมู่ดาวนายพราน หรือ โอไรออนนิดส์ อัตราการตก 8 ดวง/ชั่วโมงในไทย มองเห็นหลัง 22:30 เกิดจากดาวหางแฮลลีย์

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2556 สุริยุปราคาแบบไฮบริดจ์ ไม่เห็นในประเทศไทย

    วันที่ 15-17 พฤศจิกายน 2556 ฝนดาวตกในหมู่ดาวสิงโต หรือ ลีโอนิดส์ อัตราการตก 10-15 ดวง/ชั่วโมงในไทย

    วันที่ 13-14 ธันวาคม 2556 ฝนดาวตกในหมู่คนคู่ หรือ เจมินิดส์ อัตราการตก 60-70 ดวง/ชั่วโมงในไทย เกิดจาก ดาวเคราะห์น้อย 3200 เฟทอน (3200 Phaethon) เริ่มเห็นหลังสองทุ่ม แต่เห็นมากสุดหลังตีสามครึ่ง

    วันที่ 21 ธันวาคม 2556 วันเหมายัน กลางคืนในซีกโลกเหนือยาวที่สุด

    ช่วงธันวาคม 2556-มกราคม 2557 จะได้เห็นดาวหางสุกสว่างที่สุดในประวัติศสตร์ (ถ้าส่วนประกอบของดาวหางเอื้ออำนวย) คือดาวหาง ISON


    ที่มาของข้อมูลจาก Mr.Vop's Blog
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 มกราคม 2013
  10. engineer03

    engineer03 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2012
    โพสต์:
    4,961
    ค่าพลัง:
    +44,308
    Elizabeth Gyurgyak ถ่ายภาพแสงออโรราครั้งแรกของปี 2013 นี้ จากอุทยานแห่งชาติ Abisko ในสวีเดน

    [​IMG]

    ที่มาจาก เว็บภัยพิบัติ Paipibat.com
     
  11. engineer03

    engineer03 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2012
    โพสต์:
    4,961
    ค่าพลัง:
    +44,308
    Happy New Year / Solar Update
    01/01/2013 by Kevin VE3EN at 14:30 UTC


    Happy New Year. Here is an updated image of the visible solar disk. Several sunspots are currently visible, however solar activity remains at low levels. There will remain at chance for C-Class solar flares.

    สวัสดีปีใหม่ครับ จากรูปจะเห็นจุดดับต่างๆ ที่มีโอาสปลดปล่อยพลังงาน ได้ในระดับ c-class และเราก็ยังคงเห็นจุดดับเกิดใหม่อีกเรี่อยๆ

    Current Visible Sunspots (Tuesday) - SDO

    [​IMG]

    ที่มาจาก SolarHam.com
     
  12. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    แปลกดี ปีก่อน ก็มีนกตายตอนสิ้นปี หรือทุกสิ้นปีมีอะไรที่เหมือนๆ กัน?
     
  13. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791

    [​IMG]

    วันที่ 31 ธันวามีการระเบิดแบบรอบด้านอยู่นะ
     
  14. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    จุดดับเพิ่มขึ้นอย่างฉับพลัน

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • ssn_plot.gif
      ssn_plot.gif
      ขนาดไฟล์:
      337.5 KB
      เปิดดู:
      445
  15. engineer03

    engineer03 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2012
    โพสต์:
    4,961
    ค่าพลัง:
    +44,308
    วันที่ 3-4 มกราคม 2556 ฝนดาวตกควอตแรนท์นิดส์ Quadrantids อัตราการตก 4 ดวง/ชั่วโมงในไทย มองเห็นหลัง 02:00 อาจถูกแสงจันทร์รบกวน

    โลกเรากำลังผ่านเข้าสู่ธารสะเก็ดดาวของดาวเคราะห์น้อย 2003 EH1 คืนนี้ ประเทศแถบซีกโลกเหนือจะได้เห็นฝนดาวตก Quadrantids ฝนดาวตกแรกของปี 2556


    อัพเดท ดวงอาทิตย์ วันนี้
    A new sunspot (circled) is quickly forming this evening in the southern hemisphere. With the recent increase in visible sunspots, it could be just a matter of time before at least one of these regions grow into a flare producer. Stay Tuned.

    จากวันก่อนได้แสดงถึงจุดดับที่เกิดเพิ่มขึ้นอีก 3 จุด คือ 1641,1642,1643 และล่าสุดในวันนี้ก็ไดัพบจุดดับเกิดขึ้นอีก 1 จุด (วงกลมในภาพ)แสดงให้เห็นว่าภายใน 3 วันมีจุดดับเพิ่มขึ้นถึง 4 จุด

    [​IMG]

    Data is valid for January 1, 2013

    [​IMG]
    [​IMG]


    ที่มาจาก SolarHam.com
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 มกราคม 2013
  16. siamblogza

    siamblogza เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มิถุนายน 2012
    โพสต์:
    398
    ค่าพลัง:
    +2,590
  17. ตาคำหมาน

    ตาคำหมาน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    140
    ค่าพลัง:
    +1,666
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=LKY1ZI8IB8g&feature=player_embedded]เค้าดาวน์วันสิ้นโลก กับ อ เจษฎา ดร อาจอง และ ศ เทพนม - YouTube[/ame]
     
  18. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  19. FALCON1

    FALCON1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    3,522
    ค่าพลัง:
    +4,863
    จุดดับเยอะมากๆเลย:'(

    C5-WarRoom Falkman
     
  20. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Event 1: 19 January 2012 - M3 flare in NOAA 1402
    [​IMG]
    This medium flare had everything: nice coronal loops, a nice cusp (best visible in x-ray), a small proton event, and a full halo Coronal Mass Ejection (CME) that caused a geomagnetic storm on 22 January and that was strong enough to expose some geostationary satellites to the solar wind. NOAA 1402 would repeat itself twice: on 23 January with an M8.7 flare, and a X1.7 flare while rounding the west solar limb. Both events were also accompanied by moderate to strong proton events, and very fast (> 2.000 km/s) CMEs.

    Event 2: 24 February 2012 – Filament eruption
    [​IMG]
    An at least 400.000 km long filament in the northeast solar quadrant erupted in the night of 23-24 February, without leaving an x-ray signature. Usually, a shock wave spreads out from the blast side in a more or less round shape. However in this case, because of the length of the filament, the solar tsunami spread parallel from where the filament originally was located. This "canyon-of-fire" as it was soon dubbed on the internet, raced away with speeds up to 20.000 km/h and swiftly covered a transient coronal hole (dark patch to the lower right of the erupted filament) that was generated earlier by the eruption.

    Event 3: 7 March 2012 – X5.4 flare in NOAA 1429
    [​IMG]
    The second largest x-ray flare so far this solar cycle was produced at midnight on 7 March 2012 by NOAA 1429. SDO white light images revealed this X5-flare was also a (very rare) white light flare. It was accompanied by the strongest proton storm so far in SC24 ("S3" on the NOAA-scale for radiation storms), and caused airlines to detour their polar flights for lack of communication. It was the largest proton signature registered by the Curiosity spacecraft which at that time was en route to Mars (see this STCE Newsletter). A plasma cloud was also ejected straight to Earth (full halo CME) and eventually resulted in a major geomagnetic storm on 9 March.

    Event 4 – 13 March 2012 - M7.9 flare from NOAA 1429
    [​IMG]
    This event took place while NOAA 1429 was rounding the west solar limb. It was particularly impressive in the green light of SDO/AIA 094, reflecting the high temperatures and energy of the event. Though the eruption was not directed towards Earth, the flank of the ejected plasma cloud still sparked a moderate geomagnetic storm on 15 March.

    Event 5 – 16 April 2012 - M1.7 flare in NOAA 1461
    [​IMG]
    The visually stunning images of this eruption immediately got worldwide media attention, even making it all the way into the CNN Live broadcast. Apart from the medium strength explosion, there were no space weather related influences for Earth.

    Event 6 – 8 July 2012 – M6.9 flare in NOAA 1515
    [​IMG]
    NOAA 1515 was visible on the Sun from 27 June till 9 July 2012. It displayed significant sunspot dynamics, with sunspots continually whirling, splitting and crashing into each other. Hence, it is no surprise that during its transit, this active region produced 30 M-flares and also 1 X-flare (on 6 July). Such a high number of strong flares is a rare "tour-de-force", only performed by the most active sunspot regions. The last M-flare occurred while NOAA 1515 was already very near the west solar limb. The M6.9 flare not only ejected a plasma cloud, but also generated a magnetic reconnection in a trans-equatorial magnetic bridge, promptly inducing another CME. Amazingly, the arch would reshape itself a few hours later and remain visible for another two days – as can be seen in the GOES/SXI clip.

    Event 7 – 17 July 2012 – M1.7 flare and bright, solid CME
    [​IMG]
    CMEs come in a wide variety of shapes: pistons, light-bulbs, smoke-rings,… : space weather forecasters have seen them all. The 17 July CME is probably one of the more solid and brighter of 2012. It appeared after a long duration M1.7 flare in active region NOAA 1520.

    Event 8 – 19 July 2012 – M7.7 flare in NOAA 1520
    [​IMG]
    NOAA 1520 was the largest sunspot group during 2012, and the second largest so far this solar cycle. This super group was magnetically not so complex and produced only a handful of strong flares. However, the last one was a real beauty. The post coronal loops from the M7 flare were very round, almost as round as the front door of a Hobbit’s house! Some even whisper that the Dark Lord was trying to forge another ring, but that’s probably an entirely different story…

    Event 9 – 23 July 2012 – Backside event in NOAA 1520
    [​IMG]
    NOAA 1520 continued to be very active. During the early morning hours of 23 July, it produced another strong flare. As the region was already far on the backside of the Sun, this eruption was not visible from Earth, and no x-ray signature was registered by the GOES15 spacecraft. Interestingly, the accompanying proton storm hit not only STEREO-A, but also Earth – again despite NOAA 1520 being already so far behind the Sun's west limb. Even more amazing was that the speed of the CME was estimated to be around 3.400 km/s by SWRC, making it one of the fastest CMEs ever observed. The CME arrived at STEREO-A only 19 hours after the eruption, a so-called "fast transit event".

    Event 10 – 31 August 2012 – Filament eruption
    [​IMG]
    Another magnificent filament eruption occurred on 31 August. This filament was actually making its second appearance, after an earlier and quite dynamic transit during the first half of August. The eruption was accompanied by a C8 flare and a full halo CME causing a minor geomagnetic storm. The core of the ejected filament was not directed towards the Earth, but behind it (see SOHO/Lasco clip).

    Event 11 – 5 October 2012 - A very long duration event
    [​IMG]
    The x-ray signature of this relatively small B7.8 flare lasted 7.5 hours (one of the longest so far this solar cycle), but if one includes the pre-flare reconnection and the post-flare coronal loops development, the entire event lasted at least 15 hours! The complexity of the event was discussed in a previous STCE Newsletter. The ejected plasma cloud sparked a moderate geomagnetic storm on 8 October.

    Event 12 – 14 October 2012 – The light-bulb loops
    [​IMG]
    CMEs occasionally have the shape of a light-bulb, post-flare coronal loops usually have not. Therefore, the bright loop of hot plasma that accompanied the C4.8 flare made this eruption quite unusual and at the same also visually attractive. The flare occurred in NOAA 1593, a relatively small sunspot region just behind the northeast solar limb.
     

แชร์หน้านี้

Loading...